You are on page 1of 12

ผ่าแอร์ ระบบอินเวอร์ เตอร์ ไดกิน้

แอร์หรื อเครื่ องปรับอากาศมีบทบาทในชีวิตประจาวันจนกลายเป็ นส่ วนสาคัญที่ขาดไม่ได้แล้ว


เพราะความร้อนของโลกเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ยิง่ ใช้แอร์ลมร้อนที่ออกมาภายนอกก็ยงิ่ ทาให้บริ เวณนั้น
ร้อนกว่าปรกติ เพราะฉะนั้นบริ ษทั ที่ผลิตแอร์ขายจึงต้องพัฒนาเพื่อช่วยกันลดความร้อนของโลก
ลงในขณะที่เปิ ดแอร์ ไม่วา่ จะเกี่ยวกันน้ ายาหรื อสารทาความเย็นของแอร์ หรื อระบบการทางาน
ของแอร์ ซึ่งช่างโหน่งเห็นว่ามีประโยชน์และอยากเปลี่ยนความคิดกับท่านที่คิดว่าแอร์ระบบนี้
เสี ยง่ายและซ่อมยากครับ.
ทาไมต้ องผ่าแอร์ ร่ ุนนี้
แอร์รุ่นอื่นก็มีมากมายทาไมต้องเอารุ่ นนี้หรื อได้เงินจ้างมาให้เขียน เหตุผลครับเดิมมีลูกค้าให้
ติดตั้งแอร์รุ่นนี้กบั ระบบโซล่าเซลซึ่งเราจาเป็ นต้องศึกษาว่าจะใช้งานอย่างไรกับโซล่าเซล หาก
เขาเอารุ่ นอื่นยีห่ อ้ อื่นมาให้กค็ งว่าไปตามนั้นครับ โดยส่ วนตัวก็ไม่ได้เชียร์ใคร เมื่อได้มาแล้วก็
ต้องศึกษาระบบให้เข้าใจ เมื่อทางานร่ วมกับโซล่าเซลแล้วจะทางานได้มีประสิ ทธิ์ภาพยิง่ ขึ้น
ครับ.
ระบบการทางานในแอร์ ระบบอินเวอร์ เตอร์
ระบบอินเวอร์เตอร์คืออะไรครับ ระบบอินเวอร์เตอร์อธิบายแบบช่างบ้านนอกเข้าใจง่ายๆก็คือ
เป็ นระบบจัดการการทางานของแอร์ท้งั ระบบการทางานทั้งหมดมีเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปรไปได้
ตามสถาณะการณ์ต่าง ๆไม่จากัดเหมือนแอร์ธรรมดาครับ กล่าวคือตั้งแต่ระบบภายในห้องจนถึง
นอกห้องการทางานจะสัมพันธ์กนั ทั้งหมด เพราะฉะนั้นการควบคุมหรื อสมองกลมีท้ งั ในห้อง
และนอกห้องครับ ด้วยเหตุน้ ีหากเสี ยหายมาช่างบ้านนอกอย่างเราคงซ่อมไม่ได้จึงไม่แนะนาให้
ติดตั้ง แต่สาหรับช่างบ้านนอกอย่างช่างโหน่งหากอยากรู ้กต็ อ้ งรู ้ให้ได้ครับพังเป็ นพังจนเมียหนี
ไปหลายคนแล้วครับ(555)เพราะรื้ ออย่างเดียวจนบ้านไม่มีที่เก็บรกรุ่ งรังประสาช่าง แต่ใจมันรักก็
ต้องลุยครับ.
ระบบการทางานภายในห้ อง
คอล์ยเย็นเป็ นภาษาชาวบ้านเรี ยกกัน คือส่ วนที่ทาให้ลมเย็นพัดออกมาและนาอากาศร้อนภายใน
ห้องดูดมาผ่านคอล์ยเย็นนาความเย็นออกไปหมุนเวียนกันอยูอ่ ย่างนี้จนกว่าเงื่อนไขที่ต้ งั ไว้คือ
อุณหภูมิของห้องได้ตามต้องการ เช่นที่21องศา ระบบก็จะหยุดการทางานผลิตความเย็น ข้อ
แตกต่างกับระบบเก่าคือเมื่อความเย็นได้ตามต้องการคอมเพรสเซอร์ภายนอกห้องจะหยุดการ
ทางานทั้งหมดและจะเริ่ มใหม่เมื่อภายในห้องสัง่ งานมา เมื่อเริ่ มทางานใหม่คอมเพรสทางานที่
กาลังงานเท่าเดิมแต่อาจทาไม่นานเพราะความเย็นภายในห้องมีบา้ งแล้ว แต่ตอนที่เริ่ มทางานจะ
กินไฟมากทุกครั้งครับ.
ส่ วนการทางานของระบบอินเวอร์เตอร์ตามที่กล่าวข้างต้นระบบจะทางานตามเงื่อนไขต่างๆเช่น
