You are on page 1of 8

รายละเอียดข้ อกําหนดซือ้ เครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํ ารองพร้ อมติดตั้ง จํานวน 1 ระบบ

1. ขอบเขตงานทัว่ ไป
เป็ นระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารอง (Backup generator system) ซึ่ งมีรายละเอียดครอบคุมงานต่างๆดังนี้
1.1. งานก่อสร้างโรงเรื อน เพื่อติดตั้งชุดเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าไว้ภายใน ณ บริ เวณด้านข้างของอาคารอนันทมหิ ดล
โดยเป็ นโรงเรื อนแบบโปร่ ง มีฐานสู งเท่ากับความสู งของระดับพื้นของอาคาร มีหลังคาเป็ นเหล็กแผ่น (Metal
sheets) รู ปทรงสอดคล้องกับอาคารอนันทมหิ ดล โดยมีพ้นื ที่ทาํ งานรอบตูค้ รอบเก็บเสี ยงของชุดเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ า ที่มีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร
1.2. งานติดตั้งชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set) ซึ่ งประกอบด้วยเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Alternator) ขับเคลื่อน
ด้วยเครื่ องยนต์ดีเซล (Diesel engine) ติดตั้งร่ วมกันอยูบ่ นฐานเหล็ก มีวสั ดุลดการสั่นสะเทือนรองรับระหว่าง
แท่นเครื่ องกับฐานเหล็ก มีตูค้ รอบเก็บเสี ยง (Sound-attenuated enclosures) แบบภายนอกอาคาร มีน็อต ยึด
ตัวแท่นเครื่ องกับฐานเหล็กให้แน่น พร้อมมีการยึดฐานเหล็กติดกับฐานของโรงเรื อนอย่างมัน่ คง และมีระบบ
ควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set control system)
1.3. งานเชื่อมต่อระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า กับสวิชท์สลับสายไฟฟ้ าอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) หรื อ
ATS สําหรับควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั อาคารอนันทมหิ ดล จากระบบจ่ายกระแสไฟฟ้ าหลักของ
อาคารอนันทมหิดล หรื อเลือกให้จ่ายอัตโนมัติจากชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าได้

2. ลักษณะเฉพาะทางเทคนิค
ระบบเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าสํ ารอง (Backup generator system)
ประกอบด้วยอุปกรณ์หลักดังนี้ ชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารอง (Generator set), สวิชท์สลับสายไฟฟ้ าอัตโนมัติ
(Automatic Transfer Switch) และระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set control system) โดยรวมมี
ข้อกําหนดดังนี้
ชุ ดเครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Generator set)
- มีกาํ ลังการผลิตไฟฟ้ าที่ Standby Power Rating ได้ไม่นอ้ ยกว่า 550 กิโลโวลท์แอมป์ (kVA) และที่
Prime Power Rating ไม่นอ้ ยกว่า 500 กิโลโวลท์แอมป์ (kVA) ตามมาตรฐาน ISO 3046 , AS 2789,
DIN 6271, BS 5514 หรื อเทียบเท่า
เครื่องยนต์ (Engine)
เครื่ องยนต์เป็ นชนิ ดใช้น้ าํ มันดีเซลเป็ นเชื้อเพลิง แบบสี่ จงั หวะ มีรายละเอียดดังนี้
- มีความจุกระบอกสู บรวมไม่ต่าํ กว่า 28,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร (28 Litres) ระบายความร้อนด้วยนํ้า
ทํางานที่ความเร็ ว (Speed) 1500 รอบต่อนาที มีขนาดกําลังม้าสู งสุ ดไม่นอ้ ยกว่า 980 แรงม้า เพียงพอ
กับการใช้งานตามมาตรฐาน ตามมาตรฐาน BS5514 หรื อ DIN 6271 หรื อ ISO-3046 หรื อ SAE หรื อ
เทียบเท่า
- ระบายความร้อนด้วยนํ้า แบบหม้อนํ้ารังผึ้ง พร้อมพัดลมติดตั้งสําเร็ จรู ปอยูภ่ ายในที่ครอบ สามารถ
ระบายความร้อนได้อย่างพอเพียงที่จะให้ชุดเครื่ องยนต์ทาํ งานได้ ที่อุณหภูมิโดยรอบ 40 ◦C
- ระบบอัดอากาศใช้ระบบ Turbo charged and After cooled
- มีระบบควบคุมความเร็ วให้คงที่ชนิด Electronic หรื อ Digital governing ที่สามารถควบคุมความเร็ ว
ของเครื่ องยนต์ให้คงที่แบบ Isochronous operation และมีความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน + 0.25 % ที่
Steady state
- ระบบไอเสี ยมี Exhaust silencer พร้อม Flexible connection ระบบท่อไอเสี ยและ Exhaust silencer
ภายในห้องเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจะต้องหุ ม้ ด้วยฉนวนทนความร้อน ซึ่ งสามารถทนความร้อนได้ถึง
650 oC หนาไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. แล้วปิ ดทับด้วย Aluminum jacket
- ระบบป้ องกันการสัน่ สะเทือนใช้ Vibration isolator ชนิด Rubber type หรื อ Spring หรื อตาม
มาตรฐานของบริ ษทั ผูผ้ ลิต
- ระบบสตาร์ ทเครื่ องยนต์ ใช้ไฟจากแบตเตอรี่ โดยมีแบตเตอรี่ ขนาดที่เหมาะสมในการใช้งานพร้อมขา
ตั้ง และสายไฟให้มีความยาวขนาดที่เหมาะสม
- มีถงั นํ้ามันประจําเครื่ อง (Day tank) ขนาดไม่นอ้ ยกว่า 700 ลิตร อยูภ่ ายในตูค้ รอบใต้แท่นเครื่ อง
พร้อมระบบสู บนํ้ามันเชื้ อเพลิง แบบใช้ไฟฟ้ าและแบบมือหมุนเพือ่ ใช้เติมนํ้ามันเข้าถัง
- ต้องใช้แบตเตอร์ ร่ี ชนิ ดตะกัว่ -กรด (Lead-Acid) แบบไม่ตอ้ งเติมนํ้ากลัน่

