You are on page 1of 11

การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28

TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

การประยุกต์ใช้กา๊ ซร้อนจากคอนเดนเซอร์เพื่อควบคุมความชื้นในการปรับอากาศ
Applications of Hot Gas from Condenser for Humidity Control in
Air – Conditioning

มานพ พิพฒ
ั หัตถกุล

สาขาวิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน


833 ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน แขวงวังใหม่ กรุงเทพฯ 10330
E-mail : manop@pit.ac.th, Tel : 0-2104-9099 (3010), Fax : 0-2219-3872

บทคัดย่อ
งานวิจยั นี้ ศึกษาการควบคุมอุณหภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์ ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนโดยใช้ก๊าซ
ร้อนจากคอนเดนเซอร์ โดยสร้างชุดอุ่นอากาศ เรียกว่า HRU (Hot Gas Recovery Unit) ระบบทดลองประกอบด้วย
เครื่องปรับอากาศขนาด 35400 BTU สารทําความเย็น R22 และ HRU ขนาด 28000 BTU แบ่งการทํางานของ
HRU ออกเป็ น 33, 66 และ 100 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับสภาวะในการศึกษาอุณหภูมขิ องอากาศภายนอก 28 – 30oC
ความชืน้ สัมพัทธ์ 68 – 76%RH ควบคุมอุณหภูมอิ ากาศภายในห้องทดลอง 22 – 27oC ความชืน้ สัมพัทธ์ 35 –
45%RH โดย HRU นําความร้อนของ R22 ในคอนเดนเซอร์มาใช้เพื่อควบคุมความชืน้ สัมพัทธ์ การทดลองแบ่ง
ออกเป็ น 4 สภาวะ ประกอบด้วย ระบบปรับอากาศปกติ, ระบบปรับอากาศปกติทาํ งานร่วมกับ HRU 33, 66 และ
100 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ระบบปรับอากาศปกติ สามารถควบคุมอุณหภูมไิ ด้
ตามที่ต้องการ แต่ไม่สามารถควบคุมความชื้นสัมพัทธ์ตามที่กําหนดได้ เมื่อให้ระบบปรับอากาศทํางานร่วมกับ
HRU สามารถควบคุมอุณหภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์ได้ตามทีก่ ําหนด เมือ่ เปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของ
เครื่องทําความเย็น (COPR) ค่า COPR ของระบบปรับอากาศปกติ มีค่าเท่ากับ 2.67 และ COPR,HRU ของระบบปรับ
อากาศ ทํางานร่วมกับ HRU 33, 66 และ 100 เปอร์เซ็นต์ มีคา่ เท่ากับ 2.63, 2.58 และ 2.57 ตามลําดับ
คําหลัก: การปรับอากาศ; การควบคุมความชืน้ ; ความชืน้ สัมพัทธ์

Abstract
This research examines the control of temperature and relative humidity in the split type of air –
conditioning by using hot gas from condenser. Air – warming equipment was built to work with air –
conditioning. This equipment is called HRU (Hot Gas Recovery Unit). The experimental system consisted
of an air – conditioning with split type 35400 BTU, working fluid with R22 and 28000 BTU of HRU. For
study condition, air temperature outside the room was 28 – 30oC, relative humidity was 68 – 76%RH. The
room temperature was controlled at 22 – 27oC, relative humidity was 35 – 45%RH. The HRU utilize
thermal energy of R22 in the condenser to control relative humidity. The experiment was divided in 4
conditions, including normal air – conditioning, normal air – conditioning that work with HRU 33, 66 and
100 percent respectively. The test results showed that normal air – conditioning was able to control the

1540
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

temperature as needed but it was unable to control relative humidity as specified. Later, air – conditioning
system was tested in combination with HRU. It was able to control temperature and relative humidity as
specified. When compared coefficient of performance of refrigerator (COPR). COPR value of normal air –
conditioning was 2.67 and COPR,HRU values of air – conditioning working with HRU 33, 66 and 100
percent were 2.63, 2.58 and 2.57 respectively.
Keywords: Air – conditioning; Humidity control; Relative humidity

