You are on page 1of 21

1

รายงาน
เรื่อง อุปกรณ์ต่างๆในระบบนิวเมติกส์

จัดทาโดย
นาย ก้องเกียรติ แผนบุตร
ปวช.2 กลุม่ 2 แผนก เมคคาทรอนิกส์

เสนอ
ครูจาเนียร บัวแดง

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชาการควบคุมนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์

คานา
รายงานนีจ้ ดั ทาาขึน้ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการควบคุมอัตโนมัติเบือ้ งต้น
เพื่อไห้ ศึกษาหาความรูเ้ รื่องอุปกรณ์ตา่ งๆในระบบนิวเมติกส์และได้ศกึ ษาอย่างเข้าใจ
เพื่อให้เป็ น ประโยชน์กบั การเรียน

สารบัญ
เรื่อง หน้า
อุปกรณ์ของระบบนิวเมติก 1
เครื่องอัดลม (air compressor) 2-6
เครื่องระบายความร้อนลมอัด (heal exchanger) 7-9
เครื่องทาลมให้แห้ง (air veyer) 10-11
ชุดกรองลม (air filter) 12
อุปกรณ์เก็บเสียง (air silencer) 13
วาล์วเปลี่ยนทิศทางลม (air flow change valve) 14-15
วาล์วบังคับความเร็ว (speed control valve) 16-17
กระบอกสูบ (air cylinder) 18
1

อุปกรณ์ของระบบนิวเมติก
1. เครื่องอัดลม (air compressor)

2. เครื่องระบายความร้อนลมอัด (heal exchanger)

3. เครื่องทาลมให้แห้ง (air veyer)

4. ชุดกรองลม (air filter)

5. อุปกรณ์เก็บเสียง (air silencer)

6. วาล์วเปลี่ยนทิศทางลม (air flow change valve)

7. วาล์วบังคับความเร็ว (speed control valve)

8. กระบอกสูบ (air cylinder)


2

1. ปั๊ มลม (Air Compressor) คืออะไร


ปั๊มลม มีช่อื ภาษาอังกฤษว่า “Air Compressor” ทาหน้าที่ในการอัดลมให้มีแรงดันสูงตามที่ตอ้ งการเพื่อ
นาไปใช้ประโยชน์และประยุกต์ใช้ได้หลายด้าน ไม่ว่าจะเป็ นระบบลมในโรงงานอุตสาหกรรมตัง้ แต่ขนาดเล็ก
จนถึงโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การใช้งานระบบนิวเมติกส์ในอุตสาหกรรมเล็กๆ ยกตัวอย่างเช่นอู่ซ่อม
รถยนต์ ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ ส่วนใหญ่จะใช้เป็ นปั๊มลมประเภทลูกสูบ ที่มีการใช้ปริมาณลมน้อยเเละ
แรงดันลมไม่สงู ปั๊มลมประเภทลูกสูบจึงเหมาะกับอุตสาหกรรมเล็กๆ ส่วนเครื่องปั๊ มลมที่ใช้ในโรงงาน
อุตสาหกรรม ส่วนมากแล้วจะใช้เป็ นปั๊มลมประเภทโรตารีสกรู ที่ให้ปริมาณลมที่มากและยังสามารถทาความ
ดันลมได้สงู ถึง 13 บาร์
ปั๊ มลมแบ่งออกเป็ น 6 ประเภทด้วยกัน ได้แก่
1. ปั๊มลมประเภทลูกสูบ (Reciprocating Air Compressor)

2. ปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม (Diaphragm Air Compressor)

3. ปั๊มลมประเภทสกรู (Screw Air Compressor)

4. ปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน (Sliding Vane Rotary Air Compressor)

5. ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน (Roots Air Compressor)

6. ปั๊มลมประเภทกังหัน (Redial and axial flow Air Compressor)


3

ปั๊ มลมประเภทลูกสูบ (Piston Air Compressor)

หลักการทางานปั๊มลมลูกสูบ ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเป็ นต้นกาลังมาขับเคลื่อนลูกสูบให้เคลื่อนที่ขนึ ้ ลง ทาให้เกิดแรง


