You are on page 1of 33

บทที่ 4

ผลการดาเนินงาน

การดาเนินงานตามขั้นตอนการปรับปรุ งระบบทาความเย็นของการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ใน
ห้องแช่เย็นมีผลการดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. ผลการศึกษาระบบทาความเย็นและสภาพการใช้งานของห้องแช่เย็นในปั จจุบนั
2. กาหนดแนวทางในการปรับปรุ งเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของห้องแช่เย็นในระบบทาความเย็น
3. ปรับปรุ งเพื่อเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพของห้องแช่เย็นในระบบทาความเย็น
4.1 การศึกษาระบบทาความเย็นและสภาพการใช้ งานในปั จจุบัน

จากการศึกษาข้อมูลเกี่ ยวกับระบบทาความเย็นแล้ว พบว่าระบบทาความเย็นนั้นมี องค์ประกอบ


ด้วยกันหลาย ๆ อย่างคือ

 อุปกรณ์ทาความเย็น
 ผลิตภัณฑ์ที่ทาการจัดเก็บ
 อุณหภูมิที่ตอ้ งการใช้งาน
 การใช้งานของผูป้ ฏิบตั ิงาน และ
 องค์ประกอบอื่น ๆที่มีผลกระทบกับระบบทาความเย็น

ในการสารวจหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ มีผลเกี่ ยวข้องกับระบบทาความเย็น จะพิจารณาจากรายละเอียด


ดังต่อไปนี้

1. ความสามารถของเครื่ องจักรในระบบทาความเย็น
2. ลักษณะการทางานของเครื่ องทาความเย็น
3. อุณหภูมิที่ตอ้ งการและภาระจากโหลดต่าง ๆ ในห้องเย็นจากการจัดเก็บผลิตภัณฑ์และ
4. กระบวนการดาเนินงานในการจัดเก็บผลิตภัณฑ์

4.1.1 การศึกษาความสามารถของเครื่องทาความเย็น
จากการศึก ษาความสามารถของเครื่ องท าความเย็น ที่ ใ ช้งานกับห้องแช่ เย็นในปั จจุ บนั มี ช นิ ด
จานวน และขนาดของกาลังการทาความเย็นของเครื่ องจักรและเครื่ องทาความเย็น ในห้องเย็นแสดงตาม
ตารางที่ 4.1 และ 4.2 ดังต่อไปนี้
71

ตารางที่ 4.1 ขนาดกาลังของอุปกรณ์ระบบการทาความเย็นของเครื่ องจักรในห้องแช่เย็น

ชนิดของอุปกรณ์ ขนาดกาลัง
1. ชุด Compressor รุ่ น BRITZER VII OPEN TYPE

ยีห่ อ้ ELERTIRM TYP Si 160M – 4

22.5/12.9 Amp , 380/660 Volt

Speed 1460 rpm , 15 Hp

2. ชุด Evaporator ยีห่ อ้ KONCAR

TYP MADEVUSLAVIA

220/380 Volt , 2 Amp

Speed 1360 rpm , 0.75 Hp

3. ชุด Condensing Unit Cooling Tower

TYP INDUCTION MOTOR 400 RT

MOTOR PUMP ยีห่ อ้ CALPEDA

TYP NM 50/12 AE

9.6/5.5 AMP , 380 Volt

Speed 2900 rpm , 5.5 Hp

MOTOR พักลมระบายความร้อน

ยีห่ อ้ CALPEDA

3.7/3.9 Amp , 220/380 Volt

1.5 Hp , 1.1 KW
72

ตารางที่ 4.2 ความสามารถของเครื่ องจักรในการทาความเย็น

ชื่อเครื่ องจักร ขนาด สารทาความเย็น ความสามารถการทา


ความเย็น / ชัว่ โมง

Cold Storage -25 No.1 11 KW , 15 Hp R - 502 200,000 BTU/Hr.

Cold Storage -25 No.1 11 KW , 15 Hp R - 502 200,000 BTU/Hr.

Cold Storage -25 No.1 11 KW , 15 Hp R - 502 200,000 BTU/Hr.

Cold Storage -25 No.1 11 KW , 15 Hp R - 502 200,000 BTU/Hr.

Cold Storage -25 No.1 11 KW , 15 Hp R - 502 200,000 BTU/Hr.

Cold Storage -25 No.1 11 KW , 15 Hp R - 502 200,000 BTU/Hr.

รวม 1,200,000 BTU/Hr.

จากข้อมูลอุปกรณ์และเครื่ องจักรในการทาความเย็นภายในห้องแช่เย็นตามตารางที่ 4.1 และ 4.2


พบว่าความสามารถในการทาความเย็นเท่ากับ 1,200,000 BTU/Hr. ซึ่ งสามารถกาหนดอุณหภูมิควบคุมของ
ห้องแช่เย็นดังกล่าวไว้ที่ ° 81-c ถึง -25 °c ซึ่ งจะเป็ นอุณหภูมิที่เพียงพอแก่การป้ องกันไม่ให้ตวั ผลิตภัณฑ์
เกิดการเสี ยหาย ตลอดจนไปถึงการแช่เย็นในอุณหภูมิขนาดนี้ยงั ช่วยทาให้เก็บผลิตภัณฑ์ต้ งั ต้นได้นานขึ้นวย

สภาพการจัดวางของเครื่ องจักรที่ ใ ช้ง านกับ ห้องเย็นภายในห้องแช่ เย็นขนาด115.2 ตารางเมตร