1. บทนํา เย็ น ทํ า ให้ ไ อนํ้ าในอากาศที่ เ ป่ า ผ่ า นคอยล์ เ ย็ น


โดยปกติก ารปรับ อากาศ จะมีเ ป้ า หมายในการ ควบแน่ นได้ลดลง ดังนัน้ ถ้าสามารถเพิม่ อุณหภูมขิ อง
ควบคุมสภาวะของอากาศ เช่น อุณหภูมแิ ละความชื้น อากาศในบริเ วณพื้น ที่ก ารทํ า ความเย็น หรือ เพิ่ม
ในบริเวณพื้นทีค่ วบคุม ให้มสี ภาวะตามทีต่ ้องการ ซึ่ง อุณหภูมขิ องอากาศที่เป่าผ่านคอยล์เย็น เพื่อป้องกัน
การออกแบบระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน เพือ่ ทีพ่ กั ไม่ให้เกิดนํ้ าแข็งเกาะที่ผวิ คอยล์เย็น เมื่อภาระความ
อาศัยหรือสําหรับกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เย็นลดลง คอยล์เย็นก็จะสามารถดึงความชื้นออกจาก
สามารถแบ่งออกได้เป็ นหลายระดับ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ความ อากาศได้มากขึน้ ซึ่งส่งผลทําให้ความชื้นสัมพัทธ์ ใน
ต้องการ เช่น การปรับอากาศในทีพ่ กั อาศัย จะอ้างอิง บริเวณพื้นที่ควบคุม ลดลงตาม โดยในปี 1997 Xiao
จากภาวะสบาย (Comfort zone) ของบุคคล ตาม Ping Wu & etc. [1] ได้ศกึ ษาการควบคุมความชืน้
ASHRAE standard 55 – 1992 ซึง่ อยูใ่ นช่วงอุณหภูม ิ สัมพัทธ์ในระบบปรับอากาศ โดยติดตัง้ ท่อแลกเปลีย่ น
ตัง้ แต่ 20 – 27oC และความชืน้ สัมพัทธ์ 30 – 60%RH ความร้อน ทางด้านลมจ่าย และทางด้านลมกลับ เพื่อ
สําหรับในภาคอุ ตสาหกรรม ซึ่งในอุ ตสาหกรรมบาง ช่ว ยลดความชื้น สัม พัท ธ์แ ละอุ ณ หภู ม ิ โดยสามารถ
ชนิดมีความต้องการควบคุมเฉพาะอุณหภูมแิ ต่เพียง ควบคุมอุณหภูมไิ ด้ท่ี 23.5oC และความชื้นสัมพัทธ์
อย่างเดียว แต่ในอุตสาหกรรมบางประเภท เช่นการ ลดลงจากเดิม 70 – 74% จากนัน้ ในปี 2001 Niu, J.L.
ผลิต ชิ้น ส่ ว นทางอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ หรือ การทอเส้น ใย [2] ได้นําสารดูดซับความชืน้ และท่อแลกเปลีย่ นความ
จําเป็ นทีจ่ ะต้องมีการควบคุมทัง้ อุณหภูมแิ ละความชื้น ร้อน เพือ่ ควบคุมอุณหภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์ โดยใช้
สัมพัทธ์ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายในกระบวนการ วงล้อทีต่ ดิ ตัง้ สารดูดซับความชื้น ทางด้านอากาศร้อน
ผลิต ซึ่งขอบเขตความสบายของบุคคลในที่พกั อาศัย เข้า เป็ นการดึงความชื้นสัมพัทธ์ขนั ้ ที่ 1 จากนัน้ ให้
หรือ สถานที่ป ฏิบ ัติ ง าน จะขึ้น อยู่ ก ับ ป จั จัย หลัก 3 อากาศร้อนผ่านท่อแลกเปลี่ยนความร้อนที่มอี ุณหภูม ิ
ประการ คือ อุณหภูม ิ (กระเปาะแห้ง), การเคลื่อนไหว ตํ่า เป็ นการดึงความชืน้ สัมพัทธ์ขนั ้ ที่ 2 และเป็ นการลด
ของอากาศ และความชืน้ สัมพัทธ์ ในระบบปรับอากาศ อุ ณ หภู ม ิข องอากาศด้ว ย จากนั น้ จึง ให้อ ากาศผ่ า น
แบบแยกส่ว น โดยปกติแ ล้ว จะสามารถลดความชื้น คอยล์เย็นเพื่อลดอุณหภูม ิ และความชื้นสัมพัทธ์ เป็ น
สัม พัท ธ์ ได้ด้วยตัว เอง โดยอาศัย การควบแน่ น ของ ขัน้ ตอนสุดท้ายซึ่งสามารถควบคุมความชื้นสัมพัทธ์
ไอนํ้ าในอากาศทีส่ มั ผัสกับคอยล์เย็น ซึง่ แม้วา่ จะมีการ ได้ท่ี 44.8%RH ต่อมาในปี 2011 Salama M. Abdel-
ควบแน่ น ของไอนํ้ า เกิด ขึ้น ที่บ ริเ วณคอยล์ เ ย็น แต่ Hady & etc. [3] ได้เสนอแนวคิดในการนํ าพลังงาน
ความชื้นสัมพัทธ์ จะขึน้ อยู่กบั อุณหภูม ิ ของพื้นที่การ ความร้อ นที่ระบายทิ้งที่คอนเดนเซอร์ ในระบบปรับ
ทําความเย็นด้วย เมื่ออุณหภูมขิ องบริเวณที่ต้องการ อากาศแบบแยกส่วน ที่ระบายความร้อนด้วยนํ้ า เพื่อ
ควบคุมลดตํ่าลง จะส่งผลทําให้ความชื้นสัมพัทธ์มคี ่า ลดความชืน้ สัมพัทธ์ของอากาศเย็น ทีจ่ ่ายให้กบั ระบบ
สู ง ขึ้น หรือ ในบางกรณี ท่ีพ้ืน ที่ก ารทํ า ความเย็น มี ปรับ อากาศ ซึ่ ง ทํ า การศึ ก ษาตัว แปร 4 ตัว ได้ แ ก่
อุณหภูมลิ ดตํ่าลง อาจทําให้เกิดผิวนํ้าแข็งเกาะทีค่ อยล์ ประเภทของคอยล์ (คอยล์เดีย่ วหรือคอยล์ค่)ู , ปริมาณ
1541
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

การไหลของนํ้ า, อุณหภูมนิ ้ํ า และความเร็วของอากาศ valve) และ อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) หรือ เครื่อง