ระบบตรวจสอบสถานะของเครื่องยนต์ (Engine status monitoring)


เป็ นผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่ องหมายการค้าเดียวกัน หรื อภายใต้ผผู ้ ลิตในเครื อเดียวกันกับเครื่ องยนต์ มีการควบคุม
เครื่ องยนต์เป็ นแบบดิจิตอล (Digital status panel) และ/หรื อแบบเข็ม (Analog meter) หรื อดีกว่าตามมาตรฐาน
ผูผ้ ลิตเครื่ องยนต์ ซึ่ งมีความสามารถวัดค่าต่าง ๆ ได้อย่างน้อยดังนี้
- อุณหภูมิน้ าํ หล่อเย็น (Coolant temperature)
- แรงดันนํ้ามันหล่อลื่น (Oil pressure)
- ความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์ (Engine speed)
- เวลารวมที่เครื่ องยนต์ทาํ งาน (Engine run time)
- จํานวนครั้งที่เครื่ องยนต์สตาร์ท (Number of start attempts)
- ค่าแรงดันของแบตเตอรี่ (Starting battery voltage)

ระบบควบคุมเครื่องยนต์
มีระบบอัตโนมัติเพือ่ ควบคุมความปลอดภัยในการทํางาน ของเครื่ องยนต์ และเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า วงจรควบคุม
ต้องมีเสี ยงหรื อแสงไฟเตือนที่แผงควบคุม และดับเครื่ องยนต์ฯ ขณะเกิดข้อบกพร่ องในกรณี ต่าง ๆ ดังนี้
- เครื่ องควบคุมให้เครื่ องยนต์ฯ ดับ ในกรณี แรงดันนํ้ามันเครื่ องยนต์ฯ ตํ่า (Low lube oil
pressure warning / shutdown)
- เครื่ องควบคุมให้เครื่ องยนต์ดบั ในกรณี อุณหภูมิของนํ้าระบายความร้อนสู งเกิน (High engine tempera
warning / Shutdown)
- เครื่ องควบคุมให้เครื่ องยนต์ดบั ในกรณี ความเร็ วรอบสู งเกิน (Over speed shutdown)
- เครื่ องควบคุมให้ตดั การจ่าย Load ของ Alternator ในกรณี จ่าย Load เกินพิกดั (Field overload shutdown)
- เครื่ องควบคุมให้เครื่ องยนต์หยุดการสตาร์ ท เมื่อเกิดอาการ Over crank (Over crank shutdown)
- สัญญาณเตือนเมื่อแรงดันไฟฟ้ าของแบตเตอรี่ ต่าํ หรื อสู งกว่าเกณฑ์ปกติ (Low and high battery voltage
warning)
- สัญญาณเตือนเมื่อแรงดันไฟฟ้ าของแบตเตอรี่ ต่าํ (Weak battery warning)
- สัญญาณแสดงเมื่อเซ็นเซอร์ เสี ย (Sensor failure indication)
- ต้องมีสวิทช์ Emergency stop