จานวน 2 ห้อง มี เครื่ องจักรในการทาความเย็นทั้งหมด 6 เครื่ อง ห้องละ 3 เครื่ องจัดวางเครื่ องจักรตาม
ลักษณะการติดตั้งในห้องแช่เย็นตามผังห้องดังรู ปที่ 4.1 ซึ่ งมีประตูเข้าห้อง 1 และ 2 จานวน 2 ประตู ประตู
ระหว่างห้อง 1 ประตู มีช่องโหลดของสองช่อง การออกแบบระบบการทาความเย็นในห้องขนาด 115.2
ตารางเมตรด้วยเครื่ องทาความเย็น 3 เครื่ องรวม 600,000 BTU/Hr. เพื่อให้สามารถทาความเย็นในระดับ
-81 °c ถึง -25 °c น่าเพียงพอภาระโหลดของผลิตภัณฑ์ที่จดั เก็บเต็มห้องแช่เย็น แต่เนื่ องจากภาระที่ทาให้
เกิดการสู ญเสี ยความเย็น ( Heats Loss ) และสภาพการสู ญเสี ยความเย็นเนื่ องจากการปฏิบตั ิงานย่อมเกิดขึ้น
ได้ ประสิ ทธิ ภาพการทาดวามเย็นย่อมลดลงไปด้วย ในการศึกษาการปรับปรุ งระบบทาความเย็นของการ
จัดเก็บผลิตภัณฑ์น้ ี จึงจะพิจารณาส่ วนที่จะทาให้เกิ ดสู ญเสี ยความเย็นจากภาระต่าง ๆ ที่ตอ้ งการความเย็น
และที่สูญเสี ยความเย็นจากการปฏิบตั ิงานด้วย
73

รู ปที่ 4.1 ผังการวางเครื่ องทาความเย็นในห้องแช่เย็น

4.1.2 การศึกษาภาระจากโหลดต่ าง ๆ ในห้ องเย็น

ในการศึกษาอุณหภูมิที่ตอ้ งการและภาระจากโหลดต่าง ๆ ในห้องเย็นจากการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ เป็ น


การศึกษาด้วยการคานวณภาระต่าง ๆ ภายในห้องเย็น โดยจะคานวณภาระทาความเย็นหรื อภาระที่ ทาให้เกิด
การสู ญเสี ยความเย็น ( Heats Loss ) โดยจะต้องคานวณภาระการทาความเย็นดังต่อไปนี้

 ภาระจากผนังและฉนวน ( Wall Gain Load )


 ภาระจากคนหรื อพนักงานที่ตอ้ งปฏิบตั ิงาน ( Humans Load )
 ภาระจากอุปกรณ์ที่สามารถเกิดความร้อนได้ ( Powers Load )
 ภาระจากผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งเข้าไปแช่ในห้องเย็น ( Products Load )
 ภาระจากการเปิ ดประตู ภาระจากสิ นค้า เข้า – ออก ( Air Changes Load )

1. การคานวณภาระจากผนังห้องเย็น ( Wall Gain Load ) โดยผนังมีขนาดความกว้าง 12 เมตร


ความยาว 19.2 เมตร และผนังมีความหนา 200 มิลลิเมตร ผนังทาจากวัสดุโฟมขาว โดยผนัง
มีค่า K = 0.029 , U ผนัง = 8.81.1
74

สู ตรที่ใช้ในการคานวณคือ

เริ่ มต้นจากการหาพื้นที่ของผนังแต่ละทิศ

AN = AS มีพ้นื ที่เท่ากับ 19.2 x 4.3 = 82.56 ตารางเมตร

AW = AE มีพ้นื ที่เท่ากับ 12 x 4.3 = 51.60 ตารางเมตร

A.roof = A.floor มีพ้นื ที่เท่ากับ 19.2 x 12 = 230.4 ตารางเมตร

ค่า ชดเชยการปรั บ ลดการโดนแสงอาทิ ตย์ข องผนังแต่ ล ะทิ ศ ผลคื อห้องเย็นดัง กล่ า วมี การโดน
แสงอาทิตย์ท้ งั หมดหนึ่งทิศทิศ คือ ทิศเหนือ ค่าปรับลดการชดเชย คือ 2

ทาการแทนค่าลงในสู ตร จะได้

Qn = 0.1358 x 82.56 x [ ( 36+2 ) – ( -25 ) ]

= 706.33 W

Qs = 0.1358 x 82.56 x [ 34.5 – ( -25 ) ]

= 667.09 W

Qw = 0.1358 x 51.60 x [ 34.7 – ( -25 ) ]

= 418.33 W

Qe = 0.1358 x 51.60 x [ 30 – ( -25 ) ]

= 385.40 W

Q.roof = 0.1358 x 230.4 x [ 34.5 – ( -25 ) ]

= 1,736.50 W

Q.floor = ไม่มีการคิดในด้านที่เป็ นพื้นในการคานวณตามทฤษฏี


75

รวม Q.wall ทั้งหมดจะได้ = Qn + Qs + Qw + Qe + Q.roof

= 706.33 + 667.09 + 418.33 + 385.40 + 1,736.50

= 3,913.65 W หรื อ 3.91 KW.