เมื่อเราตั้งไว้ที่21องศาเมื่อความเย็นภายในห้องได้แล้วจะสัง่ งานไปยังภายนอกห้องชุดคอล์ยร้อน
หรื อคอมเพรสเซอร์กจ็ ะชะลอการทางานเพื่อรอรับคาสัง่ ต่อไปซึ่งแตกต่างกับแอร์ระบบเก่าจะ
หยุดการทางานทั้งหมดครับ
ระบบการทางานภายนอกห้ อง
เมื่อภายในห้องสัง่ ให้ชะลอการทางานในระหว่างนี้ภายนอกห้องหรื อส่ วนของคอมเพรสเซอร์จะ
บริ หารงานของตัวเองไประหว่างรอรับคาสัง่
1.ปรับความดันน้ ายาภายในคอมเพรสเซอร์โดยคอมจะทางานแต่รอบไม่สูงอัดฉี ดสารทาความ
เย็นเข้าไปเรื่ อย ๆแต่ไม่มากจึงทาให้มีความเย็นสม่าเสมอ หากความร้อนในห้องเพิ่มขึ้นมาก
คอมเพรสเซอร์กจ็ ะอัดฉี ดสารทาความเย็นมากขึ้นครับ ซึ่งคอมเพรสเซอร์สาหรับนี้จะเป็ น
คอมเพรสเซอร์แบบ 3 เฟส สามารถปรับความเร็ วได้เช่นกันครับ.
......................................................
........................................................
2.ปรับความดันน้ ายาโดยใช้วาวแบบอิเล็กทรอนิกส์หรื อฝรั่งเรี ยกว่า Electronic Expansion Valve
อิเล็กทรอนิกส์ เอ็กแพนชัน่ วาว ซึ่งวาวตัวนี้จะทาหน้าที่จ่ายน้ ายาแอร์อย่างเหมาะสมกับการ
ทางานของคอมเพรสเซอร์และตัวฉีดน้ ายาให้มีสถานะเป็ นไอที่อยูใ่ นคอล์ยเย็น ให้น้ ายา
ไหลเวียนคงที่ไม่มากและไม่นอ้ ยเกินไป การทางานของคอมเพรสเซอร์กไ็ ม่หนักจึงทาให้
ประหยัดไฟครับ.
.....................................................
.....................................................
3.ตรวจความร้อนของแผงระบายความร้อนพัดลมที่เป่ าคอล์ยร้อนตามปรกติระบบเก่าจะหมุนที่
รอบเท่าเดิมกินไฟเท่าเดิม แต่ระบบอินเวอร์เตอร์จะตรวจสอบความร้อนหากร้อนมากก็จะหมุน
เร็ วหากร้อนน้อยก็จะหมุนช้าจึงทาให้กินไฟน้อยครับ ซึ่งพัดลมสาหรับคอล์ยร้อนเป็ นมอเตอร์
แบบแม่เหล็กไม่มีแปลงถ่านหรื อเรี ยกย่อว่าBLDC(Brushless DC mortor)การทางานจะปรับ
ความเร็ วรอบได้ตลอดครับ.
...................................................
...................................................
4.ตรวจสอบความร้อนนอกห้อง ปรกติแอร์ระบบเก่าไม่มีการตรวจสอบความร้อนนอกห้องจะ
ร้อนมากหรื อน้อยกูทางานอย่างเดียว ส่ วนระบบอินเวอร์เตอร์จะมีเงื่อนไขต่างๆเข้ามาสัมพันธ์
กันมากมายจนช่างปวดหัว การตรวจสอบอุณหภูมินอกห้องเพื่อเป็ นข้อเปรี ยบเทียบเพื่อการ
ทางานของพัดลมคอล์ยร้อนทางานถูกต้องอย่างแม่นยาบางครั้งคอล์ยร้อนความร้อนไม่มากพัด
ลมจึงไม่จาเป็ นต้องทางาน คืออากาศข้างนอกอาจะร้อนมึงก็ร้อนไป แต่คอล์ยร้อนกูไม่ร้อนพัด
ลมก็ไม่ทางานหรื อทางานน้อยลง(อย่ามาหลอกกันเสี ยให้ยากเฟ้ ย..) แต่ถา้ ระบบเสี ยมาช่างปวด
หัวแน่ๆ
..................................................