เย็น เพื่อ ออกแบบอุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ย นความร้อ นที่ ระเหย ซึง่ มีการถ่ายโอนความร้อน QL ออกจากพืน้ ที่
สามารถดึ ง พลั ง งานความร้ อ นที่ ร ะบายทิ้ ง จาก การทํ า ความเย็ น และระบายความร้ อ น QH สู่
คอนเดนเซอร์มาใช้ได้อย่างเหมาะสม และในปี 2014 ภายนอก โดยการจ่ายงาน Win
Hongming Fan & etc. [4] ได้ศกึ ษาการนําปมความ ั๊ WARM environment
ร้ อ นหลายเครื่ อ ง เพื่ อ ช่ ว ยควบคุ ม อุ ณ หภู ม ิ แ ละ QH
ความชื้น โดยใช้คอนเดนเซอร์ 2 เครื่องมาต่อขนาน 3
Condenser
2
กัน โดยติดตัง้ อยู่ทางด้านหลังคอยล์เย็นภายใน และ Expansion valve Win
ั๊
ด้านภายนอก ซึ่งปมความร้ อนสามารถทํางานได้เป็ น Compressor
4 แบบ ได้แ ก่ ทํ า ความร้อ น ทํ า ความเย็น และลด 4 Evaporator 1
ความชืน้ โดยอุณหภูมแิ ละความชืน้ ของอากาศทีจ่ ่าย QL
เข้าจะถูกควบคุมได้อย่างแม่นยํา และมีประสิทธิภาพ COLD refrigerated space
โดยการปรับปริมาณลมทางด้านภายในห้องและนอก
ห้อง จะเห็นได้วา่ จากงานวิจยั ต่างๆ ทีผ่ ่านมาได้มกี าร รูปที่ 1 วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติ
นํ า ท่อแลกเปลีย่ นความร้อน, ฮีตเตอร์ และความร้อน เมื่อนํ ากระบวนการต่างๆ ในวัฏจักรทําความเย็นแบบ
ที่ระบายทิ้งจากคอนเดนเซอร์ มาช่วยในการควบคุม อัด ไออุ ด มคติ มาเขีย นลงบนแผนภาพ ความดัน –
ความชื้น สัม พัท ธ์ ซึ่ง ตัว ฮีต เตอร์เ องต้อ งการแหล่ ง เอนทัลปี (P – h diagram) ดังรูปที่ 2 จากแผนภาพ
พลังงานจากภายนอก เพื่อให้เกิดความร้อน ดังนัน้ จึง เห็นได้ว่า ระหว่างกระบวนการ 3 – 4 จะได้เป็ น
เป็ นที่ ม าของงานวิ จ ั ย นี้ โดยมี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ ใ น เส้นตรง เนื่องจากเป็ นกระบวนการขยายตัวในอุปกรณ์
การศึกษา การควบคุมอุณหภูมแิ ละความชื้นสัมพัทธ์ ทรอตทลิง่ ซึ่งเอนทัลปี (Enthalpy) มีค่าคงที่ และ
ของระบบปรับ อากาศแบบแยกส่ ว น ให้ อ ยู่ ใ นช่ ว ง ปริมาณความร้อนทีถ่ ูกถ่ายโอน ที่คอนเดนเซอร์ และ
อุณหภูม ิ 22 – 27oC และ ความชืน้ สัมพัทธ์ในช่วง อีว าพอเรเตอร์จ ะเป็ น สัด ส่ว นโดยตรงกับ ความยาว
35 – 45%RH โดยดึงเอาพลังงานความร้อนทีท่ ง้ิ จาก ของเส้นกระบวนการ
P
คอนเดนเซอร์ มาช่วยในการควบคุมความชื้นสัมพัทธ์
ผ่ า นอุ ป กรณ์ ดึง ความร้ อ นจากก๊ า ซร้ อ นกลับ มาใช้ QH
เรียกว่า Hot Gas Recovery Unit (HRU) เพื่อ 3 2
Win
เปรียบเทียบผล ในการควบคุมอุณหภูมแิ ละความชื้น 4 1
สัม พัท ธ์ข องระบบปรับ อากาศปกติท่ีไ ม่ม ีก ารติด ตัง้ QL
HRU เทียบกับการใช้งาน HRU 33, 66 และ 100
เปอร์เซ็นต์ (%) ร่วมกับระบบปรับอากาศ h
รูปที่ 2 P – h diagram ของ วัฏจักรทําความเย็น
2. ทฤษฎีในการวิ เคราะห์ [5 – 7] แบบอัดไออุดมคติ
วั ฏ จั ก ร ทํ า ค ว า ม เ ย็น แ บ บ อัด ไ อ อุ ด ม ค ติ เมื่อวิเคราะห์การทํางานของแต่ละอุปกรณ์ ในวัฏจักร
ประกอบด้วยอุปกรณ์มาตรฐาน 4 อย่าง ดังรูปที่ 1 คือ ทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติให้มกี ารไหลแบบคงตัว
คอมเพรสเซอร์ (Compressor) หรือ เครื่อ งอัด , (Steady flow) ได้ดงั สมการที่ (1), (2), (3) และ (4)
คอนเดนเซอร์ (Condenser) หรือ เครื่องควบแน่ น, คอมเพรสเซอร์ : WC  m R h2  h1  (1)
อุ ปกรณ์ ทรอตทลิ่ง หรือ วาล์วขยายตัว (Expansion คอนเดนเซอร์ : QC  m R h2  h3  (2)
1542
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

วาล์วขยายตัว : h3  h4 (3) ซึ่งในบางครัง้ อาจมีความจําเป็ นที่จะต้องใช้ มากกว่า


อีวาพอเรเตอร์ : Q E  m R h1  h4  (4) หนึ่ งกระบวนการ เพื่อทําให้อ ากาศอยู่ในสภาวะที่ม ี
สามารถที่จ ะหาสัม ประสิทธิ์ส มรรถนะของเครื่อ งทํา อุณหภูม ิ และระดับความชื้น ตามทีต่ อ้ งการ เช่น การ
ความเย็น (COPR) ทีท่ าํ งานในลักษณะของวัฏจักรทํา ให้ความร้อ น และเพิม่ ความชื้น กับ อากาศ (Heating
ความเย็นแบบอัดไออุดมคติ ได้ดงั สมการที่ (5) and humidifying) หรือการให้ความร้อนและลด
Q E h1  h4 ความชืน้ (Heating and dehumidifying) เป็ นต้น ซึง่
COPR   (5)
WC h2  h1 ในงานวิจยั นี้ มีวตั ถุประสงค์ในการปรับอากาศ ให้อยู่
เมือ่ ในช่ ว งภาวะสบายของบุ ค คล โดยควบคุ ม ให้อ ยู่ใ น
WC = งานทีต่ อ้ งจ่ายให้กบั คอมเพรสเซอร์, W ช่วงอุณหภูม ิ 22 – 27oC และความชืน้ สัมพัทธ์ในช่วง
Q C = ความร้อนทีร ่ ะบายออกทีค่ อนเดนเซอร์, W 35 – 45%RH ดังนัน้ จึงต้องอาศัยกระบวนการสอง
Q E = ความร้ อ นที่ด ึง ออกจากบริเ วณพื้น ที่ก ารทํ า กระบวนการ คือ การทําความเย็น และลดความชื้น
ความเย็น ทีอ่ วี าพอเรเตอร์, W (Cooling and dehumidifying)
m R = อัตราการไหลเชิงมวลของสารทําความเย็น,
kg/s
h = เอนทัลปี , kJ/kg