ดูดเเละอัดอากาศภายในกระบอกสูบ โดยมีวาล์วทางด้านดูดและวาล์วทางออกทางานสัมพันธ์กนั ถือเป็ นปั๊ม
ลมที่นิยมใช้งานมากที่สดุ ด้วยความเหมาะสมต่อการใช้งานและราคาที่ไม่สงู มากนักและยังสามารถเคลื่อนย้าย
ได้สะดวกอีกด้วย โดยปั๊มลมชนิดนีส้ ามารถสร้างความดันหรือแรงดันลมได้ตงั้ แต่ 1 bar ไปจนถึง 1,000 bar
เลยทีเดียว โดยแรงอัดจะขึน้ อยู่กบั จานวนขัน้ ของการอัด ยิ่งขัน้ ในการอัดมากก็จะสามารถสร้างแรงอัดได้สงู ขึน้
ตามไปด้วยนั่นเอง สาหรับปั๊ มลมหรือเครื่องอัดลมแบบลูกสูบ ยังแบ่งออกเป็ นประเภทย่อยๆได้อีกอย่างเช่น
Booster Air Compressor, High Pressure Air Compressor ปั๊มลมแรงดันสูงแต่ให้
เสียงที่เงียบ เพราะโดยปกติแล้วปั๊มลมประเภทลูกสูบนัน้ จะมีขอ้ เสียอย่างหนึ่งคือเสียงดังขณะเครื่องทางาน

ปั๊ มลมประเภทไดอะเฟรม (Diaphragm Air Compressor)

ปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม เป็ นปั๊มลมที่ใช้หลักการทางานคล้ายระบบลูกสูบเเต่จะมีแผ่นไดอะแฟรมเป็ นตัวกัน้


ไม่ให้อากาศสัมผัสกับลูกสูบ ทาให้ลมที่ถกู ดูดเข้าไปในปั๊มหรือเครื่องอัดลมจะไม่โดนหรือสัมผัสกับส่วนที่เป็ น
โลหะ ส่วนลมที่ได้ก็จะไม่มีการผสมกับน้ามันหล่อลื่นสามารถสร้างแรงดันได้สงู คล้ายปั้ มลูกสูบขึน้ อยู่กบั การ
ออกเเบบขัน้ ในการอัด ปั๊มลมชนิดนี ้ ก็มีขอ้ ดีอยู่เหมือนกันคือลมที่ได้ออกมาจะเป็ นลมที่สะอาดไม่มีอะไร
4

ปนเปื ้อน จึงมีการนิยมนามาใช้ในอุตสาหกรรมเฉพาะด้าน เช่น อุตสาหกรรมยาอุตสารกรรมอาหาร ใช้ปั้มเพื่อ


ส่งสารเคมีต่างๆ เป็ นต้น ข้อดีอีกอย่างคือมีเสียงที่เงียบกว่าปั๊มลมแบบลูกสูบ เหมาะกับอุตสาหกรรมที่ตอ้ งการ
ความเงียบและเสียงรบกวนน้อย

ปั๊ มลมประเภทสกรู (Screw Air Compressor)

ปั๊มลมประเภทสกรู เป็ นที่นิยมในโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไป เพราะเครื่องปั๊มลม หรือ Air Compressor


ประเภทนีจ้ ะให้การผลิตลมที่มีคณุ ภาพสูง โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเป็ นต้นกาลังในการหมุนเพลาสกรู 2 ตัวให้หมุน
เข้าหากันทาให้เกิดแรงอัดอากาศขึน้ มา เครื่องอัดลมแบบสกรูจะได้ปริมาณลมที่สม่าเสมอกว่าแบบลูกสูบเเละ
ทัง้ นีป้ ริมาณลมเเละเเรงดันลมขึน้ อยู่กบั กาลังของมอเตอร์เเละการออกเเบบชุดสกรู ยิ่งกาลังสูงตัวเครื่ องอัด
อากาศก็จะสามารถผลิตปริมาณอากาศได้มากเเละมีขนาดที่ใหญ่ตามด้วย เครื่องปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศ
ประเภทนีจ้ ะสามารถจ่ายลม 170 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที (m3/min) และยังสามารถทาความดันได้สงู ถึง 13
บาร์เลยทีเดียว

ปั๊ มลมประเภทใบพัดเลื่อน (Sliding Vane Rotary Air Compressor)

ปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน จุดเด่นของปั๊มลมประเภทนีค้ ือการที่เครื่องหมุนเรียบให้ความสม่าเสมอ ทาให้


อากาศที่ออกมามีแรงดันที่คงที่ เหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ตอ้ งการแรงลมที่สม่าเสมอและคงที่ เครื่องปั๊ม
5