..................................................
5.ตรวจอุณหภูมิความร้อนสถานะของน้ ายาแอร์ ที่ออกจากคอมเพรสเซอร์ก่อนเข้าคอลย์ร้อนเพื่อ
อัดฉี ดจากคอมเพรสเซอร์สถานะแก๊สแรงดันสูงไปยังคอล์ยร้อนระบายความร้อนและให้เปลี่ยน
สถานะแก๊สเป็ นของเหลวแรงดันต่าผ่านตัวฉี ดหรื อเรี ยกว่าแค๊ปทิ้วในคอยเย็นในห้อง พัดลมใน
คอล์ยเย็นก็พดั เอาความเย็นออกไปและหมุนเวียนเอาความร้อนในห้องเข้ามาครับ.
..................................................
..................................................
การทางานของแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ นอกห้ อง(ชุดคอมเพรสเซอร์ )
แอร์ระบบอินเวอร์เตอร์ น้ ีจาเป็ นต้องใช้สมองกลมาควบคุมดังนั้นต้องมีวงจรอิเล็กทรอนิกส์มา
เกี่ยวข้องครับ ช่างแอร์ที่ไม่มีความชานาญไม่ศึกษาเพิ่มเติมในอนาคตก็จะลาบากครับ แต่อย่างไร
ก็ตามแต่ละยีห่ อ้ เขามีตรางโค๊ด (Error Code)ซึ่งเมื่อการทางานของแอร์ขดั ข้องก็จะแสดงผลที่
แผ่นวงจรควบคุมอาจจะแสดงด้วยตัวเลขหรื อการกระพริ บของไฟ ทาให้ช่างพอที่จะรู ้บริ เวณที่
เสี ยได้โดยง่าย หรื อสอบถามบริ ษทั เกี่ยวกับอาการได้ง่ายขึ้นครับ.
...............................................
..............................................
ตามรู ปแผงวงจรก็ไม่ต่างจากวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทวั่ ไป ประกอบด้วยหน่วยประมวลผลกลาง
(CPU)ภาคตรวจสอบ ภาคขับมอเตอร์ ภาคจ่ายไฟ ซึ่งหากเราแบ่งการศึกษาออกเป็ นส่ วนๆแล้ว
จะเข้าในการทางานมากขึ้นครับ และเมื่อเกิดปั ญหามาเรารู ้จุดที่จะต้องตรวจซ่อมครับ ไม่ใช่
เอะอะ อะไรก็เปลี่ยนเปลี่ยนบอร์ด เปลี่ยนอย่างเดียวเบิกเงินลูกค้าไปแทบจะซื้อแอร์ใหม่ได้กม็ ี
ครับ บางรายซ่อมไม่ได้กท็ ิ้งงานไปก็มีครับ.
ส่ วนที่ 1 ตามรู ปเป็ นหัวใจสาคัญในการสัง่ การต่างให้คอมเพรสเซอร์ทางานหรื อพัดลมทางาน
หรื อวาวปิ ดเปิ ดน้ ายา และยังรับข้อมูลทั้งจากในห้องจากตัวเซ็นเซอร์ตรวจสอบต่างๆมา
ประมวลผลไว้ที่นี่ครับ โดยปรกติเสี ยยากถ้าไม่ถูกฟ้ าผ่าและบนแผ่นวงจรยังเคลือบเรซิ นกันค
วามชื้นและละอองน้ าไว้อีกครับ.
ส่ วนที่ 2 ตามรู ปเป็ นไอซีสาหรับขับพัดลมคอล์ยร้อนครับ หากพัดลมไม่หมุนก็ตรวจสอบ
สัญญาณที่นี่ครับ
ส่ วนที่ 3 ตามรู ปเป็ นโมดูลขับคอมเพรสเซอร์ ซึ่งเป็ นมอเตอร์แบบ 3 เฟสครับ สามารถปรับ
ความเร็ วได้คอมเพรสเซอร์ทางานตลอดแต่ไม่กินไฟมากครับเพราะเดินอัดน้ ายาไปเรื่ อยๆ
ส่ วนที่ 4 ตามรู ปเป็ นส่ วนของการแปลงไฟจากไฟฟ้ าในบ้านให้เป็ นไฟกระแสตรงแบบแบตเตอร
รี่ แรงดันที่ได้อยูป่ ระมาณ300-350โวลท์ครับ จากการที่แอร์ทางานด้วยไฟดีซีแรงดันสูงหาก
นามาใช้กบั โซล่าเซลโดยตรงก็จะกินกระแสน้อยลง ซึ่งช่างบ้านนอกต้องทดลองต่อไปครับ.
...................................................