สภาวะของอากาศ สามารถแสดงได้ ด้ ว ยจุ ด บน


แผนภูมไิ ซโครเมตริก (Psychrometric charts) ในรูปที่
3 ซึ่งจุดบนแผนภูมไิ ซโครเมตริก จะแสดงค่าสมบัติ
ของอากาศทีส่ าํ คัญ คืออุณหภูมกิ ระเปาะแห้ง (Dry –
bulb temperature, TDB), อุณหภูมกิ ระเปาะเปี ยก รูปที่ 3 แผนภูมไิ ซโครเมตริก
(Wet – bulb temperature, TWB), อุณหภูมจิ ุดนํ้าค้าง
(Dew – point temperature, TDP), ความชืน้ สัมบูรณ์
หรือความชืน้ จําเพาะ (Absolute or specific humidity,
 ) เป็ นมวลของไอนํ้ าทีม ่ อี ยู่ในหนึ่งหน่ วยมวลของ
อากาศแห้ง ซึ่ ง บางครัง้ อาจจะเรีย กว่ า อัต ราส่ ว น
ความชื้น (Humidity ratio) และความชื้นสัมพัทธ์
(Relative humidity, RH) เป็ นปริมาณของความชืน้
หรือไอนํ้าทีม่ อี ยู่ เทียบกับปริมาณความชืน้ มากทีส่ ุด ที่ รูปที่ 4 กระบวนการปรับอากาศบนแผนภูม ิ
มีอ ยู่ไ ด้ใ นอากาศ ที่อุ ณ หภู ม ิเ ดีย วกัน ในบริเ วณ ที่ ไซโครเมตริก
ต้องการควบคุมอุณหภูมแิ ละความชืน้ ให้เป็ นไปตามที่
ต้องการต้องอาศัยกระบวนการ ทีเ่ รียกว่ากระบวนการ 3. ชุดทดลองและวิ ธีการทดลอง
ปรับอากาศ ดังรูปที่ 4 โดยกระบวนการปรับอากาศ ในการดําเนินงานวิจยั นี้ ได้ทําการทดลองภายในห้อง
ส า ม า ร ถ แ บ่ ง อ อ ก ไ ด้ เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห ลั ก ขนาด 3.7 m X 5.0 m X 5.1 m ผนังก่อด้วยอิฐบล็อก
4 กระบวนการ ได้แ ก่ การให้ค วามร้อ น (Heating), หนา 100 mm ผิวฉาบเรียบ ทาสีฟ้าอ่อน โดยกําหนด
การทํา ความเย็น (Cooling), การลดความชื้น อุณหภูมอิ อกแบบภายในห้องที่ 25oC และอุณหภูม ิ
(Dehumidifying) และการเพิม่ ความชืน้ (Humidifying) ออกแบบภายนอกที่ 35oC ตําแหน่ งของห้องทดลองมี

1543
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

พิกดั ทางภูมศิ าสตร์คอื ละติจูดที่ 13o 45 เหนือ และ


ลองจิจดู ที่ 100o 31 ตะวันออกโดยภายในห้องทดลอง
มีภาระการทําความเย็นจากไฟฟ้าแสงสว่างเป็ นหลอด
ฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent lamp) ขนาด 36 W
จํ า นวน 6 หลอด มี ภ าระการทํ า ความเย็ น จาก
ผูป้ ฏิบตั งิ าน 2 คน เป็ นเวลา 2 ชัวโมง
่ มีภาระการทํา
ความเย็น จากอุ ป กรณ์ กํ า ลัง ได้แ ก่ มอเตอร์ ไ ฟฟ้ า
ขนาด 0.05 HP จํานวน 2 เครื่อง จากข้อมูลดังกล่าว
ทําให้สามารถคํานวณภาระการทําความเย็นของพืน้ ที่
การทํ า ค วามเย็ น ที่ ต้ อ งการได้ ซึ่ ง ได้ เ ลื อ กใช้
เครื่องปรับอากาศขนาด 35400 BTU เพื่อให้ทํางาน
ร่วมกับอุปกรณ์ HRU ขนาด 28000 BTU รูปที่ 6 คอมเพรสเซอร์ R22

รูปที่ 7 การติดตัง้ คอนเดนเซอร์

รูปที่ 5 Schematic diagram ของชุดทดลอง

รูปที่ 8 ลักษณะภายนอกของ HRU


1544
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

รูปที่ 10 การติดตัง้ อีวาพอเรเตอร์

รูปที่ 9 ลักษณะภายในของ HRU


จากนัน้ ติดตัง้ ระบบเพื่อทําการทดลอง ดังรูปที่ 5 โดย
ทําการติดตัง้ เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาด
35400 BTU ตามปกติในห้องทดลอง ทําการติดตัง้
อีวาพอเรเตอร์ ทีม่ ชี ุดพัดลม (Fan coil unit) ขนาด
700 คิวบิกฟุตต่อนาที (cfm) ไว้ภายในห้องทีต่ อ้ งการ
ปรับ อากาศ และทํา การติด ตัง้ คอนเดนเซอร์ข นาด
35400 BTU ไว้ทด่ี า้ นนอกของห้อง เพือ่ ระบายความ
ร้อนสู่บรรยากาศ จากนัน้ ทําการติดตัง้ อุปกรณ์ HRU รูปที่ 11 ลักษณะภายนอกของมิเตอร์ไฟฟ้า
ไว้ภายในห้อง โดย HRU ดังกล่าวจะประกอบไปด้วย จ า ก นั ้ น ทํ า ก า ร ติ ด ตั ้ ง ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า เ พื่ อ ใ ห้
คอยล์ (Coil) กับชุดพัดลมโดยไม่มคี อมเพรสเซอร์ ซึง่ เครื่องปรับอากาศสามารถทํางานได้ตามปกติ โดยใช้
ในส่วนคอยล์ของ HRU จะใช้วาล์ว SO1, SO2 และ อุ ป ก ร ณ์ วั ด ค่ า กํ า ลั ง ไ ฟ ฟ้ า ( Power) แ ล ะ พิ ก ั ด
SO3 ในการควบคุมทิศทางการไหลของสารทําความ กระแสไฟฟ้ า (Amp) ที่ค อมเพรสเซอร์ร วมถึง ติด ตัง้
เย็น และใช้วาล์ว SC1, SC2 และ SC3 ในการปรับ มิเตอร์ไฟฟ้าเพื่อวัดจํานวนหน่ วยไฟฟ้า (kWh) ทีใ่ ช้
ภาระการทํ า งานของ HRU ที่ 33, 66 และ 100 โดยการทดลองจะเริม่ จากให้เครื่องปรับอากาศทํางาน
เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ ซึ่งลักษณะการติดตัง้ อุปกรณ์ ทีส่ ภาวะปกติ โดยไม่มกี ารใช้งาน HRU ก่อน แล้วจึง
ต่างๆ แสดงดังรูปที่ 6 – 11 บัน ทึก ค่ า ต่ า งๆ ทุ ก ๆ 10 นาที เป็ น เวลาทัง้ สิ้น 2
ชัวโมง
่ จากนัน้ ให้เครื่องปรับอากาศ ทํางานร่วมกับ
อุ ป กรณ์ HRU ที่ 33, 66 และ 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์
ตามลําดับ โดยมีขนั ้ ตอนต่างๆ ดังนี้ เริม่ ต้น ทําการวัด
อุณหภูม ิ และเปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ
ภ า ย ใ น ห้ อ ง ที่ ส ภ า ว ะ เ ริ่ ม ต้ น จ า ก นั ้ น เ ดิน
เครื่องปรับอากาศในสภาวะปกติโดยไม่มกี ารทํางาน
ของ HRU แล้วทําการบันทึกค่าอุณหภูม ิ (T) และ
ความดัน (P) ทีจ่ ุด 1 – 4, ทําการบันทึกค่าอุณหภูม ิ
1545
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

