You are on page 1of 12

Clean Technology

อุตสาหกรรมการผลิต
เครื่องปรับอากาศ

ธนัชกฤศ มังกรศักดิส์ ิทธิ์ 6010503353


พศวัต กิตติภาดากุล 6010505186
แหล่งข้อมูลทีร่ วบรวม
การวางแผนและจัดการองค์กร
CT Planning & Organization
เนื่องด้วยอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศ และ ชิน้ ส่วน
เครื่องปรับอากาศ จาเป็ นที่จะต้องจัดทาการจัดการคุณภาพอากาศ
จึงได้มีการนา Clean Technology เข้ามาในกระบวนการผลิต
เริ่มตัง้ แต่กระบวนกรผลิต เช่น การลดการนาเข้าสารเคมีท่ีอาจส่งผล
เสียต่อสภาพอากาศ มีการติดตัง้ ระบบระบายอากาศ และยกเลิกการ
นาเข้าสารเคมีท่ีสามารถสส่งผลเสียต่อสภาพอากาศได้ เช่น สาร
ซีเอฟซี (CFC) และ มีการนากลับมาใช้ซา้ เพื่อลดปริมาณของเสียที่
อาจปล่อยสูม่ ลพิษอากาศ
Pre-Assessment
จากการรวบรวมข้อมูลพืน้ ฐานด้านการผลิต การใช้และการสูญเสีย
ทรัพยากร รวมทัง้ ตรวจวัดข้อมูล การผลิตจริงในสถานประกอบการผลิต
เครื่องปรับอากาศจานวน 8 โรงงาน โดยมีขอ้ มูลพืน้ ฐาน ขัน้ ตอนการผลิต
และหน่วยสนับสนุนการผลิตที่เกี่ยวข้องแสดงในภาคผนวก ก จากข้อมูล
ดังกล่าวได้นามาวิเคราะห์หา ปั จจัยหลักที่บ่งชีป้ ระสิทธิภาพการผลิตโดย
แยกตามประเภทโรงงาน ซึง่ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มดังนี ้

1) กลุ่มเครื่องปรับอากาศสาหรับห้องพักอาศัย10 มีจานวน 7 แห่ง


2) 2) กลุม่ เครื่องปรับอากาศเชิงพาณิชย์11 มีจานวน 1 แห่ง
overview
ชิน้ ส่วนต่างๆ ของเครื่องปรับอากาศ เช่น คอยล์
คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์ ใบพัดลม สายไฟ ฯลฯ
แผงวงจรควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ ชิน้ ส่วน
พลาสติก และอุปกรณ์อ่ืนๆ จะถูกนามาประกอบ
โดยแนกเป็ นแต่ละ station
เครื่องปรับอากาศจะถูกเติมสารทาความเย็นตามที่
กาหนดไว้ในแต่ละชนิดผลิตภัณฑ์ สารทาความเย็น
ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศประกอบด้วย
R22 R134a R407 และ R410a
การเพิ่มประสิทธิภาพ
การป้องกันมลพิษ
ปัญหาจากกระบวนการผลิต
โรงงานใช้หม้อนา้ ที่ใช้แก๊สแอลพีจีเป็ นเชือ้ เพลิงเพื่อผลิตไอน้ําสาหรับใช้ใน
กระบวนการล้างชิน้ งาน อย่างไรก็ตาม ไอเสียที่ปล่อยทิง้ ไปมีอณ ุ หภูมิสงู ถึง 180 องศา
เซลเซียส ความร้อนที่สญ
ู เสียในรูปของไอเสียที่ ปล่อยทิง้ ออกจากปล่องจะอยู่ประมาณ 15-
45 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณความร้อนที่ผลิตได้ ซึง่ เป็ นการปล่อย ความร้อนทิง้ ไปโดยเปล่า
ประโยชน์ ความร้อนในส่วนนีส้ ามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้
แนวทางการแก้ไข
ความร้อนจากไอเสียที่ปล่อยทิง้ ที่ปล่องไอเสียสามารถนามาถ่ายเท
ความร้อนให้กบั นา้ ป้อนเข้าสู่หม้อ นา้ ได้ โดยออกแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความ
ร้อนระหว่างไอเสียกับน้ํา เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนชนิดนีจ้ ะ เรียกว่าอีโคโนไม
เซอร์ ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นชุดท่อจ่ายนา้ ไหลภายในท่อในขณะที่ให้ไอเสียวิ่งผ่านด้าน
นอกท่อ ซึง่ จะสามารถลดอุณหภูมิของไอเสียได้
แนวทางการแก้ไข
โรงงานอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศมีการใช้วิธีการต่างๆ
ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไอระเหย
ต่างๆที่อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพของพนักงาน จึงต้องการ
วิธีลดปริมาณของเสียทางอากาศ เช่น ใช้ระบบการล้าง
แบบ 2 บ่อสวนกระแสแทนการใช้บ่อล้างแบบน้ําล้น
ต่อเนื่องจานวน 1 บ่อ ซึง่ สามารถลดปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ท่ีปล่อยออกจากระบบได้ 541 กิโลกรัม
CO2 หรือเป็ นการติดตัง้ ปื นพ่นสีใหม่ เพื่อช่วยลดการฟุง้
ของสารเคมี ให้กระทบกับพนักงานให้นอ้ ยที่สดุ
CHAPTER
4.ศึกษาความเป็ นไปได้
จัดภาระการระบายความร ้อนในหอหล่อเย็นให ้
เหมาะสม
ความเป็ นไปได้ทางเทคนิค
-การปรับย ้ายภาระการระบายความร ้อนในหอหล่อ
เย็นช่วยให ้ประสิทธิภาพการลดอุณหภูมน ิ ํ าหล่
้ อ
่ ้ ่
เย็น เพิมขึน ซึงส่งผลให ้ระบบปร ับอากาศหรือ
่ กรทีต
เครืองจั ่ ้องใช ้นาหล่
้ อเย็นมีประสิทธิภาพการ
ทางานดีขน ้
ึ การ ประเมินผลประโยชน์ทได ่ี ้รับด ้าน
้ จารณาจากประสิทธิภาพของหอ
เทคนิ คนี จะพิ
หล่อเย็น และปริมาณการใช ้ไฟฟ้ าทีลดได ่ ้ในหอ
หล่อเย็นโดยอาศัยข ้อมูลในตารางที 3-6 และ ่
สมมุตฐิ านทีก ่ าหนดให ้นาขาเข
้ ้าและขาออก หอ
หล่อเย็นมีอณ ุ หภูมล ิ ดลง 3 องศาเซลเซียส