ลมประเภทนีจ้ ะไม่มีลนิ ้ หรือวาล์วในการเปิ ดปิ ดในพืน้ ที่จากัดทาให้ไวต่อความร้อน สามารถกระจายแรงลมได้ 4


– 100 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ความดันของลมอยู่ท่ี 4 – 10 บาร์

ปั๊ มลมประเภทใบพัดหมุน (Roots Air Compressor)

ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน ลักษณะของปั๊มลมประเภทนีจ้ ะมีใบพัดหมุน 2 ตัว เมื่อโรเตอร์ 2 ตัวทาการหมุน จะ


ทาให้ลมถูกดูดเข้าไปจากฝั่งหนึ่งไปอีกฝั่งหนึ่ง โดยอากาศที่ถกู ดูดเข้าไปนัน้ จะไม่มีการเปลี่ยนปริมาตร ทาให้
อากาศที่ไม่ถกู บีบหรืออัดตัว แต่อากาศจะมีการอัดตัวตอนที่เข้าไปเก็บในถังลม ปั้มลมประเภทนีต้ อ้ งอาศัยการ
ระบายความร้อนและอุณหภูมิท่ีดี ไม่มีลนิ ้ ไม่ตอ้ งการหล่อลื่นขณะทางาน และมีตน้ ทุนการผลิตที่สงู ลักษณะ
การทางานของปั๊มลมแบบใบพัดหมุน จะใช้ใบพัดหมุน 2 ตัวทาการหมุน ทาให้มีการดูดอากาศจากทางช่องลม
เข้าผ่านเข้าใบพัดที่ 1 แล้วส่งต่อไปพัดที่ 2 แล้วผ่านไปฝั่งลมออก โดยไม่ทาให้อากาศถูกบีบตัวหรืออัดตัว

ปั๊ มลมประเภทกังหัน (Redial and axial flow Air Compressor)


6

ปั๊มลมประเภทกังหัน เป็ นปั๊มลมอีกประเภทหนึ่งที่มีการจ่ายอัตราลมที่มาก เนื่องจากลักษณะจะเป็ นใบพัด


กังหันดูดลมเข้าจากอีกด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง ตามแกนด้วยการหมุนที่มีความเร็วสูง และลักษณะของใบพัดก็
เป็ นส่วนสาคัญเรื่องอัตราการจ่ายลม สามารถกระจ่ายแรงลมได้ตงั้ แต่ 170 – 2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที
(m3/min)

2. เครื่องระบายความร้อนลมอัด (heal exchanger)


ภายหลังจากที่ได้ลมซึ่งผ่านการอัดจากคอมเพรสเซอร์แล้ว ลมอัดจะมีความร้อนหรืออุณหภูมิและความดันที่สงู
ถ้านาเอาลมอัดนีไ้ ปใช้งานโดยตรงจะทาให้อายุการใช้งานของอุปกรณ์นิวเมติกสัน้ ลง เพราะไอนา้ หรือความชืน้
ที่ปะปนมากับลมอัดทาให้เกิดการกัดกร่อนชิน้ ส่วนต่างๆ ภายในวาล์วเพื่อเป็ นการลดอุณหภูมิให้ต่าลงโดยที่ไอ
นา้ จะกลั่นตัวกลายเป็ นหยดนา้ เมื่ออุณหภูมิลดลง

ดังนัน้ เมื่อลมอัดที่ผ่านเครื่องระบายความร้อน แล้วจะมีปริมาณไอนา้ ลดลง จึงมีการใช้เครื่องระบายความร้อน


ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
7

เครื่องระบายความร้อนด้วยอากาศ
การระบายความร้อนแบบนีจ้ ะให้ลมอัดไหลผ่านในท่อ ซึ่งมีครีบเป็ นตัวช่วยระบายความร้อนด้วยแล้วใช้พดั ลม
เป่ าระบายความร้อน อุณหภูมิของลมอัดที่ออกที่ปลายท่ออีกด้านหนึ่งควรมีอณ
ุ หภูมิท่ีสงู กว่าอุณหภูมิ
บรรยากาศบริเวณโดยรอบของการทาความเย็น ประมาณ 15 C

หลักการทางานเครื่องระบายความร้อนด้วยอากาศ
เมื่อลมอัดจากคอมเพรสเซอร์ไหลผ่านในท่อ ซึ่งมีครีบที่ทาจากตัวนาความร้อนที่ดีเป็ นตัวช่วยระบายความร้อน
ของลมอัดภายในท่อ