ภายในห้อง (T10) และ อุณหภูมขิ องลมเย็น ทีผ่ ่านอีวา และ สามารถคํานวณ ค่าสัม ประสิท ธิ์สมรรถนะของ
พอเรเตอร์ (T9), ทําการบันทึกค่าเปอร์เซ็นต์ความชืน้ เครื่อ งทํา ความเย็น ของระบบปรับ อากาศ ที่ทํา งาน
สั ม พั ท ธ์ ( % RH) ใน ห้ อ ง โ ด ย ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ วั ด ค่า ร่วมกับ HRU (COPR,HRU) ได้จากสมการที่ (7)
เปอร์ เ ซ็ น ต์ ค วามชื้น สัม พัท ธ์ แ บบดิจิต อล, ทํ า การ Q E  Q HRU
COPR,HRU  (7)
บันทึกค่ากําลังไฟฟ้า (Power) และพิกดั กระแสไฟฟ้า W C

(Amp) ทีค่ อมเพรสเซอร์โดยใช้อุปกรณ์วดั แบบดิจติ อล และสามารถคํานวณค่า Energy efficiency rating


และทําการบันทึกค่าหน่ วยไฟฟ้า (kWh) จากมิเตอร์ (EER) ได้จากสมการที่ (8)
ไฟฟ้ าจากนั ้น เมื่ อ ทํ า การบั น ทึ ก ค่ า ต่ า งๆ ตามที่ EER  3.412COP R (8)
ต้อ งการของระบบปรับ อากาศปกติแ ล้ว จึง พัก การ
ทํางานให้หอ้ งกลับสู่สภาวะเริม่ ต้นอีกครัง้ แล้วจึงเดิน 4. ผลการทดลอง
เครื่องปรับอากาศร่วมกับการทํางานของ HRU ซึง่ ทิศ โดยผลการทดลองที่ได้ จะแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็ น
ทางการไหลของสารทําความเย็นทีผ่ า่ น HRU สามารถ 2 ส่วน คือ ด้านการปรับอากาศ และ ด้านสัมประสิทธิ์
ควบคุมได้จากวาล์ว SO1, SO2 และ SO3 โดยเมือ่ ใช้ สมรรถนะ
งาน HRU วาล์ว SO1 จะถูกปิ ด ในขณะทีว่ าล์ว SO2 4.1 ด้านการปรับอากาศ
และ SO3 จะเปิ ด ส่วนภาระการทํางานของ HRU ในการทดลอง เริ่ม ต้น จากการให้เครื่อ งปรับ อากาศ
สามารถปรับได้จาก วาล์ว SC1, SC2 และ SC3 ที่ ทํา งานที่ส ภาวะปกติ โดยไม่ม ีก ารใช้อุ ป กรณ์ HRU
33, 66 และ 100 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ จากรูปที่ 5 อุณหภูมเิ ริม่ ต้นของห้องอยูท่ ่ี 29oC ความชืน้ สัมพัทธ์
เมือ่ ให้สารทําความเย็นไหลผ่านอุปกรณ์ HRU ทําการ 76%RH จากรูปที่ 12 จะเห็นได้ว่า เมื่อเริม่ เดิน
บันทึกค่า อุณหภูม ิ (T) และ ความดัน (P) ทีจ่ ุด 5 และ เครื่อ งปรับ อากาศ อุ ณ หภู ม ิข องห้อ งจะค่ อ ยๆ มีค่ า
6 รวมถึงบันทึกค่าอุณหภูม ิ (T) ของอากาศ ทีท่ างเข้า ลดลง เมื่อเวลาผ่านไป 20 นาที อุณหภูมขิ องห้องจะ
และทางออกของ HRU ทีจ่ ุด 7 และ 8 ทุกๆ 10 นาที ลดลง จนกระทังอยู ่ ่ในช่วงทีต่ อ้ งการคือ 22 – 27oC
เป็ น ระยะเวลา 2 ชัวโมงเช่
่ น เดียวกัน จากนัน้ นํ าค่า โดยมีอุณหภูมเิ ฉลี่ยของห้องอยู่ท่ี 25.6oC แต่เมื่อ
ต่ า งๆ ที่ว ัด ได้ม าคํ า นวณ เพื่อ หาค่ า สมรรถนะของ พิจารณา ถึงค่าความชืน้ สัมพัทธ์จะเห็นได้ว่า ในระบบ
ระบบโดยจากค่ า กํ า ลั ง ไฟฟ้ าที่ ว ั ด ได้ จ ะสามารถ ปรับ อากาศปกติจ ะสามารถทํ า ให้ค วามชื้น สัม พัท ธ์
คํานวณหาอัตราการไหลเชิงมวลของสารทําความเย็น ลดลงได้ในช่วง 50 นาทีแรก เนื่องจากการควบแน่ น
( m R ) ได้จากสมการที่ (1) ในขณะที่ ความร้อนที่ถ่าย ของไอนํ้ าในอากาศภายในห้อ งที่เป่าผ่า นคอยล์เ ย็น
โอนออกจากพื้นที่การทําความเย็น ที่อีวาพอเรเตอร์ ของอีวาพอเรเตอร์ แต่เมื่อหลังจากเวลา 50 นาที เมื่อ
( Q E ) คํานวณได้จากสมการที่ (4) และค่าสัมประสิทธิ์ อุณหภูมขิ องห้องลดลงการควบแน่ นของไอนํ้ าทีค่ อยล์
สมรรถนะของเครือ่ งทําความเย็นของระบบปรับอากาศ เย็นก็ลดลงตาม ประกอบกับเมื่ออากาศภายในห้องมี
ปกติ (COPR) คํานวณได้จากสมการที่ (5) จากนัน้ เมือ่ อุณหภูมลิ ดตํ่าลง ปริมาณความชืน้ มากทีส่ ุด ทีม่ อี ยู่ได้
ให้ระบบปรับอากาศทํางานร่วมกับ HRU จะเห็นได้ว่า ในอากาศทีอ่ ุณหภูมเิ ดียวกันก็จะลดลงตามไปด้วย ทํา
มีค วามร้อ นบางส่ว นถู ก ถ่ า ยโอนกลับ สู่บ ริเ วณพื้น ที่ ให้ระบบปรับอากาศปกติไม่สามารถควบคุมความชื้น
การทํ า ความเย็ น ซึ่ ง เป็ น ความร้ อ นที่ ร ะบายออก สัมพัทธ์ ให้อยูใ่ นช่วง 35 – 45%RH ตามทีต่ อ้ งการได้
ที่ HRU ( Q HRU ) สามารถคํานวณได้จากสมการที่ (6) โดยระบบปรับอากาศปกติสามารถลดความชืน้ สัมพัทธ์
Q HRU  m R h5  h6  (6) ได้ต่ําสุดที่ 68%RH และมีค่าความชืน้ สัมพัทธ์เฉลีย่
70.19%RH