ปริมาณไฟฟ้ าทีประหยั
ดได ้ 26,722 กิโลวัตต ์-

ชัวโมงต่
อปี
ผลประโยชน์ดา้ นสิ่งแวดล้อม
5.การลงมือปฏิบตั ิ

-จัดภาระการระบายความ
ร ้อนในหอหล่อเย็นให ้
เหมาะสม
่ ับภาระสูง
-พบว่าหอที2ร
-โดยลดภาระหอระบายลงไป

ทีหอที ่ บ3
1กั
รายละเอียด
-ลงทุนครัง้ เดียวเป็ นเงินทัง้ สิน้ 102889.06 บาท

-ช่วยลดปริมาณการใช ้ไฟฟ้ าในระบบปรับอากาศได ้เท่ากับ 47



กิโลวัตต ์-ชัวโมง ต่อวันหรือคิดเป็ น 4 เปอร ์เซ็นต ์ ซงคิ่ึ ดเป็ น

ค่าใช ้จ่ายทีประหยั ่
ดได ้ใน 1 ปี (241 วัน) เท่ากับ = 47 กิโลวัตต ์-ชัวโมง/
่ั
วัน เท่ากับ 241 วัน/ปี เท่ากับ 3.09 บาท/กิโลวัตต ์-ชวโมง
เท่ากับ 35,000 บาทต่อปี ความคุ ้มค่าด ้านเศรษฐศาสตร ์ของการ

ปร ับปรุงนี สามารถประเมิ นได ้จากระยะเวลาคืนทุน ซึงมี ่ ผล
คานวณดังต่อไปนี ้ ระยะเวลาคืนทุน = 102,890 บาท / 35,000 บาท/ปี =
3 ปี


สาหร ับผลประโยชน์ด ้านสิงแวดล ้อม วิธก ่
ี ารเพิมประสิทธิภาพการ
ผลิตและการป้ องกันมลพิษนี ้ ช่วยลดผลกระทบต่อสิงแวดล ่ ้อมอัน
เนื่ องจากการลดการปล่อยก๊าซพิษทีมี ่ ผลต่อการเกิดภาวะโลก
่ านวณเป็ นปริมาณการปล่อยก๊าซคาร ์บอนไดออกไซด ์
ร ้อน ซึงค

เทียบเท่าทีสามารถลดได ้เท่ากับ 6,354 กิโลกรัม CO2 eq. ต่อปี (ค่าที่

ใช ้คานวณผลกระทบสิงแวดล ้อมแสดงในภาคผนวก ง)

You might also like