เมื่อมีพดั ลมเป่ าให้ความร้อนนัน้ กระจายสู่บรรยากาศรอบ ๆ ได้อย่างรวดเร็วจะทาให้อณ


ุ หภูมิของลมอัดลดลง
ไอนา้ ที่ปนอยู่ในอากาศกลั่นตัวกลายเป็ นหยดนา้ ไหลออกมาตามท่อระบายทิง้ ออกไป อุณหภูมิของลมอัดจะลด
ต่าลงเพียงใดขึน้ อยู่กบั

• อุณหภูมิของลมอัดก่อนเข้าเครื่องระบายความร้อน
• อุณหภูมิของบรรยากาศขณะนัน้
• ความดันของลมอัด
• ปริมาณการไหลของลมอัด

ข้อควรระวังในการออกแบบเครื่องระบายความร้อนด้วยอากาศ
8

1.ห้ามมีสิ่งกีดขวางบริเวณช่องทางเข้าและทางออกของเครื่องระบายความร้อน และในการติดตัง้ ตัวระบาย


ความร้อนควรอยู่ห่างจากผนัง หรืออุปกรณ์อ่นื ๆ อย่างน้อย 20 ซม.

2.ควรติดตัง้ เครื่องระบายความร้อนในสถานที่ ๆ ง่ายต่อการตรวจสอบและบารุงรักษา


3.ควรติดตัง้ เครื่องระบายความร้อนในสถานที่ ๆ มีการเกิดการสั่นสะเทือนน้อยที่สดุ

4.ควรติดตัง้ เครื่องระบายความร้อนในสถานที่ ๆ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกเนื่องจากอุณหภูมิ บริเวณโดยรอบ


ของเครื่องระบายความร้อนจะสูงเพิ่มขึน้ เรื่อย ๆ อันเป็ นผลเนื่องมาจากการระบายความร้อนของเครื่องระบาย
ความร้อน

5.เครื่องระบายความร้อนด้วยลมเป่ าไม่เหมาะที่จะนาไปติดตัง้ ใช้งานบริเวณที่มีอณ ุ หภูมิสงู เกินกว่า 50 องศา


เซลเซียส แต่ถา้ อุณหภูมิสงู กว่านี ้ เพื่อความเหมาะสมควรเลือกเครื่องระบายความร้อนด้วยนา้ แทน

6.อุณหภูมิของลมอัดทางด้านขาข้าวของเครื่องระบายความร้อนด้วยลมเป่ าไม่ ควรที่จะสูงเกิน 100 องศา


เซลเซียส แต่ถา้ อุณหภูมิสงู กว่านี ้ เพื่อความเหมาะสมควรเลือกเครื่องระบายความร้อนด้วยนา้ แทน

7.เพื่อเป็ นการป้องกันการอุดตัน ที่ครีบของเครื่องระบายความร้อนด้วยลมเป่ านัน้ ควรหลีกเลี่ยงการนาเครื่อง


ระบายความร้อนด้วยลมเป่ าไปติดตัง้ ใช้งานในสถานที่ ๆ มีผงละอองเหนียว ๆ เช่น ผงแป้งสีท่เี ป็ นอนุภาคไฟฟ้า
สถิต ละอองนา้ มัน เป็ นต้น

ข้อควรระวังในการติดตั้งเครื่องระบายความร้อนด้วยอากาศ
1.ไม่ควรเชื่อมต่อท่อลมอัดทางด้านขาเข้า และท่อลมอั ด ทางขาออกของเครื่องระบายความร้อนด้วยลมเป่ า
สลับกัน และเพื่อให้ม่นั ใจว่าการเดินท่อมีความแน่นสนิท ควรใช้ประแจขันให้แน่นอีกครัง้
2.ควรทาการติดตัง้ ท่อระบายนา้ ทิง้ เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิของลมอัดเย็นตัวลงจะทาให้เกิดนา้ ขึน้ มาทันที

3.ท่อที่นามาใช้ในการทาท่อระบายนา้ ทิง้ ควรมีเส้นผ่านศูนย์กลางท่ออย่างน้อย 10 มม. และควรมีความยาวไม่


เกิน 5 เมตร (เมื่อมีการติดตัง้ อุปกรณ์ระบายนา้ แบบอัตโนมัติ)