ระบบประจุแบตเตอรี่
เป็ นระบบที่จะประจุกระแสไฟฟ้ าให้กบั แบตเตอรี่ ของเครื่ องยนต์ ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้
- สามารถประจุแบตเตอรี่ ได้ท้ งั จากระบบไฟฟ้ าหลัก และระบบไฟฟ้ าจากเครื่ องยนต์ แบตเตอรี่ จะต้องมี
ขนาด 12 V หรื อ 24 V สามารถจัดหาในประเทศเพื่อทดแทนได้ ซึ่ งต้องมีความจุพอที่จะใช้ สตาร์ท
เครื่ องยนต์ได้อย่างน้อย 4 ครั้ง โดยไม่ตอ้ งประจุใหม่ และพร้อมกันนั้นยังสามารถใช้งานได้กบั ระบบ
อัตโนมัติ ระบบควบคุม ระบบเตือน และระบบอื่นๆ ถ้าได้ออกแบบไว้ให้ใช้ไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่
- ระบบประจุแบตเตอรี่ อตั โนมัติใช้วงจร Solid state ประจุไฟด้วยแรงดันคงที่ เป็ นแบบใช้ไฟฟ้ า 220 V. 1
PH. 50 Hz
- มีระบบป้ องกัน ตัดการประจุแบตเตอรี่ ขณะเครื่ องยนต์ทาํ งาน
- ชุดประจุแบตเตอรี่ จะต้องติดตั้งให้เรี ยบร้อยประกอบด้วย มิเตอร์วดั กระแสไฟตรง (DC – Amp meter) มี
สวิทซ์ปิด–เปิ ด มีฟิวส์ป้องกันขนาดที่เหมาะสม มีหลอดไฟแสดงการชาร์ จ และอื่นๆ ตามมาตรฐานของ
บริ ษทั ผูผ้ ลิต
- เดินสายไฟฟ้ าจากระบบประจุไฟแบตเตอรี่ ถึงจุดต่อเข้าแบตเตอรี่ ให้เรี ยบร้อย (ห้ามใช้ข้วั ต่อแบบครี บที่
ขั้วต่อแบตเตอรี่ )

เครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Alternator)
เป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Alternator) แบบกระแสสลับ ไม่มีแปรงถ่าน
- ขนาดให้กาํ ลังไฟฟ้ าที่ Prime Power rating ไม่นอ้ ยกว่า 500 กิโลโวลท์แอมป์ (kVA)
- มีค่าแรงดันไฟฟ้ า (Line to Line Voltage / Line to Neutral) 400/230 Volt, เป็ นแบบ 3 Phase, 4 wire มีค่า
Power factor 0.8
- ทํางานที่ความถี่ 50 ไซเกิล/วินาที (Hz)
- มีค่า AC Waveform Total Harmonic Distortion ในขณะ No load น้อยกว่า 1.5% และ Non distorting
balanced linear load น้อยกว่า 5%
- Exciter เป็ นชนิด Permanent magnet excitation system โดยมีชุดแปลงกระแสไฟฟ้ าสลับให้เป็ น
กระแสไฟฟ้ าตรงไปเลี้ยงขดลวดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
- ฉนวนของ Rotor และ Stator ต้องได้ตามมาตรฐาน NEMA CLASS H. หรื อดีกว่า
- มีพดั ลมในตัวเพื่อช่วยระบายความร้อนของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า และความร้อนจากเครื่ องยนต์
- โครงสร้างต้องแข็งแรงเป็ นชนิด Drip Proof construction ตามมาตรฐาน IP 23 หรื อเทียบเท่า
- ใช้ Adaptor สําหรับต่อกับ Fly wheel ชนิด Flexible drive disc ซึ่งยืดหยุน่ โดยต่อตรงในแนวเดียวกัน และ
ติดตั้งบนฐานเหล็กเดียวกันมีฝาครอบป้ องกันอันตรายใน ขณะเครื่ องทํางาน
- มี Automatic voltage regulator เป็ นแบบ Solid state หรื อ Digital ซึ่ งสามารถควบคุมให้ค่าความ
คลาดเคลื่อนของแรงดันไฟฟ้ า (Voltage regulation) ไม่เกิน +1% จาก
No-load ถึง Full-load สามารถปรับแรงดันไฟฟ้ า (Voltage adjustment) + 5% ของแรงดันไฟฟ้ าปกติ มีค่า
การเบี่ยงเบนความถี่ (Random frequency variation) ไม่เกิน + 5%
ตู้ครอบชุ ดเครื่องกําเนิดไฟฟ้าแบบเก็บเสี ยง
ผูข้ ายจะต้องจัดหาและติดตั้งชุดเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าพร้อมตูค้ รอบเก็บเสี ยง(Sound-attenuated enclosures)แบบ
ภายนอกอาคาร เป็ นชุดสําเร็ จรู ปจากโรงงานผูผ้ ลิตเครื่ องยนต์กาํ เนิ ดไฟฟ้ า ที่สามารถระงับเสี ยงได้ไม่เกิน 80 dBA
ที่ระยะ 1 เมตร และ/หรื อ 70 dBA ที่ระยะ 7 เมตร วัดโดยรอบเฉลี่ย มีบานประตูเพื่อเปิ ดบํารุ งรักษาทั้ง 2 ด้านได้
อย่างสะดวก และจะต้องมีความสามารถในการป้ องกันนํ้า (Water Proof)
ระบบควบคุมชุ ดเครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Generator set control system)
ระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ า พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และมาตรวัดค่าต่างๆ ที่แผงควบคุม
- ระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า เป็ นผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่ องหมายการค้าเดียวกัน โดยมีการควบคุม
ด้วย Microprocessor ที่มีมาตรฐาน
o NFPA110 Levl 1, 2
o ISO8528-4, 7637-2
o UL-508, 2200
o CSA22.2
o EN50081, 2
มีระบบแสดงผลด้วย LCD หรื อ LED ประกอบด้วยมาตรวัดแบบ Digital หรื อ Analog และอุปกรณ์
ประกอบสามารถแสดงค่าได้อย่างน้อยดังต่อไปนี้
o แรงเคลื่อนไฟฟ้ า (AC Voltage 3 Phase)
o กระแสไฟฟ้ า (AC Current 3 Phase)
o กําลังไฟฟ้ า (AC. kVA หรื อ KW)
o ความถี่ (AC Frequency)
- ระบบอัตโนมัติสาํ หรับสตาร์ ท/ดับเครื่ องยนต์ อุปกรณ์และวงจรนี้ใช้สาํ หรับสตาร์ ทเครื่ องยนต์ตอ้ งทําไว้
ให้หมุนเครื่ องยนต์และพักสลับกัน โดยสามารถตั้งจํานวนการสตาร์ทอัตโนมัติได้ไม่นอ้ ยกว่า 3 รอบ และ
ระยะเวลาการ Crank และช่วงพักระหว่างการ Crank (รอบหนึ่งประกอบด้วยการหมุนประมาณ 10 วินาที
พักประมาณ 10 วินาที) ถ้าเครื่ องยนต์สตาร์ทไม่ติดระบบควบคุมจะต้องตัดไม่ให้หมุนครั้งต่อไป พร้อมมี
ไฟแสดงจนกว่าจะมีการ Reset
- ระบบสตาร์ ทเครื่ องยนต์อตั โนมัติ ในส่ วนที่อยูใ่ นแผงควบคุมต้องมีตาํ แหน่งให้เลือกใช้งานอย่างน้อย 3
ตําแหน่งคือ Run/Off/Auto เพื่อการทํางานแต่ละหน้าที่ตามต้องการ
- อุปกรณ์ป้องกันเมื่อ Overload หรื อ Fault เครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าสํารองต้องมีสวิทซ์ตดั ตอนอัตโนมัติทาํ งาน
ด้วยระบบ Mechanic จัดหาให้พร้อมเสร็ จ เพื่อตัดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าออกจากวงจรในกรณี ท่ีเกิด Overload
หรื อ FAULT พร้อมทั้งต้องมีระบบป้ องกัน เมื่อเกิด Over current, Short circuit และ Overload ติดตั้งมา
ด้วย
- อุปกรณ์ควบคุมสําหรับใช้งานเมื่อกระแสไฟฟ้ าจากแหล่งจ่ายหลักดับ ชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า ต้องมี
อุปกรณ์ที่ใช้งานร่ วมกันกับชุ ด Automatic transfer switch ซึ่ งมีรายละเอียดตามที่กล่าวในข้อกําหนดนี้
โดยที่เมื่อใช้งานร่ วมกันแล้วสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้ าจากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารอง เข้าสู่ ระบบไฟฟ้ า
แทนกระแสไฟฟ้ าหลักได้ตามเวลาที่กาํ หนด พร้อมกับทําหน้าที่อื่นๆ ตามที่กาํ หนดได้ครบทุกประการ
- ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันความเสี ยหายให้เหมาะสมสําหรับวงจรควบคุมและเครื่ องวัดต่างๆ เช่น ฟิ วส์
- สัญญาณเตือน และดับเครื่ องโดยอัตโนมัตินอกเหนือจากที่ระบุไว้ในทีอ่ ื่นๆ ชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารอง
ต้องมีสญั ญาณและหรื อตัดวงจรไฟฟ้ า หรื อดับเครื่ องยนต์อย่างน้อยดังนี้
o High AC Voltage (Shutdown)
o Low AC Voltage (Shutdown)
o Under frequency (Shutdown)
o Over current (Warning)
o Over Current (Shutdown)
o Loss of sensing voltage (Shutdown)
o Field overload (Shutdown)