2. การคานวณโหลดจากคนหรื อพนักงานผูป้ ฏิบตั ิงานในห้องเย็น ° 5.-c จะได้ค่า Q ของคน


เท่ากับ 0.436 KW/คน โดยมีพนังงานทางานทั้งหมด คน 6

สู ตรที่ใช้ในการคานวณคือ Q คน = ( จานวนคน x Q คน ) x ชั่วโมงทีท่ างาน / 24 ชั่วโมง

แทนค่า จะได้วา่ Q คน = ( 6 x 0.436 ) x 6/24

รวม Q จากคนทั้งหมดได้ = 0.654 KW

3. การคานวนนี้ภายในห้องเย็นมีอุปกรณ์ที่เป็ นแหล่งให้ความร้อนเพียงอย่างเดียวคือหลอดไฟแสง
สว่างภายในห้อง ซึ่ งมีจานวนหลอดไฟทั้งหมด 85. หลอดล่ะ หลอด 9W

สู ตรที่ใช้ในการคานวณคือ Q หลอดไฟ = ( จานวนหลอด x กาลังไฟฟ้า ) x ชั่วโมงทีเ่ ปิ ด / 24 ชั่วโมง

แทนค่า จะได้วา่ Q หลอดไฟ = ( 9 x 125 w ) x 24/24

รวม Q จากคนทั้งหมดได้ = 1125 W หรื อ 1.125 KW

4. การคานวณโหลดจากโปรดักนี้ ใช้ขอ้ มูลจากสถานประกอบการที่จดั ทาโครงการ โดยโปรดัก


ตั้งต้นที่กาหนดให้แช่ ในห้องเย็น -25 °c คือ มะพร้าวขาว ซึ่ งมะพร้ าวขาวก่อนเข้าแช่จะมี
อุณหภูมิ ° 18c โดยจะมีการใส่ ไว้ในบรรจุภณั ฑ์ที่มีลกั ษณะเป็ นกล่อง ซึ่ งในขึ้นตอนการจัดเก็บ
นั้นตัวกล่องเองสามารถวางซ้อนกันได้ แต่มีการกาหนดไว้วา่ ให้มีการวางซ้อนกันได้ไม่เกิน .
โดยค่าจาเพาะที่ใช้ในกา ชั้นเท่านั้นรการคานวณมีค่าดังนี้

กล่อง ขนาด = 0.38 m x 0.57 m ( ไม่คิดความสู งเพราะระบุไว้วา่ วางซ้อนได้ 5 ชั้น )

= 0.2166 ตารางเมตร

พื้นที่ในห้องสามารถวางได้ เท่ากับ ( 12 – 0.2 ) x ( 19.2 – 0.2 ) = 205.2 ตารางเมตร


76

สามารถวางกล่องได้ เท่ากับ 205.2 / 0.2166 = 947.23 กล่อง

หรื อ ประมาณ เท่ากับ = 947 กล่อง

แต่เนื่ องจากที่ระบุไปในตอนแรกว่าสามารถวางซ้อนกันได้ท้ งั หมด 5 ชั้น จึงสรุ ปได้ว่า ภายใน


ห้องแช่เย็นดังกล่าวสามารถจัดเก็บผลิตภัณฑ์ได้ท้ งั สิ้ น 947 x 5 = 4,735 กล่อง

น้ าหนักของกล่องที่ใช้ใส่ วตั ถุดิบมีน้ าหนักต่อกล่องเท่ากับ 1 Kg / กล่อง

ในแต่ละกล่องสามารถรับน้ าหนักของวัตถุดิบได้เท่ากับ 12 Kg / กล่อง

เริ่ มต้นการคานวณจะได้ ค่า ข้อมูลค่าความร้อนทั้งของกล่องและมะพร้าวขาวตามลาดับ คือ กล่อง


จะมีค่าเท่ากับ 2.19 และมะพร้าวขาวมีค่าเท่ากับ 2.05

M.coconut = 12 Kg/Box x 4,735 Box = 56,820 Kg.

M.box = 1 Kg/Box

ข้อมูลค่าความร้อนของมะพร้าวขาว ( Pooltry Fresh Frozen ) หาได้จากตาราง 10-8

Freezing Points , T.( Freezing Point ) = - 0.5 °c

Latent Heat , h.if = 288 KJ/Kg

Specific heat before Freezing , Cp ( Freezing ) = 3.77 KJ/Kg.K

Specific heat After Freezing , Cp ( Freezing ) = 2.05 KJ/Kg.K

ก่อนแช่ Q1 = M.coconut x Cp ( Before Freezing ) x T

= 56,820 Kg x 3.77 KJ/Kg.K x [ 30 – (-0.5) ]

Q1 = 6,533,447.7 KJ
77

หลังแช่ Q2 = M.coconut x Cp ( After Freezing ) x T

= 56,820 Kg x 2.05 KJ/Kg.K x [ (-0.5) – (-25) ]

Q2 = 2,853,784.5 KJ

Q3 = M.coconut x h.if

= 56,820 Kg x 288 KJ/Kg

Q3 = 16,364,160 KJ

กล่อง Q4 = M.Box x Cp.box x T

= 1 Kg x 4,735 กล่อง x 2.19 x [ 30 – (-25) ]

Q4 = 570,330.75 KJ

รวม Q ทั้งหมดของผลิตภัณฑ์ จะได้เท่ากับ

Q.product = 6,533,447.7 KJ + 2,853,784.5 KJ + 16,364,160 KJ + 570,330.75 KJ

= 26,321,722.95 KJ

คิดที่มีการแช่ตลอด 24 ชัว่ โมง

Q.product = 26,321,722.95 x [ 1 / (24 x 3600) ]

= 304.65 KW

5. การคานวณ Air Changes Load คือ การคานวณเพื่อหาการสู ญเสี ยความเย็นจากการที่มีการ


เปิ ดประตูหอ้ งหรื อการเปิ ดประตูเพื่อโหลดสิ นค้าผลิตภัณฑ์ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