ข้อควรระวังในการบารุงรักษาเครื่องระบายความร้อนด้วยอากาศ
9

1.ควรทาการตรวจสอบ และทาความสะอาดอย่างน้อยสัปดาห์ละครัง้ เพื่อป้องกันการเกิดสิ่งกีดขวางบริเวณช่อง


ทางเข้า และทางออกของเครื่องระบายความร้อน

2.ควรมีการระบายนา้ ทิง้ อย่างสม่าเสมอ ทัง้ นีจ้ ะขึน้ อยู่กบั การเลือกชนิดของอุปกรณ์ระบายนา้ ทิง้ ว่าจะเป็ นชนิด
ระบายด้วยมือหรือชนิดที่ระบายนา้ โดยอัตโนมัติ

3. เครื่องทาลมให้แห้ง (air veyer)


Air Dryer เครื่องทาลมแห้ง คือเครื่องที่ใช้ทางานควบคู่ไปกับ Air Compressor(เครื่องปั๊ ม ลม) มี
หน้าที่หลักในการลดปริมาณนา้ และความชืน้ ที่ปนมาในระบบลมอัด เพื่อให้ได้ลมที่สะอาดปราศจากความชืน้
เพื่อนาไปใช้งานต่อได้อย่างสมบูรณ์

หลักการทางานและประโยชน์ของ Air Dryer โดยปกติลมที่ถูกผลิตจากเครื่องปั๊ ม ลมนั้นจะมี นา้ และ


ความชืน้ ปะปนมาด้วย เมื่อต้องการนาลมไปใช้งาน เครื่องจักรทั่วไปจะไม่ตอ้ งการนา้ ละอองนา้ หรือ ความชืน้
ปะปนมากกับลม และ ตัวกรองลม (Air Filter) ทั่วไปแล้วจะไม่สามารถกรองนา้ และความชืน้ ได้เครื่องทา
10

ลมแห้ง จึ ง เป็ นตัวที่จ ะช่ วยนานา้ หรือความชืน้ ให้เกิดการควบแน่น ด้วยน ้ายาทาความเย็ นหรือเม็ ดสารดูด
ความชืน้ แล้วระบายนา้ ออกมา ทาให้ได้ลมที่มีความแห้งและบริสทุ ธิ์

ทาไมจึงต้องมี Refrigerated Air Dryer เครื่องทาลมแห้ง


เพราะลมที่ไ ด้จ าก Air Compressor(เครื่องปั๊ ม ลม) โดยตรงนั้นเป็ นลมที่มี ความชืน้ อิ่ม ตัว 100% ซึ่ง
ความชึน้ ที่มีอยู่ในลม จะเกิดเป็ นหยดนา้ ภายในระบบลมของเรา เมื่ อมีอุณหภูมิลดลงหยดนา้ และลมชืน้ นีจ้ ะ
สร้างความเสียหายให้กบั ระบบลมของเราได้ แถมยังมีโอกาสที่จะสร้างความเสียหายกับสินค้าของเราอีกด้วย

เครื่องทาลมแห้ง Air Dryer มี 2 ประเภท คือ


1.Refrigerated Air Dryer (เครื่องทาลมแห้งแบบใช้นา้ ยาทาความเย็น)

2.Desiccant Air Dryer (เครื่องทาลมแห้งแบบใช้เม็ดสารดูดความชืน้ )


11

การเลือกใช้ Air Dryer (เครื่องทาลมแห้ง) ควรมีคุณสมบัติดังนี้


• High grade component parts (ทาจากชิน้ ส่วนอุปกรณ์เกรดสูง)
• High Quality (มีคณ
ุ ภาพสูง)
• High Temperature Resistance (ทนต่ออุณหภูมิท่สี งู มากๆได้ดี)
• High Efficiency (มีประสิทธิภาพในการทางานสูง)
• Heavy Duty (ทนต่อการทางานหนักได้ดี)

4. ชุดกรองลม (air filter)


ชุดกรองลม (Air filter) ในระบบนิวเมติกส์ เป็ นอุปกรณ์ช่วยกรอง(Filter) ฝุ่น ละอองและความชืน้ (ไอนา้ )
ที่ ป นมากับ อากาศอัด , ช่ ว ยปรับ แต่ ง ก าลัง ดัน (Pressure regulator), และใช้เ ติ ม น ้า มัน หล่ อ ลื่ น
12

