You are on page 1of 39

ดร.

วีระ ศรีอริยะกุล
▪ความเค้นผสม
▪ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด
▪ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด
▪ทฤษฎีความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล

2
3
4
5
6
7
่ ชิ้นงานจะเกิดความเค้นมากกว่า 1 ชนิดพร้อมกัน เช่น
โดยทัวไป

การออกแบบชิน้ งาน
- ต้องรวมความเค้นทีเ่ กิดขึน้ เข้าด้วยกัน เรียกว่า ความเค้นผสม (combined stress)
- ต้องหาค่าความเค้นสูงสุด (max. σ min. σ max. τ) ทีเ่ กิดบนชิน้ ส่วน เพือ่ ใช้หาขนาดชิน้ งาน
8
การหาความเค้นสูงสุดในชิ้นงาน
ระบบของความเค้น - สามารถพิจารณาให้ปัญหาทางวิศวกรรมจากระบบความเค้น 3 มิติ เป็ นระบบ 2 มิติ ได้

(ก) ความเค้นในวัสดุชน้ิ เล็กทัว่ ๆ ไป (ข) ความเค้นบนระนาบ 2 มิติ 9


ไม่ใช่ความเค้นสูงสุดบนชิน้ ส่วน
งานทางวิศวกรรม ต้องการทราบค่า max., min. max.
ดังนัน้ ต้องหามุม  ทีท่ าให้เกิด max., min.
และมุม  ทีท่ าให้เกิด max. 10
ความเค้นในทิศทางของ n และ t หาได้โดยการสมดุลแรง
ความเค้นตัง้ ฉาก

ความเค้นเฉือน 11
-max., min.  หาได้จากการ diff n เทียบกับ  เท่ากับ 0 ซึง่ เรียกว่า
ความเค้นหลัก (principal stress) มีคา่

ความเค้นหลัก คือ ความเค้นในแนวตัง้ ฉากทีม่ คี า่ สูงสุดและต่าสุด ซึง่ อยูบ่ นระนาบหลัก


(ระนาบทีไ่ ม่มคี วามเค้นเฉือน)

-max., min.  หาได้จากการ diff n เทียบกับ  เท่ากับ 0

12
-ความเค้นเฉือนสูงสุดในเทอมของความเค้นหลัก
ความเค้นเฉือนสูงสุด –สามารถเขียนอยูใ่ นเทอมของความเค้นหลักได้ โดย
+ ความเค้นดึง
- ความเค้นอัด

13
ความเค้นหลักและความเค้นเฉือนสูงสุด อาจจะหาได้จาก วงกลมของมอร์ (Mohr’s circle)

14
ความเค้นเฉือนสูงสุดหาจากวงกลมมอร์ทส่ี มบูรณ์
15
16
ความเค้นผสมในชิน้ ส่วนของเครือ่ งจักรกล
ในการออกแบบเครือ่ งจักรกล อาจจะพบความเค้นในลักษณะดังรูป (มี normal stress ทิศทางเดียว)

ความเค้นกรณีพเิ ศษ

17
18
ถูกสร้างขึน้ มาเพือ่ ใช้วเิ คราะห์และอธิบายความเสียหายของชิน้ งาน
วัสดุเปราะ
ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด (maximum normal stress)
ทฤษฎีของคูลอมบ์-มอร์สา หรับวัสดุเปราะ (brittle Coulumb-Mohr theory)
ทฤษฎีของมอร์ดดั แปลง (modified Mohr theory)
วัสดุเหนียว
ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด (maximum shear stress theory)
ทฤษฎีความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล (octagonal shear stress theory)
ทฤษฎีพลังงานการผิดรูป (distortion energy theory) 19
ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด (maximum normal stress)
วัสดุจะเกิดความเสียหาย เมือ่ ความเค้นหลักสูงสุดในวัสดุมคี า่ เท่ากับความต้านแรงดึงของวัสดุนนั ้ (วัสดุแข็ง)
max = u

1 = ±u/N

2 = ±u/N

20
ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด (maximum normal stress)
เมือ่ นา ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุดใช้กบั วัสดุเหนียวสามารถใช้คา่ ความต้านแรงดึงครากของวัสดุเหนียว
max = y

21
ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด (maximum normal stress)

22
ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด เหมาะสาหรับวัสดุเหนียว
วัสดุจะเกิดความเสียหาย เมือ่ ความเค้นเฉือนสูงสุดในวัสดุมคี า่ เท่ากับความ
ต้านแรงเฉือนสูงสุดทีไ่ ด้จากการทดสอบแรงดึงจนถึงจุดครากของวัสดุนนั ้

max = y โดยที่ y=0.5y

23
ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด เหมาะสาหรับวัสดุเหนียว

24
ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด เหมาะสาหรับวัสดุเหนียว

25
ทฤษฎีความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล (von Mises)
วัสดุจะเกิดความเสียหาย เมือ่ ความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัลในวัสดุมคี า่ เท่ากับ
ความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัลทีไ่ ด้จากการทดสอบแรงดึงชิน้ งานขณะถึงจุดคราก
ระนาบออคตะฮีดรัล (octahedral plane)
คือ ระนาบทีเ่ อียงทามุมกับทิศทางของ
ความเค้นหลักทัง้ 3 เท่ากัน

ความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล (octahedral shear stress) ทีเ่ กิดขึน้ ในวัสดุมคี ่า


26
ความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล
ส่วนในการทดสอบแรงดึง y

จะได้ ความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัลขณะถึงจุดคราก y

เนื่องจากทฤษฎีบอกว่า จะเกิดความเสียหาย เมื่อ


จะได้ 22y

ในการออกแบบเครือ่ งจักรกลทัวไป่ พิจารณา 2 มิติ


และเมือ่ ใช้คา่ ความปลอดภัย N จะได้สมการ y
27
สมการสาหรับออกแบบชิน้ ส่วนเครือ่ งจักรกล

28
เปรียบเทียบขอบเขตของความเค้นระหว่างทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3

29
เปรียบเทียบทฤษฎีความเสียหายสาหรับวัสดุเหนียวกับผลการทดสอบวัสดุ

ทฤษฎีความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัลให้ผลแม่นยามากกว่าทฤษฎีเค้นเฉือนสูงสุด
30
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm, N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

31
32
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm , N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

33
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm , N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

34
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm , N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

35
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm , N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

36
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm , N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

37
ตัวอย่าง 6.1 เพลากลมรับแรง F = 50 kN ทีร่ ะยะ a = 150 mm และรับ T = 1000 Nm , N=2.5
ถ้าเพลาทาจากวัสดุ AISI 1040 A จงหาขนาดเพลาโดยใช้ ทฤษฎีความเสียหายทัง้ 3 ทฤษฎี

38
1. ชิน้ งานดังรูป เป็ นท่อนโลหะกลมทาจากเหล็กกล้า AISI 1020 HR มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง d แรงทีก่ ระทามีขนาด F = 3 kN, P = 10 kN, T = 200 Nm กาหนดให้ค่าความ
ปลอดภัยเท่ากับ 3 จงหาขนาด d โดยใช้ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด และทฤษฎีความเค้ น
เฉือนออคตะฮีดรัล

39

You might also like