เริ่ มต้นด้วยการคานวณหาปริ มาตรภายในของห้องแช่เย็น โดยคานวณจาก

V = ( กว้าง x ยาว x สู ง )
78

= ( 12 x 19.2 x 4.3 )

= 990.72 ลบ.ม

จากอุณหภูมิต่ากว่า 0 และมีการออกแบบที่ -25 °c จะได้ค่า Infiltration Rate = 22.99 L/s

เมื่อ = Q( )

และ Q = √ ( )

Air Changes Load หาค่าถ่ายเทเข้าจากอากาศภายนอก ( คิดจากด้านที่มีประตู )

จากตาราง Psychometric Chart หาค่าความร้อนจากอากาศภายนอกที่ ° และที่


ความชื้น 50 % จะได้ ,o = 88.28

ดังนั้น ( ) ( )

จากตาราง Psychometric Chart หาค่าความร้อนจากอากาศภายนอกที่ ° และที่


ความชื้น 78 % จะได้ ,i = -24.32

ดังนั้น ( ) ( )

จากสู ตร Q = √ ( )
79

แทนค่า = √

ดังนั้น Q = √

Q =

แทนใน = Q( )

ดังนั้น =

รวม Q ทั้งหมด

= คน

=
80

Safety Factors 10 % = 490.499 x 10 % = 49.04 KW

Total Cooling Load = 490.499 + 49.04

= 539.539 KW

Required Equipment Capacity = = 539.539 KW

เนื่องจาก 1 Watt จะมีค่าเท่ากับ 3.412 Btu/Hr

ดังนั้น 539.539 KW = 539.539 x 10³ KW = 539,539 W

สรุ ปได้วา่ ห้อง ณ ขณะนี้ใช้กาลังในการทาความเย็นทั้งสิ้ น = 539,539 W x 3.412

= 1,840,907.068 Btu/Hr.

4.1.3 การศึกษาสภาพการดาเนินงานการใช้ งานห้ องทาความเย็น

การศึกษาสภาพการดาเนินงานการใช้งานห้องทาความเย็นในปัจจุบนั เป็ นการศึกษา

1. สภาพการจัดเก็บผลิตภัณฑ์
2. สภาพการดาเนินงานการนาผลิตภัณฑ์เข้าและออกจากห้องเก็บผลิตภัณฑ์
3. สภาพการใช้งานห้องเก็บผลิตภัณฑ์
4. สภาพอุณหภูมิการใช้งานห้องเย็น

ในปั จจุบ นั เนื่ องจากทางฝ่ ายผลิ ต มี ก ารเพิ่ มยอดการผลิ ตอย่า งต่ อเนื่ อง ท าให้มี การหมุนเวียนใช้
ผลิ ตภัณฑ์วตั ถุ ดิบเพิ่มขึ้นจานวนมาก จึ งเป็ นเหตุให้มีการใช้งานห้องแช่ เย็นมากขึ้ นตามไปด้วย มี การนา
ผลิตภัณฑ์ เข้า – ออก อยูอ่ ย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชัว่ โมง ด้วยเหตุน้ ีเองจึงทาให้มีความบกพร่ องไปคือ
81

1. ขาดระเบียบในการจัดเก็บ
2. ขาดมาตรการในการดูแลผลิตภัณฑ์
3. ขาดระบบการจัดการสถานที่จดั เก็บ
4. ขาดการดูแลสภาพพื้นที่
5. ขาดมาตรฐานในการใช้งานห้องเย็น

รู ป ที่ 4.2 แสดงสภาพการจัดเก็ บ ผลิ ต ภัณ ฑ์ซ่ ึ ง ไม่ มี ค วามเป็ นระเบี ย บยากแก่ ก ารจัด การ ท าให้
เสี ยเวลาในการหาและจัดเก็บผลิตภัณฑ์ให้มีประสิ ทธิ ภาพ

รู ปที่ 4.2 ก. สภาพการใช้งานห้องเย็นในปั จจุบนั


82

รู ปที่ 4.2 ข. สภาพการใช้งานห้องเย็นในปั จจุบนั

ในด้านสภาพการดาเนินงานสาหรับการนาผลิ ตภัณฑ์เข้าและออกจากห้องเก็บผลิ ตภัณฑ์ จะต้อง


เปิ ดปิ ดประตูหอ้ งแช่เย็นเมื่อมีการหมุนเวียนผลิตภัณฑ์เข้าออกเป็ นประจา ปั ญหาที่เกิดขึ้นเกิดจากการละเลย
ของพนักงานในการปิ ดประตูห้องแช่เย็น และเมื่อมีการทางานในระยะเวลาที่นานในแต่ละครั้งโดยไม่ปิด
ประตู จะทาให้เกิดการสู ญเสี ยความเย็นทาให้ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องทาความเย็นลดลงได้

ผลกระทบของการใช้งานห้องแช่เย็นอย่างต่อเนื่ องอยูต่ ลอดเวลาจากขาดการดูแลเครื่ องทาความเย็น


จะส่ งผลกระทบโดยตรงกับเครื่ องจักรต้นกาลังของการทาความเย็นโดยตรงอีกด้วย รู ปที่ 4.3 แสดงสภาพ
ของคอยน์เย็นที่ ไม่ ได้รับ การดู แลท าความสะอาดอย่า งสม่ าเสมอ มี สภาพการเกิ ดน้ าแข็ง เกาะ ทาให้
ประสิ ทธิ ภาพการทาความเย็นลดลง นอกจากนี้จะพบสภาพน้ าแข็งเกาะตามพื้นที่จดั เก็บผลิตภัณฑ์ตามที่พบ
เห็นได้ตามรู ปที่ 4.4
83