1546
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

60 100 60 100
Temperature (oC) Temperature (oC)
Without HRU Relative humidity (%)
HRU 33% Relative humidity (%)

80 80
50 50

Relative humidity (%)

Relative humidity (%)


Temperature ( C)

Temperature ( C)
o

o
60 60
40 40

45 45
Relative humidity (%) 40 Relative humidity (%) 40
30 35 30 35

27 27
Temperature (oC) 20 o
Temperature ( C) 20
22 22
20 20

0 0
0 20 40 60 80 100 120 0 20 40 60 80 100 120

Time (min) Time (min)

รูปที1่ 2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมแิ ละ รูปที่ 14 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูม ิ


ความชืน้ สัมพัทธ์ของระบบปรับอากาศปกติ และความชืน้ สัมพัทธ์ของระบบ HRU 33%
60 100
o
HRU 66% Temperature ( C)
Relative humidity (%)

80
50

Relative humidity (%)


Temperature ( C)
o

60
40

45
Relative humidity (%) 40
30 35

27
Temperature (oC) 20
22
20

0
0 20 40 60 80 100 120

รูปที่ 13 แผนภูมไิ ซโครเมตริกของระบบปรับอากาศ Time (min)

ปกติ รูปที่ 15 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูม ิ


เมื่อนํ ากระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ในระบบปรับอากาศปกติ และความชืน้ สัมพัทธ์ของระบบ HRU 66%
มาเขียนลงบนแผนภูมไิ ซโครเมตริกดังรูปที่ 13 จาก 60
o
100
HRU 100% Temperature ( C)

สภาวะเริม่ ต้น ที่จุดที่ 1 อุณหภูม ิ 29oC ความชื้น Relative humidity (%)

80
50

สัมพัทธ์ 76%RH จนกระทังถึ ่ งจุดที่ 2 ทีอ่ ุณหภูมเิ ฉลีย่ Relative humidity (%)
Temperature ( C)

o
o

25.6 C และความชืน้ สัมพัทธ์เฉลีย่ 70.19%RH โดย


60
40

อาศัยกระบวนการ 2 กระบวนการ คือ การทําความ


45
40
Relative humidity (%)
30 35

เย็น และ ลดความชื้น ซึ่งในระบบปรับอากาศปกติท่ี 27

Temperature (oC) 20
22

ไม่ม ี HRU นัน้ สามารถลดอุณหภูมไิ ด้ตามทีก่ ําหนด 20

แต่ไม่สามารถลดความชืน้ สัมพัทธ์ ได้ตามทีต่ อ้ งการ 0 20 40 60

Time (min)
80 100 120

รูปที่ 16 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูม ิ
และความชืน้ สัมพัทธ์ของระบบ HRU 100%
จากนัน้ ปล่อยให้หอ้ งทดลอง กลับสูส่ ภาวะเริม่ ต้น และ
ทํา การทดลองใหม่ โดยให้ร ะบบปรับ อากาศทํา งาน
ร่วมกับ HRU 33, 66 และ 100 เปอร์เซ็นต์ (%)
ตามลําดับ โดยมีอุณหภูมเิ ริม่ ต้นในช่วง 28 – 29oC
และมีความชืน้ สัมพัทธ์เริม่ ต้น ในช่วง 68 – 73%RH
จากรูปที่ 14, 15 และ 16 จะเห็นได้ว่า ในระบบปรับ
1547
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