สวิชท์สลับสายไฟฟ้าอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch) หรือ ATS


- เป็ นแบบใช้งานได้ดีกบั Load ทุกประเภท โดยอุปกรณ์ท้ งั ชุดให้ใช้ของผูผ้ ลิตเดียวกันกับเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ า (Alternator) ที่ได้ประกอบสําเร็ จ และผ่านการทดสอบการใช้งานจากโรงงานผูผ้ ลิตแล้ว แต่ละชุด
ประกอบด้วย สวิทซ์กาํ ลังแบบ Mechanical interlock และชุดควบคุมเพือ่ ใช้ในการทํางานแบบอัตโนมัติ
- สามารถทํางานเมื่อกระแสไฟฟ้ าทางด้าน Normal source ขัดข้อง Automatic transfers switch (ATS)
จะต้องสามารถสับเปลี่ยนไปรับกระแสไฟฟ้ าทางด้าน Emergency source ได้โดยอัตโนมัติและสามารถ
สับเปลี่ยนกลับมาทาง Normal source ได้โดยอัตโนมัติ เมื่อกระแสไฟฟ้ าด้านดังกล่าวกลับคืนเป็ นปกติ
ตามเวลาที่กาํ หนด
- เป็ นแบบ Single solenoid operate หรื อ Single Motor operating มีพกิ ดั กระแสต่อเนื่ องไม่ต่าํ กว่า 1000
Amp, 3 Phase, 3 ขั้ว (Poles), 380 Volts, 50 Hz จํานวน 1 ชุด
- สวิชท์สลับสายไฟฟ้ าอัตโนมัติ (ATS) จะต้องทํางานด้วยไฟฟ้ า (Electrically operated) และ ล็อกทางกล
(Mechanically)
- มีหน้าสัมผัสของกระแสต้องเป็ นชนิด Long-Life, High pressure, Silver alloy contacts
- มีระบบควบคุมการทํางานเป็ นแบบ Digital microprocessor control การทํางานแบบ Independent break-
Before-make มีรายละเอียดดังนี้
- มีการตรวจสอบแรงดันไฟฟ้ า (Over และ Under Voltage sensing) โดยจะสั่งให้ Emergency Source
ทํางานหากพบว่ากระแสไฟฟ้ า ทางด้าน Normal Source ตกลงตํ่ากว่า 5-10% จากระดับแรงดันปกติ โดย
สามารถปรับตั้งค่าได้
- มีการตรวจสอบความถี่ไฟฟ้ า (Over และ Under Frequency sensing) โดยตรวจสอบค่าความแตกต่างไม่
น้อยกว่า 10-20% จากระดับความถี่ปกติ
- มีตวั หน่วงเวลา Time Delay – Engine Start ปรับค่าได้ไม่นอ้ ยกว่า 0 - 10 Seconds
- มีตวั หน่วงเวลาเพื่อการถ่ายโอน Load จากด้าน Normal source ไปด้าน Emergency source ปรับค่าได้
ไม่นอ้ ยกว่า 0 – 300 Seconds
- มีตวั หน่วงเวลาเพื่อถ่ายโอน Load จากด้าน Emergency source ไปด้าน Normal source ปรับค่าได้ไม่
น้อยกว่า 0 – 30 Minutes
- มีตวั หน่วงเวลา Time delay for engine cool down ปรับค่าได้ไม่นอ้ ยกว่า 0 –30 Minutes
- มี Weekly Exercise สําหรับเดินเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าได้โดยอัตโนมัติครั้งละ 0 – 30 นาที (ปรับค่าได้)
สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- Total Transfer time ไม่เกิน 100 Seconds
- สวิชท์สลับสายไฟฟ้ าอัตโนมัติ (ATS) จะต้องติดตั้งภายในกล่องหุ ม้ แบบ NEMA, IEC ,UL Type หรื อ
เทียบเท่า สําหรับใช้งานภายในอาคาร
- ผูข้ ายจะต้องปรับปรุ งระบบไฟฟ้ าโดยเดินสายไฟฟ้ าใหม่เป็ นสาย CV ขนาด 240 sqmm. ในท่อร้อยสาย
จากชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่อยูภ่ ายนอกอาคารอนันทมหิ ดล และติดตั้งตูส้ าํ หรับ ATS พร้อมปรับปรุ ง
วงจรไฟฟ้ าเดิมให้ทาํ งานได้กบั ตู ้ ATS และชุดเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าที่ติดตั้งใหม่ให้สามารถใช้งานได้ดี