รู ปที่ 4.3 สภาพของคอยน์เย็น

รู ปที่ 4.4 ผลกระทบที่เกิดขึ้นบนพื้นที่จดั เก็บผลิตภัณฑ์


84

การศึกษาสภาพอุณหภูมิการใช้งานห้องเย็นในปั จจุบนั พบว่ามีอุณหภูมิของความเย็นในการเก็บ


ผลิตภัณฑ์ท้ งั สองห้องตามรู ปที่ 4.5 เพียง -13 °c ซึ่ งเป็ นอุณหภูมิที่ต่ากว่าเกณฑ์ -81 °c ถึง -25 °c

รู ปที่ 4.5 อุณหภูมิที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั ทั้งสองห้อง

4.2 การกาหนดแนวทางในการปรับปรุงเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพของห้ องแช่ เย็น

จากผลการศึกษาข้อมูลการดาเนินงานในการใช้หอ้ งแช่เย็นข้างต้นพบว่า ห้องแช่เย็นมีการใช้งานอยู่


ตลอดเวลาเพราะเนื่ องจากเป็ นห้องแช่ ผลิตภัณฑ์วตั ถุ ดิบตั้งต้นกระบวนการ จึงทาให้มีการเปิ ดและปิ ดอยู่
ตลอดเวลา จึงอาจเป็ นหนึ่ งสาเหตุที่ทาให้อุณหภูมิของห้องแช่เย็นไม่ถึงค่ามาตรฐานที่ตอ้ งการ ส่ วนต่อมา
คือการใช้งานของห้องแช่ เย็น ซึ่ งพนักงานผูป้ ฏิบตั ิงานมีการวางวัตถุดิบเกิ นจานวนที่กาหนดและมีการวาง
อย่างไม่เป็ นระเบียบ ในส่ วนนี้จะส่ งผลกระทบกับการทาความเย็นภายให้หอ้ งเพราะจะทาให้ลมกลับภายใน
ห้องไม่เสถียร และในส่ วนสุ ดท้ายคือส่ วนของเครื่ องจักรต้นกาลังความเย็น ซึ่ งมีสภาพที่ไม่สมบูรณ์แบบ
พร้อมใช้งาน ทั้งหมดนี้จึงอาจเป็ นสาเหตุที่ทาให้หอ้ งแช่เย็นดังกล่าวไม่สามารถทาอุณหภูมิได้
85

ผลการวิเคราะห์จากการศึกษาสภาพโดยรวมของห้องแช่เย็น พบว่ามีสาเหตุของปั ญหาที่อาจส่ งผล


กระทบทาให้หอ้ งแช่เย็นที่ไม่สามารถทาอุณหภูมิได้ตามข้อกาหนดมีอยูด่ ว้ ยกัน 2 ส่ วน ได้แก่

1. ส่ วนของตัวเครื่ องจักรต้นกาลังที่ใช้ในการทาความเย็น

2. ส่ วนของการใช้งาน

เมื่อพิจารณาสาเหตุ ที่อาจส่ งผลกระทบของปั ญหาในห้องแช่ เย็นในข้างต้นได้แล้ว จึ งได้ทาการ


กาหนดวิธีการปรับปรุ งเพื่อใช้ในการแก้ไขปั ญหา ดังต่อไปนี้

1 . ทาการปรับปรุ งการดูแลเครื่ องจักรโดยการทา Preventive Maintenance

2. ทาการปรับปรุ งการจัดการพื้นที่การจัดเก็บ

4.3 การดาเนินการปรับปรุงเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพของห้ องแช่ เย็น

ในการดาเนิ นการปรับปรุ งเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของห้องแช่ เย็นเป็ นการปรับปรุ งการทางานของ


เครื่ องทาความเย็นและปรับปรุ งการจัดการพื้นที่การจัดเก็บดังต่อไปนี้

1. ปรับปรุ งการดูแลระบบเครื่ องทาความเย็น


2. ปรับปรุ งพื้นที่และการใช้งานห้องแช่เย็นให้ได้มาตรฐาน
3. ออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์ช่วยการจัดการการใช้หอ้ งแช่เย็น

4.3.1 การปรับปรุ งการดูแลระบบเครื่องทาความเย็น

การปรับปรุ งการดูแลระบบเครื่ องทาความเย็น เป็ นการพิจารณาในส่ วนของระบบการทาความเย็น


ซึ่ งจะมีระบบการทางานแบ่งเป็ นสองส่ วนดังนี้

1. การปรับปรุ งส่ วนระบบการระบายความร้อน


2. การปรับปรุ งในส่ วนระบบระบายความเย็น
86

4.3.1.1 ทาการปรับปรุ งในส่ วนระบบระบายความร้ อน

ผลการสารวจในส่ วนของระบบระบายความร้ อนพบว่า มีการใช้งานมาอย่างยาวนานและไม่ได้มี


การทาการ Preventive Maintenance อย่างต่อเนื่ องและครอบคลุมอย่างทัว่ ถึง จึงมีการดาเนิ นการทาการ
ซ่อมบารุ งรักษาเชิงป้ องกันในระบบระบายความร้อนทั้งระบบ คือส่ วนของ condenser และ Cooling Tower

จากสภาพของชุดระบายความร้อนในปั จจุบนั พบว่า มีคราบสกปรกเป็ นอย่างมากโดยเฉพาะด้านใน