(Lubricating) เพื่อช่วยหล่อลื่นชิน้ ส่วนอุปกรณ์ ภายในเครื่องมือให้ท างานโดยไม่ติดขัด ซึ่งมักเกิดขึน้ โดย


มีสาเหตุจากฝุ่นละอองหรือผงสนิมที่ เกิดจากความชืน้ ไอนา้ ที่ปะปนมากับอากาศอัด ช่วยท าให้อายุการใช้งาน
ของอุปกรณ์เครื่องมือ ลมยาวนานขึน้

ตัวกรองลม (Air Filter) (F) มีหน้าที่กรองไอนา้ , ละอองนา้ , ฝุ่น สิ่งสกปรกต่างๆที่ปนมา กับลมอัด ขนาด
ของกรองลมมี 3 ขนาดคือ
1.กรองขนาดไม่เกิน 40 ไมครอน(ใช้กบั งานทั่วๆไป)

2.กรองขนาดไม่เกิน0.3ไมครอน ใช้กบั งานที่ตอ้ งการความสะอาดมาก

3.กรองขนาดไม่เกิน0.01ไมครอน สาหรับใช้งานนิวเมติกส์ในห้องสะอาดมากที่สดุ เช่น ห้อง ผลิตยา ห้องผลิต


Semiconductor โดยการเพิ่ม micro mist separatorซึง้ จะกรองละอองนา้ มันและควันละเอียด
ที่มากับลมอัดไดเกือบบริสทุ ธิ์

5. อุปกรณ์เก็บเสียง (air silencer)


ตัวเก็บเสียง (Silencer) เป็ นอุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับลดเสียงรบกวนของแรงดันที่ปล่อยออกมาจากระบบนิวเม
ติกส์ โดยตัวกรองจะทามาจากพลาสติก ทองเหลือง หรือสเตนเลสสตีล ซึ่งมีลกั ษณะคล้ายทรงกระบอกที่มีช่อง
13

ระบายอากาศบริเวณส่วนหัว และส่วนปลายเป็ นเกลียวไว้ใช้หมุนประกอบเข้ากับอุปกรณ์ฟิตติง้ ลม ข้อต่อลม


และปลั๊กอุดสายลมในรูปทรงต่างๆ โดยมีให้เลือกใช้งานหลายรูปแบบทัง้ ตัวเก็บเสียงแบบยาว ตัวเก็บเสียงแบบ
สัน้ ตัวเก็บเสียงชนิดปรับลมได้ และตัวเก็บเสียงพลาสติก ซึ่งแต่ละแบบจะมีขนาดกะทัดรัด นา้ หนักเบา ทนต่อ
นา้ มันและสารเคมี และมีอายุการใช้งานยาวนาน ดังนัน้ จึงมักจะพบเห็นตัวเก็บเสียงได้จากอุปกรณ์ไฮดรอลิก
และนิวเมติกส์, เครื่องกรองนา้ , ชิน้ ส่วนรถยนต์ เป็ นต้น

วิธีใช้งานตัวเก็บเสียง
ควรเลือกประเภทและขนาดของตัวเก็บเสียงให้เหมาะสมกับงานโดยพิจารณาจากเส้น ผ่านศูนย์กลางของ
เกลียวนอก ควรหมุนเกลียวของตัวเก็บเสียงเข้ากับช่องเสียบของอุปกรณ์ไฮ ดรอลิกหรือนิวเมติกส์ให้แน่นสนิท
เพื่อป้องกันการแทรกซึมของฝุ่นละอองและสิ่งสกปรก หลังจากใช้งานผูใ้ ช้ควรตรวจสภาพความสมบูรณ์ของตัว
เก็บเสียงอย่างสม่าเสมอเมื่อพบเห็น ความเสียหายควรรีบซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่ทนั ที

6. วาล์วเปลี่ยนทิศทางลม (air flow change valve)


14

วาล์ว ลม (Air Valve), วาล์ว ควบคุม ทิ ศ ทางลม (Pneumatic Directional Control


Valve) มีช่ือเรียกหลายชื่อบ้างก็เรียกว่าโซลินอยด์วาล์ว (Pneumatic Solenoid Valve) แต่บาง
คนก็จะเรียกโซลินอยด์วาล์ว โดยให้หมายถึงวาล์วควบคุมทิศทางแบบ 2/2 เท่านัน้ ก็มี