อากาศที่ทํ า งานร่ ว มกับ HRU เมื่อ เวลาผ่ า นไป 10


นาที อุณหภูมขิ องห้องจะลดลง จนกระทังอยู ่ ่ในช่วงที่
o
ต้องการ คือ 22 – 27 C เมื่อเปรียบเทียบกับระบบ
ปรับอากาศปกติทไ่ี ม่ม ี HRU จะเห็นได้ว่า เมื่อติดตัง้
HRU ให้ ทํ า งานร่ ว มกับ ระบบปรับ อากาศปกติ จะ
สามารถลดอุ ณ หภู ม ิ ได้เ ร็ว กว่ า เนื่ อ งจาก ในการ
ทดลอง ระบบทีม่ กี ารติดตัง้ HRU มีค่า %RH ทีส่ ภาวะ
เริม่ ต้นตํ่ากว่า ประกอบกับมีการไหลเวียนของกระแส
ลมเย็น ทางด้า นในห้อ งเพิ่ม ขึ้น จากชุ ด พัด ลมของ รูปที่ 17 แผนภูมไิ ซโครเมตริกของระบบ HRU
HRU ทําให้การกระจายของลมเย็น ทีอ่ ยู่ภายในห้อง
ทําได้ดขี น้ึ เมือ่ พิจารณาถึงความชืน้ สัมพัทธ์ จะเห็นได้ 4.2 ด้านสัมประสิ ทธิ์ สมรรถนะ
ว่าระบบที่มกี ารติดตัง้ HRU จะสามารถทําให้ค่า 20
Without HRU
ความชืน้ สัมพัทธ์ลดลงได้อย่างรวดเร็ว และเข้าสูช่ ่วงที่ HRU 33%
HRU 66%

ต้องการ คือ 35 – 45%RH ภายในช่วงเวลา 20 – 30


HRU 100%
18
Electric current (Amp)

นาที เนื่องจาก มีการดึงความร้อนจากก๊าซร้อนมาช่วย 16

อุ่นอากาศภายในห้อง ผ่านอุ ปกรณ์ HRU ด้วย


คุณสมบัตขิ องอากาศร้อนที่เบากว่าอากาศเย็น ทําให้ 14

อุณหภูมขิ องอากาศที่เป่าผ่านคอยล์เย็นสูงขึ้น ทําให้ 12

เกิด การควบแน่ น ของไอนํ้ า ที่อ ยู่ ภ ายในอากาศได้


10
เพิ่ ม ขึ้ น นั น่ เอง ทํ า ให้ ร ะบบที่ ม ี ก ารติ ด ตั ้ง HRU 0 20 40 60 80 100 120

Time (min)
สามารถควบคุมอุณหภูม ิ และความชื้นสัมพัทธ์ให้อยู่ รูปที่ 18 พิกดั กระแสไฟฟ้าทีค่ อมเพรสเซอร์
ในช่วงทีต่ อ้ งการได้ ซึง่ HRU 100% มีแนวโน้มทีจ่ ะลด
อุณหภูม ิ และความชืน้ สัมพัทธ์ ให้อยูใ่ นช่วงทีต่ อ้ งการ ในระบบปรับอากาศปกติ เมื่อเริม่ ต้นการทํางาน จาก
ได้รวดเร็วกว่า HRU 33 และ 66% โดย HRU 33, 66 รูป ที่ 1 8 จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า พิ ก ั ด ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ที่
และ 100% จะมีค่า อุณหภูมเิ ฉลีย่ , ความชืน้ สัมพัทธ์ ค อ ม เ พ ร ส เ ซ อ ร์ จ ะมี ค่ า สู ง สุ ด ที่ 1 6 . 3 แ อ ม ป์
เฉลีย่ และความชืน้ สัมพัทธ์ต่าํ สุด เป็ น เนื่องมาจาก เมื่อเริม่ ต้นการทํางานอุณหภูมขิ องห้อง
HRU 33% : 25.31oC, 43.90%RH และ 39.30%RH ในสภาวะเริม่ ต้น จะยังคงมีอุณหภูมสิ งู อยู่ ประกอบกับ
HRU 66% : 25.25oC, 42.42%RH และ 39.00%RH คอมเพรสเซอร์เอง มีค่าความเสียดทานภายใน ส่งผล
HRU 100%: 24.68oC, 40.51%RH และ 38.10%RH ทําให้ใช้พกิ ดั กระแสไฟฟ้า ในช่วงของการเริม่ ต้นการ
เมื่อนํ ากระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ในระบบ HRU 33, 66 ทํางานมาก จากนัน้ เมื่ออุณหภูมขิ องห้องลดลง จะทํา
และ 100% มาเขียนลงบนแผนภูมไิ ซโครเมตริก ดังรูป ให้ภาระการทํางานของคอมเพรสเซอร์ลดลงตาม โดย
ที่ 17 จากสภาวะเริ่ ม ต้ น จุ ด ที่ 1 ที่ อุ ณ หภู ม ิ แ ละ ในระบบปรับอากาศปกติ จะมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้าเฉลีย่
ความชื้ น สัม พัท ธ์ เ ริ่ ม ต้ น จนกระทั ง่ ถึ ง จุ ด ที่ 2 ที่ อยู่ ท่ี 15.45 แอมป์ เช่ น เดีย วกัน กับ ในระบบปรับ
อุ ณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธ์เ ฉลี่ย ซึ่งจะเห็น ได้ว่า อากาศ ทีท่ าํ งานร่วมกับ HRU 33, 66 และ 100%
ระบบที่มกี ารติดตัง้ HRU สามารถที่จะควบคุม ซึ่ง จะมีพ ิก ัด กระแสไฟฟ้ า ที่ค อมเพรสเซอร์ใ นตอน
อุณหภูม ิ และความชืน้ สัมพัทธ์ ได้ตามทีต่ อ้ งการ เริ่ม ต้น การทํ า งานสู ง สุ ด อยู่ ท่ี 15.9, 14 และ 13.5
แอมป์ และจะค่อยๆ ลดลง เมื่ออุณหภูมภิ ายในห้อง
1548
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

ลดลง โดยจะมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้าเฉลีย่ อยู่ท่ี 14.86, 35 – 45%RH โดยเปรียบเทียบผลระหว่าง ระบบปรับ