ของตัว Condenser และ ด้านในตัว Cooling Tower เอง เมือกที่เห็นนั้นส่ งผลกระทบเป็ นอย่างมากกับการ
ระบายความร้อนของสารทาความเย็น ทาให้ระบายความร้อนออกได้ไม่ดี ในจุดนี้ เองจึงได้ทาการปรับปรุ ง
โดยการทาการบารุ งรักษาเครื่ องจักรเบื้องต้นโดยการล้างทาความสะอาด ปรับปรุ งสภาพของน้ าเพื่อลดเมือก
และตะกรันให้ลดลง ดังแสดงในรู ปที่ 4.6 ถึง 4.9

รู ปที่ 4.6 ก. บารุ งรักษาชุด Condenser


87

รู ปที่ 4.6 ข. บารุ งรักษาชุด Condenser

รู ปที่ 4.6 ค. บารุ งรักษาชุด Condenser


88

รู ปที่ 4.6 ง. บารุ งรักษาชุด Condenser

รู ปที่ 4.6 จ. บารุ งรักษาชุด Condenser


89

รู ปที่ 4.7 สภาพ Fin ของ Cooling Tower

รู ปที่ 4.8 สภาพอ่างน้ า Cooling Tower


90

รู ปที่ 4.9 ก. ทาการล้าง Cooling Tower เพื่อทาความสะอาด

รู ปที่ 4.9 ข. ทาการล้าง Cooling Tower เพื่อทาความสะอาด


91

รู ปที่ 4.9 ค. ทาการล้าง Cooling Tower เพื่อทาความสะอาด

รู ปที่ 4.9 ง. ทาการล้าง Cooling Tower เพื่อทาความสะอาด


92

รู ปที่ 4.9 จ. ทาการล้าง Cooling Tower เพื่อทาความสะอาด

4.3.1.2 ทาการปรับปรุ งในส่ วนระบบระบายความเย็น

จากการสารวจในส่ วนของระบบระบายความเย็นพบว่า มีการใช้งานมาอย่างยาวนานและไม่ได้มี


การทาการบารุ งรักษาอย่างต่อเนื่ องและครอบคลุมอย่างทัว่ ถึง จึงได้ทาการล้างทาความสะอาด Evaporator
เพื่อปรับปรุ งให้มีสภาพพร้อมใช้งานดังแสดงในรู ปที่ 4.10

รู ปที่ 4.10 ก. ทาการล้างทาความสะอาด Evaporator


93

รู ปที่ 4.10 ข. ทาการล้างทาความสะอาด Evaporator

4.3.2 การปรับปรุ งพืน้ ทีแ่ ละการใช้ งานห้ องแช่ เย็นให้ ได้ มาตรฐาน

จากการสารวจสภาพการใช้งานของห้องเย็นในปั จจุบนั พบว่ามีการวางวัตถุดิบอย่างไม่เป็ นระเบียบ


จึงได้มีการจัดวางพื้นที่การวางวัตถุ ดิบใหม่ให้มีความเป็ นระเบียบ รู ปที่ 4.11 แสดงการจัดวางวัตถุ ดิบใหม่
ให้มีความเป็ นระเบียบ

รู ปที่ 4.11 ก. จัดวางวัตถุดิบใหม่ให้มีความเป็ นระเบียบ


94

รู ปที่ 4.11 ข. จัดวางวัตถุดิบใหม่ให้มีความเป็ นระเบียบ

4.3.3 ออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์ ช่วยการจัดการการใช้ ห้องแช่ เย็น

จากการเก็บข้อมูลการใช้งานห้องแช่เย็นพบว่า มีการเปิ ดประตูเพื่อโหลดวัตถุดิบอยูต่ ลอดเวลา และ


ที่สาคัญในการเปิ ดประตูน้ นั พนักงานผูป้ ฏิบตั ิงานมักจะเปิ ดประตูทิ้งไว้ ทาให้เครื่ องจักรต้นกาลังความเย็น
มีการทางานเพิ่มขึ้น เพราะจากการคานวณ Air Change Load ในหัวข้อก่อนหน้านี้แสดงให้เห็นว่า การเปิ ด
ประตูห้องแช่ เย็นทิ้งไว้นานๆนั้น ส่ งผลกระทบทาให้ความเย็นภายในห้องแช่ เย็นลดลงอย่างรวดเร็ วเป็ น
อย่างมาก ด้วยเหตุน้ ี เองจึงได้มีการติดตั้ง Alarm ประตูห้องเย็น เพื่อเป็ น Visual Control ตัวหนึ่งในการ
ควบคุมการทางานของผูป้ ฏิบตั ิงาน โดยมีการคานวณระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏิบตั ิงานในแต่ระ
รอบ แล้วจึงทาการปรับตัวหน่วงเวลาให้มีการสอดคล้องกัน
95

รู ปที่ 4.12 แสดงการประตูห้องแช่เย็น และตาแหน่งที่จะทาการติดตั้ง Alarm

รู ปที่ 4.12 ก. ประตูหอ้ งแช่เย็น และตาแหน่งที่จะทาการติดตั้ง Alarm ( วงกลมสี แดง )

รู ปที่ 4.12 ข. ประตูหอ้ งแช่เย็น และตาแหน่งที่จะทาการติดตั้ง Alarm ( วงกลมสี แดง )


96

จากภาพด้านบน กล่องไฟฟ้ าในตาแหน่ งดังกล่าวในปั จจุบนั ไม่ได้มีการใช้งานแล้ว จึงได้ทาการ


ติดตั้งระบบ Limit Switch พ่วงกับ Alarm ดังแสดงในรู ปที่ 4.13 เพื่อเป็ นตัวส่ งสัญญาณว่ามีการเปิ ดประตู
ห้องแช่เย็นทิ้งไว้นานเกินระยะเวลาการใช้งานห้องเย็นตามที่กาหนด

