You are on page 1of 2

ตัวอย่างที่ 2.

1 สมมติว่าต้องการสูบน้ำ 3 kg/s จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง


ซึ่งห่างกัน 250 m. และมีระดับความสูงต่างกัน 8 m. ต้องการหาขนาดของ
เครื่องสูบน้ำและขนาดของท่อที่จะใช้ (รูปที่ 2.2)

วิธีทำ ที่ระดับความสูงที่แตกต่างกัน 8 m. เทียบได้กับความแตกต่างของ


ความดัน = (8 m.) (1000 kgm3) (9.807 n/s2) = 78.5 kPa ทำการเลือก
ขนาดของท่อโดยอิสระโดยกำหนดให้มีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 50 mm. ดัง
นัน
้ จะได้ว่าความเสียดทานในท่อซึ่งยาว 250 m. มีค่า 100 kPa เพราะ
ฉะนัน
้ ความ ดันที่เครื่องสูบน้ำต้องทำได้คือ 178.5 kPa ในปั ญหาเดียวกันนี ้
กับการหาระบบที่เหมาะสมที่สุด อันดับแรกต้องกำหนดเกณฑ์ในการ
พิจารณา (criteria) ซึ่งปกติจะเป็ นค่าใช้จ่าย (บางครัง้ คิดเฉพาะค่าใช้จ่ายเริ่ม
แรก (first cost) แต่ในบางครัง้ หมายถึงค่าใช้ง่ายตลอดอายุการใช้งาน
(lifetime cost) ซึ่งจะประกอบด้วยค่าใช้ง่ายเริ่มแรกรวมกับค่าใช้ง่ายในการ
สูบน้ำและค่าบำรุงรักษา) ค่าใช้ง่ายต่างๆที่เกิดขึน
้ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1) ราคาของเครื่องสูบน้ำ, 2) ราคาของท่อ 3) ค่าใช้ง่ายในการคำนินงานใน
การสูบน้ำตลอดอายุการใช้งาน (lifetime pumping cost) ซึ่งค่าเหล่านีจ
้ ะ
แปรตามความดัน ดังแสดงในรูปที่ 2.2 เพื่อให้ได้อัตราการไหล 3 kg/s การ
เพิ่มความดันของเครื่องสูบจะทำให้ราคาของเครื่องสูบสูงขึน
้ เพราะต้องเพิ่ม
ขนาดของใบพัดและหรือเพิ่มความเร็ว ทำให้ต้องเพิ่มพลังงานและค่าใช้จ่าย
ในการคำเนินการ ค่าใช้ง่ายของท่อก็จะสูงมากขึน
้ ด้วย จากรูปที่ 2.2 ค่า
ความดันที่หมาะสมที่สุดที่ราคาต่ำสุด จะอยู่ที่ 150 kPa ดังนัน
้ จึงควรเลือก
ขนาดท่อซึ่งไม่ทำให้เกิดความเสียดทานมากกว่า 71.5 kPa
รูปที่ 2.2 แสดงค่าใช้จ่ายในการสูบน้ำ ราคาของเครื่องสูบน้ำและราคาของ
ระบบท่อที่ใช้

ในโครงการขนาดใหญ่ความซับซ้อนจะมากขึน
้ การพิจารณาต้องคำนึง
ถึงปั ญหาทางเทคนิคต่างๆ รวมถึงสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจด้วย

You might also like