13.41 และ 13.30 แอมป์ ตามลํ า ดั บ โดยเมื่ อ อากาศปกติ และระบบปรับ อากาศที่ทํา งานร่ว มกับ
เปรียบเทียบค่าพิกดั กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึน้ จะเห็นได้ HRU 33, 66 และ 100 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลอง
ว่าในระบบทีม่ กี ารติดตัง้ HRU จะมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้า พบว่า ในระบบปรับอากาศปกติ ทีไ่ ม่มกี ารติดตัง้ HRU
ที่ค อมเพรสเซอร์ ตํ่ า กว่ า ในระบบปรับ อากาศปกติ สามารถควบคุ ม อุ ณ หภูม ิ ให้อ ยู่ใ นช่ว งที่ต้อ งการได้
เนื่องมาจากภาระความร้อนบางส่วน ได้ถูกถ่ายโอน แต่ไม่สามารถควบคุมความชื้นสัมพัทธ์ได้ ในขณะที่
กลับ เข้า สู่ พ้ืน ที่ก ารทํ า ความเย็ น เพื่อ ช่ ว ยในการ เมื่อให้ระบบปรับอากาศทํางานร่วมกับ HRU สามารถ
ควบคุมความชืน้ สัมพัทธ์ ส่งผลทําให้ภาระการทํางาน ควบคุมทัง้ อุณหภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์ให้อยูใ่ นช่วงที่
ที่ค อมเพรสเซอร์ ล ดลง โดยในระบบปรับ อากาศที่ ต้องการได้ แต่จะมีค่า COPR ลดลง โดยสามารถสรุป
ทํางานร่วมกับ HRU 100% จะมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้าที่ ได้ดงั ตารางที่ 1
คอมเพรสเซอร์เฉลีย่ ตํ่าทีส่ ดุ ตารางที่ 1 สรุปผลระบบปรับอากาศปกติ และ HRU
12
 = ควบคุมได้ Without HRU HRU HRU
HRU (33%) (66%) (100%)
COPR and COPR,HRU

10
EER
X = ควบคุมไม่ได้
9.11 8.98 8.82 8.77
COPR, COPR,HRU and EER

6
ก า ร ค ว บ คุ ม
4 อุณหภูม ิ    
2.67 2.63 2.58 2.57
o
2
(22 – 27 C)
ก า ร ค ว บ คุ ม
0
Without HRU HRU 33% HRU 66% HRU 100%

รูปที่ 19 COPR, COPR,HRU และ EER ของระบบปรับ ความชืน้ สัมพัทธ์ X   


อากาศปกติ และระบบ HRU (35 – 45%RH)

จากรูปที่ 19 แสดงค่าสัมประสิทธิสมรรถนะของเครื
์ ่อ ง อุ ณ ห ภู มิ เ ฉ ลี่ ย
25.6 25.31 25.25 24.68
ทําความเย็น (COPR) และ EER โดยระบบปรับอากาศ ของห้อง (oC)
ปกติ มีค่า COPR เท่ากับ 2.67 และ EER เท่ากับ ความชื้น สัม พัท ธ์
70.19 43.90 42.42 40.51
9.11 ในขณะทีร่ ะบบทีม่ กี ารติดตัง้ HRU แม้ว่าจะมี เฉลีย่ (%RH)
พิกดั กระแสไฟฟ้า ทีค่ อมเพรสเซอร์ต่ํากว่าระบบปกติ พิกดั กระแสไฟฟ้า 15.45 14.86 13.41 13.30
แต่ความร้อนบางส่วน ได้ถูกถ่ายโอนกลับเข้าสู่พ้นื ที่ ที่ค อมเพรสเซอร์
การทําความเย็นทําให้ค่า COPR และ EER ลดลง โดย เฉลีย่ (Amp)
ในระบบทีม่ กี ารติดตัง้ HRU 33, 66 และ 100% จะมี COPR, COPR,HRU 2.67 2.63 2.58 2.57
ค่า COPR,HRU เท่ากับ 2.63, 2.58 และ 2.57 โดยมีค่า
EER 9.11 8.98 8.82 8.77
EER เท่ากับ 8.98, 8.82 และ 8.77 ตามลําดับ
5. สรุป 6. เอกสารอ้างอิ ง
งานวิจ ัย นี้ ไ ด้ ศึก ษา การประยุ ก ต์ ใ ช้ ก๊ า ซร้ อ นจาก [1] Xiao Ping Wu; Peter Johnson; and Aliakbar
คอนเดนเซอร์ เพื่อ ควบคุ ม อุ ณ หภู ม ิแ ละความชื้น Akbarzadeh, “Application of heat pipe heat
สัม พัท ธ์ข องระบบปรับ อากาศแบบแยกส่ว น ให้อ ยู่ exchangers to humidity control in air –
ในช่วงอุณหภูม ิ 22 – 27oC และความชืน้ สัมพัทธ์
1549
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 28
TSF-257 15-17 ตุลาคม 2557 จังหวัดขอนแก่น

conditioning systems”, Applied Thermal


Engineering, 17(6), 1997, pp. 561 – 568
[2] Niu, J.L., “Technology options for humidity
control for hotels in South – eastern China
climate”, HKIE Transactions, 8(2), 2001, pp. 20 –
24
[3] Salama M. Abdel-Hady; Soubhi A. Hassanein;
Waleed A. Abdel-Fadeel and Hesham S. Abdel-
Mohsen “Experimental analysis of energy
recovery for humidity control in split A/C system”
Energy and Buildings, Volume 43, Issue 11,
November 2011, Pages 3053-3058
[4] Hongming Fan; Shuangquan Shao and
Changqing Tian “Performance investigation on a
multi-unit heat pump for simultaneous
temperature and humidity control” Applied
Energy, Volume 113, January 2014, Pages 883-
890.
[5] Yunus A. Cengel and Michael A. Boles,
“Thermodynamics An Engineering Approach 6th
ed.”, Singapore: McGraw – Hill, 2007.
[6] W.F. Stoecker and J.W. Jones, “Refrigeration
and Air Conditioning 2nd ed.”, Singapore:
McGraw – Hill, 1983.
[7] C.P. Arora, “Refrigeration and Air Conditioning
2nd ed.”, Singapore: McGraw – Hill, 2001.

1550

You might also like