รู ปที่ 4.12 ค. ประตูห้องแช่เย็น และตาแหน่งที่จะทาการติดตั้ง Alarm ( วงกลมสี แดง )


97

รู ปที่ 4.13 ก. ทาการติดตั้ง Limit Switch

รู ปที่ 4.13 ข. การติดตั้ง Limit Switch


98

รู ปที่ 4.13 ค. ทาการติดตั้ง Limit Switch

4.4 ผลการดาเนินการศึกษาและแก้ไขปรับปรุง

จากการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดหลังจากที่ได้ทาการปรับปรุ งส่ วนต่าง ๆ ที่อาจส่ งผลกระทบกับการ


ทาให้หอ้ งแช่เย็นไม่สามารถทาอุณหภูมิได้ตามที่ตอ้ งการ ได้ผลจากปรับปรุ งสรุ ปออกมาดังต่อไปนี้

1. ในส่ วนระบบระบายความร้อน
2. ในส่ วนระบบระบายความเย็น
3. พื้นที่และการใช้งานห้องแช่เย็นให้ได้มาตรฐาน
4. การประหยัดพลังงานที่ได้รับหลังจากทาการปรับปรุ ง

4.4.1 ผลจากการปรับปรุ งในส่ วนระบบระบายความร้ อน

ภายหลัง จากที่ ไ ด้ท าการปรั บ ปรุ ง ระบบระบายความร้ อนของเครื่ องจัก รในส่ วนของ Cooling
Tower และ Condenser ได้ผลสรุ ปแสดงการเปรี ยบเทียบแรงดันออกมาตามรู ปที่ 4.14 ดังนี้
99

ก่อนปรับปรุ ง หลังปรับปรุ ง

รู ปที่ 4.14 การเปรี ยบเทียบแรงดันด้าน Hi Pressure

หลังจากที่ได้ทาการล้าง Cooling Tower และล้างทาความสะอาด Condenser แล้ว ผลที่ออกมาคือ


แรงดันด้าน Hi Pressure มีค่าที่ลดลงจาก 195 psi ลงมาเหลือ 175 psi ซึ่ งหมายความว่ามีการระบาย
ความร้อนของสารทาความเย็นที่ดีข้ ึนหลังจากที่อดั สารทาความเย็นผ่าน Compressor ไปแล้ว ในส่ วนนี้ จะมี
ผลต่อเนื่ องไปที่ Expansion Valve ในการลดแรงดันของสารทาความเย็นเพื่อฉี ดเข้าสู่ Evaporator และ
ระบายความเย็นสู่ หอ้ งแช่เย็นต่อไป

4.4.2 ผลจากการปรับปรุ งในส่ วนระบบระบายความเย็น

ภายหลังจากการได้ปรับปรุ งระบบระบายความเย็นของเครื่ องจักรในส่ วนของ Evaporator ได้ผล


สรุ ปการเปรี ยบเทียบผลการล้างทาความสะอาด Evaporator ตามรู ปที่ 4.15 ดังต่อไปนี้
100

ก่อนปรับปรุ ง หลังปรับปรุ ง

รู ปที่ 4.15 การเปรี ยบเทียบผลการล้างทาความสะอาด Evaporator

ภายหลังจากที่ได้ทาการล้างทาความสะอาด Evaporator แล้ว ผลที่ออกมาคือ แรงดันด้าน Low


Pressure มีค่าที่เพิ่มขึ้นมาจาก 8 psi ขึ้นมาเป็ น 9 psi ซึ่ งหมายความว่ามีสารทาความเย็นไหลเวียนใน
ระบบดี ข้ ึ นหลังจากที่ สารท าความเย็นผ่า นการระบายความเย็นที่ Evaporator แล้ว นอกจากนี้ การที่
Evaporator ไม่มีน้ าแข็งเกาะยังส่ งผลดีกบั การระบายความเย็นอีกด้วย

4.4.3 ผลจากการปรับปรุ งพืน้ ทีแ่ ละการใช้ งานห้ องแช่ เย็นให้ ได้ มาตรฐาน

ภายหลังจากการได้ปรับปรุ งพื้นที่การจัดวางผลิ ตภัณฑ์วตั ถุ ดิบในห้องแช่ เย็นและได้รับการติดตั้ง


ระบบการแจ้งเตือนการเปิ ดประตูห้องแช่ เย็นนานเกิ นเวลาที่กาหนดแล้วได้ผลสรุ ปการเปรี ยบเทียบผลจาก
การปรับปรุ งพื้นที่และการใช้งานห้องแช่เย็นให้ได้มาตรฐานตามรู ปที่ 4.16 จากเดิม -13°c เป็ น -18 °c ถึง
-19 °c ดังต่อไปนี้
101

ก่อนปรับปรุ ง หลังปรับปรุ ง

รู ปที่ 4.16 การเปรี ยบเทียบผลจากการปรับปรุ งพื้นที่และการใช้งานห้องแช่เย็นให้ได้มาตรฐาน

ภายหลังจากการได้ปรับปรุ งพื้นที่การจัดวางวัตถุ ดิบในห้องแช่ เย็นและได้ทาการติดตั้งระบบการ


แจ้งเตือนการเปิ ดประตูห้องแช่เย็นนานเกินเวลาที่กาหนด ผลที่ออกมาคือ ห้องแช่ เย็นสามารถทาอุณหภูมิ
ได้ดีข้ ึนมากกว่าเดิม