..................................................
ในภาคจ่ายไฟนี้จะมีหม้อแปลงขดเดียวทาหน้าที่เป็ นโช๊คเหนี่ยวนาไฟฟ้ าให้เกิดความยืดหยุน่ การ
กระชากของไฟไฟตกไฟเกินเป็ นการป้ องกันแบบง่ายๆไม่ซบั ซ้อนครับ.
ส่ วนที่ 5 ตามรู ปเป็ นส่ วนป้ องกันจากฟ้ าผ่าและคลื่นรบกวนที่จะเข้ามาจากไฟฟ้ าครับเราต่อไฟ
220โวลท์เข้าที่นี่โดยตรง
ส่ วนที่ 6 ตามรู ปเป็ นส่ วนสื่ อสารกันระหว่างภายในห้องกับภายนอกห้องโดยภายสายไฟฟ้ าที่เดิน
เข้าหากันใช้สายไฟเพียงเส้นเดียวครับ การเชื่อมต่อสายไฟต้องระมัดระวังห้ามผิดเด็ดขาด
......................................................................................

............................................................................................
แผนผังวงจรไฟฟ้ าแสดงการต่อสายไฟไปยังจุดต่างๆ
การทางานของระบบโดยทั่วไป
เมื่อเราจ่ายไฟเข้าเครื่ องพัดลมคอล์ยเย็นจะทางาน ตรวจสอบระบบต่างได้ดว้ ยรี โมทซึ่งรี โมทนี้มี
ความสาคัญมากหากชารุ ดไปการสัง่ งานบางอย่างอาจทาไม่ได้ครับ เมื่อเวลาผ่านไป3-5นาทีพดั
ลมคอล์ยร้อนก็ค่อยหมุนและแรงขึ้น ความเย็นในห้องค่อยๆเย็นขึ้นตามลาดับครับ
สาหรับการกินกระแสไฟแอร์รุ่นนี้เท่าที่ทดลองมามี 2 ขนาดคือ 9800 Btu จะกินเต็มที่ที่ 3 แอมป์
และขนาด 12000ฺ Btu จะกินไฟเต็มที่ ที่ 7 แอมป์ ครับ หลังจากความเย็นในห้องมีมากขึ้นการ
กินไฟก็จะลดลง ในตอนกลางคืนเหลือไม่ถึง 1 แอมป์ ครับ ซึ่งประหยัดไฟมาก

You might also like