• วาล์วควบคุมทิศทาง แบบ 2/2 หมายถึงตัววาล์วมี 2 รู (Port) / 2 ตาแหน่ง


• วาล์วควบคุมทิศทางแบบ 3/2 คือตัววาล์วมีรูลม 3 รู / 2 ตาแหน่ง
• วาล์วควบคุมทิศทางแบบ 3/3 คือตัววาล์วมีรูลม 3 รู / 3 ตาแหน่ง
• วาล์วควบคุมทิศทางแบบ 4/2 คือตัววาล์วมีรูลม 4 รู / 2 ตาแหน่ง
• วาล์วควบคุมทิศทางแบบ 4/3 คือตัววาล์วมีรูลม 4 รู / 3 ตาแหน่ง
• วาล์วควบคุมทิศทางแบบ 5/2 คือตัววาล์วมีรูลม 5 รู / 2 ตาแหน่ง
• วาล์วควบคุมทิศทางแบบ 5/3 คือตัววาล์วมีรูลม 5 รู / 3 ตาแหน่ง

การเขียนสัญลักษณ์ตงั้ แต่เริ่มต้น ที่ใช้เพื่อให้รูแ้ ละเข้าใจการทางานของวาล์วควบคุมทิศทางอย่างง่ายๆ จึงเริ่ม


สัญญาลักษณ์ของวาล์ว แบบแมคคานิคอลวาล์วชนิด 3/2 เป็ นขัน้ ตอนง่ายๆ ดังนี ้

1.เขียนสัญญาลักษณ์โดยตัววาล์วมี 2 ตาแหน่งและมี 3 รู

2.การอ่านสัญลักษณ์ของวาล์วควบคุมทิศทาง จากข้อ 1 ให้จิตนาการว่า สี่เหลี่ยม 2 ช่อง ตามรูปข้างล่าง คือ


ลิน้ (spool) ของวาล์วที่เลื่อนได้ไปกลับโดยที่ตวั เรือนของวาล์วมีรูปอ้ นลม 3 รู
15

3.การเคลื่อนที่ของงวาล์ว ตาแหน่งปกติลนิ ้ วาล์ว (spool) จะอยู่ท่ชี ่องขวา ตาแหน่ง operate คือกด


Pushbutton เลื่อนลิน้ วาล์วจะถูกกดให้ช่องซ้ายตรงรูลม P,R,A

ดังได้อธิบายและแสดงไว้ในรูปของข้อสาม เรื่องสัญลักษณ์การเลื่อนลิน้ วาล์วว่า ตาแหน่งสาหรับภาวะปกติของ


วาล์วได้จากช่องขวามือ โดยยังไม่แสดงสัญลักษณ์ของตัวที่ทาให้เกิดการเลื่อนของลิน้ วาล์วควบคุมทิศทาง

ปกติปิด (NC) กับปกติเปิ ด (NO)


16

7. วาล์วบังคับความเร็ว (speed control valve)


วาล์วควบคุมความเร็ว (Speed controller) คือ วาล์วที่ทาหน้าที่ในการปรับปริมาณการไหลของลมให้
เข้าสูร่ ะบบโดยการหมุนปรับ knob ที่อยู่ดา้ นบนของวาล์วควบคุมความเร็ว ส่งผลให้เราสามารถควบคุม
ความเร็วของอุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ได้ ตัวอย่างเช่น การกาหนดความเร็วของการเคลื่อนที่ของก้านกระบอก
สูบ กาหนดความเร็วของหัวขับลมได้ (pneumatic actuator) เป็ นต้น

หลังจากที่เพื่อนๆ พอจะทราบหน้าที่ของวาล์วควบคุมความเร็ว กันคร่าวๆ แล้วเรามาดูสว่ นประกอบภายนอก


กัน ว่ามีหน้าตาเป็ นอย่างไร

ส่วนประกอบภายนอกของ วาล์วควบคุมความเร็ว (Speed controller)


1.Knob : ใช้สาหรับปรับอัตราการไหลของลม โดยการหมุนทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกา

2.Body : เป็ นบริเวณที่มีลมไหลผ่านเข้าและออก

3.Fitting Connector : ใช้สาหรับประกอบเข้ากับสายท่อลมเพื่อให้ลมไหลเข้าและออก

4.Thread : ใช้สาหรับประกอบกับอุปกรณ์ท่ตี อ้ งการควบคุมอัตรการไหล เช่น กระบอกสูบลม(Air


cylinder)
5.Indicator (Optional) : บางอุปกรณ์จะมีอินดิเคเตอร์ทาให้การปรับค่าทาได้ง่ายเพียงสังเกตจากตัว
เลขที่ปรากฎบนหน้าปั ดในขณะที่ทาการปรับ
17