4.4.4 ผลการประหยัดพลังงานทีไ่ ด้ รับหลังจากทาการปรับปรุ ง

จากตารางที่ 4.3 และ 4.4 จะเห็ น ได้ว่า ในเดื อ นมี น าคม เครื่ อ งจัก รในระบบท าความเย็น ใช้
กาลังไฟฟ้ าทั้ง 9..9 KW และทาการคิดค่าไฟฟ้ าที่ตอ้ งใช้ออกมาได้ถึง 123,706.18 บาท แต่ภายหลังจากทา
การปรับปรุ งแล้วผลการปรับปรุ งในเดือนเมษายนออกมาได้ผลดีข้ ึนกว่าเดิมโดยเครื่ องจักรในระบบทาความ
เย็นใช้กาลังไฟฟ้ าลดลงเหลือแค่ 99.8 KW คิดเป็ นค่าไฟฟ้ า 113,777.24 บาท ซึ่ งประหยัดค่าใช้จ่ายได้ถึง
9,928.24 บาท หรื อคิดเป็ นการประหยัดค่าใช้จ่ายในส่ วนของค่าไฟฟ้ าลงถึง 8.026 %
102

ตารางที่ 4.3 อัตราค่าใช้จ่ายในเรื่ องของค่าพลังงานไฟฟ้ าก่อนดาเนินการปรับปรุ ง [1,4]

ค่ าไฟฟ้ าของเดือน มีนาคม 2558


จานวนการใช้ เรท ค่าไฟแรก ค่าใช้จ่ายจาก เรท ค่าไฟต่อไป ค่าใช้จ่ายจาก เรท ค่าไฟเกิน ค่าใช้จ่ายจาก อัตราค่าไฟฟ้ า รวมค่าพลังงาน
KW ทีใ่ ช้จริง หน่วยค่าไฟ แปรผัน ( FT ) ไฟฟ้ าทีใ่ ช้จริง รวมเงินค่าไฟฟ้ า รวมค่าใช้จ่าย/เดือน
ชือ่ เครื่อง งาน 0-150 หน่วย เรทค่าไฟแรก 151-400 หน่วย เรทค่าไฟต่อไป 400 หน่วยขึ้นไป เรทเกิน 400 หน่วย VAT 7 %
(-0.06 สต./
( เฉลีย่ /เดือน ) ( ชม./เดือน ) ( หน่วย ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) หน่วย) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท )

No.1 7.9 630 4,977 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 18,015.53 - 298.62 19,364.00 19,065.38 1,334.58 20,399.96
No.2 8.1 630 5,103 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 18,511.48 - 306.18 19,859.95 19,553.77 1,368.76 20,922.53
No.3 8.4 630 5,292 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 19,255.40 - 317.52 20,603.87 20,286.35 1,420.04 21,706.40
No.4 7.8 630 4,914 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 17,767.56 - 294.84 19,116.03 18,821.19 1,317.48 20,138.67
No.5 7.5 630 4,725 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 17,023.63 - 283.50 18,372.10 18,088.60 1,266.20 19,354.80
No.6 8.2 630 5,166 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 18,759.45 - 309.96 20,107.92 19,797.96 1,385.86 21,183.82
รวม 47.9 3,780 30,177 16.5768 2,486.52 22.4172 5,604.30 23.6166 109,333.05 - 1,810.62 117,423.87 115,613.25 8,092.93 123,706.18

ตารางที่ 4.4 อัตราค่าใช้จ่ายในเรื่ องของค่าพลังงานไฟฟ้ าหลังดาเนินการปรับปรุ ง [1,4]

ค่ าไฟฟ้ าของเดือน เมษายน 2558


จานวนการใช้ เรท ค่าไฟแรก ค่าใช้จ่ายจาก เรท ค่าไฟต่อไป ค่าใช้จ่ายจาก เรท ค่าไฟเกิน ค่าใช้จ่ายจาก อัตราค่าไฟฟ้ า รวมค่าพลังงาน
KW ทีใ่ ช้จริง หน่วยค่าไฟ แปรผัน ( FT ) ไฟฟ้ าทีใ่ ช้จริง รวมเงินค่าไฟฟ้ า รวมค่าใช้จ่าย/เดือน
ชือ่ เครื่อง งาน 0-150 หน่วย เรทค่าไฟแรก 151-400 หน่วย เรทค่าไฟต่อไป 400 หน่วยขึ้นไป เรทเกิน 400 หน่วย VAT 7 %
(-0.06 สต./
( เฉลีย่ /เดือน ) ( ชม./เดือน ) ( หน่วย ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท ) หน่วย) ( บาท ) ( บาท ) ( บาท )

No.1 7.1 630 4,473 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 16,031.74 - 268.38 17,380.21 17,111.83 1,197.83 18,309.65
No.2 7.8 630 4,914 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 17,767.56 - 294.84 19,116.03 18,821.19 1,317.48 20,138.67
No.3 7.2 630 4,536 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 16,279.71 - 272.16 17,628.18 17,356.02 1,214.92 18,570.94
No.4 7.3 630 4,599 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 16,527.68 - 275.94 17,876.15 17,600.21 1,232.01 18,832.23
No.5 7 630 4,410 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 15,783.76 - 264.60 17,132.23 16,867.63 1,180.73 18,048.37
No.6 7.7 630 4,851 2.7628 414.42 3.7362 934.05 3.9361 17,519.58 - 291.06 18,868.05 18,576.99 1,300.39 19,877.38
รวม 44.1 3,780 27,783 16.5768 2,486.52 22.4172 5,604.30 23.6166 99,910.03 - 1,666.98 108,000.85 106,333.87 7,443.37 113,777.24

You might also like