หลักการทางานของ วาล์วควบคุมความเร็ว (Speed controller)


ลมไหลจากจุดที่ 1 โดยแยกออกเป็ นสองส่วน ส่วนแรกจะไหลไปทาง check valve จะเห็นว่า ลมไม่
สามารถไหลผ่านไปได้ เพราะลมจะดันลูกบอลไปปิ ดกัน้ ทางเดินลม เพราะฉะนัน้ ลมจะไหลผ่าน throttle
vale ได้เพียงทางเดียว ซึ่งเราสามารถปรับปริมาณการไหลของลมได้ ผ่านทาง throttle vale

ลมเคลื่อนที่จากจุดที่ 2 ผ่าน Throttle valve ไปยังจุดที่ 1 อีกทางด้านหนึ่ง ลมที่ไหลไปทางฝั่ง Check


valve จะดันลูกบอลทาให้ช่องทางการไหลของลมเปิ ดออกลมจึงสามารถไหลผ่านได้ทงั้ หมด โดยไม่เกี่ยวกับ
การปรับ Throttle valve
18

กระบอกสูบ (air cylinder)


กระบอกลม/กระบอกสูบนิวเมติก (Air Cylinder/Pneumatic Cylinder) จะทาหน้าที่เปลี่ยน
พลังงานลมอัดให้เป็ นพลังงานกลลักษณะในการเคลื่อนที่สว่ นมากเป็ นการ เคลื่อนที่แบบเส้นตรง ในสมัยก่อนที่
ลูกสูบลมจะเข้ามามีบทบาทในงานอุตสาหกรรมยังใช้กลไก ทางกลและทางไฟฟ้า มีความยุ่งยากในการควบคุม
และปัญหาของช่วงชักจากัด ดังนัน้ ใน อุตสาหกรรมสมัยใหม่จึงพัฒนาลูกสูบลมมาใช้ในงานจนถึงปัจจุบนั ตัว
กระบอกลมมักจะทา ด้วยท่อชนิดไม่มีตะเข็บ เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ทองเหลือง สแตนเลสขึน้ อยู่กบั ลักษณะ
งานที่ใช้ ภายในท่อ จะต้องเจียรนัยให้เรียบ เพื่อลดการสึกหรอของซีลที่จะเกิดขึน้ และยังลดแรงเสียด ทาน
ภายในกระบอกสูบอีกด้วย ตัวฝาสูบทัง้ สองด้านส่วนใหญ่นิยมการหล่อขึน้ รูป บางแบบ อาจใช้การอัดขึน้ รูป
การยึดตัวกระบอกสูบลมเข้ากับฝาอาจใช้เกลียวขัน เหมาะสาหรับ กระบอกสูบที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางต่ากว่า
25 มิลลิเมตรลงมา ถ้าโตกว่านีน้ ิยมใช้สกรูรอ้ ยขันรัด หัวท้าไว้สาหรับก้านสูบอาจทาด้วยสแตนเลสหรือเหล็กชุบ
ผิวโครเมียม ที่เกลียวปลายก้านสูบ จะทาด้วยกรรมวิธีรีดขึน้ รูป

ประเภทของ กระบอกลม/กระบอกสูบนิวเมติก (Air Cylinder/Pneumatic Cylinder)

• Single acting cylinders (SAC) คือกระบอกลมที่ใช้แรงดันลมท าให้ลกู สูบ เคลื่อนที่ไปทาง


เดียวเท่านัน้ ส่วนช่วงชักกลับจะเกิดจากสปริงที่อยู่ภายกระบอกสูบลม
• Double Acting Cylinders (DAC) คือกระบอกลมที่ใช้แรงดันลมทาให้ลกู สูบเคลื่อนที่ไปใน
ทัง้ สองทาง
• Rotary air cylinders คือกระบอกลมที่ใช้แรงดันลมทาให้จานกระบอกลมหมุนได้
• Rodless air cylinders คือ กระบอกลมสไลด์ ตัวกระบอกลมจะเคลื่อนที่ไปตามแกนของสไลด์

You might also like