การเดินสายไฟฟ้ า และสายควบคุม
- ผูข้ ายจะต้องจัดทําแผนผังแสดงตําแหน่งติดตั้งตูค้ วบคุมไฟฟ้ าและผังแสดงตําแหน่งการติดตั้งอุปกรณ์
ภายในตูใ้ ห้คณะกรรมการตรวจรับ เห็นชอบก่อนจึงจะสามารถดําเนิ นการติดตั้งได้
- สายไฟฟ้ า และสายควบคุมต่างๆ ต้องทําเครื่ องหมายให้ชดั เจนที่ปลายสายทั้งสองข้างของสายทุกเส้น
และมีเครื่ องหมายตรงตามวงจรของอุปกรณ์น้ นั ๆ
- สายไฟฟ้ า และสายคอนโทรลที่เดินเชื่อมต่อระหว่างตู้ หรื อเดินสายนอกตูต้ อ้ งเดินในท่อ หรื อราง
สายไฟฟ้ า ต้องมีขนาดตามรายละเอียดในแบบแปลน
- ขนาดสายไฟฟ้ าต้องได้มาตรฐานซึ่ งสามารถรองรับแรงดัน และกระแสได้ไม่นอ้ ยกว่ามาตรฐานของชุด
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่ ติดตั้งไว้
- การติดตั้งระบบไฟฟ้ าให้ได้ตามมาตรฐานงานติดตั้งไฟฟ้ าของการไฟฟ้ านครหลวง หรื อมาตราฐาน
วิศวกรรมสถานประเทศไทย
การดําเนิ นการ
- ผูข้ ายต้องจัดทําแบบฐานและฐานรากสําหรับชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า พร้อมแสดงรายการคํานวณ การรับ
นํ้าหนัก(Load) และลงนามรับรองแบบโดยสามัญวิศวกร มาให้คณะกรรมการฯ พิจารณาก่อนการ
ดําเนินการติดตั้ง
- ผูข้ ายจะต้องจัดทําแผนผังการติดตั้งระบบเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าสํารอง ให้คณะกรรมการฯ ตรวจรับพิจารณา
ก่อนการดําเนินการ
- ผูข้ ายจะต้องติดตั้งชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า, ตูบ้ รรจุสวิชท์สลับสายไฟฟ้ าอัตโนมัติ (ATS) และอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้องให้เรี ยบร้อยและถูกต้องตามแบบที่ได้รับการอนุ มตั ิจากคณะกรรมการฯ
- ผูข้ ายจะต้องจัดหาและติดตั้งตามแบบแปลน และเชื่อมโยงระบบไฟฟ้ าของชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า เข้ากับ
ระบบไฟฟ้ าหลักคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จนสามารถใช้งานได้ดี ถ้ามีงานใดซึ่ งไม่ได้ระบุไว้ใน
ขอบเขตการดําเนินการนี้ แต่จาํ เป็ นต้องทําเพื่อให้ระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารอง สามารถทํางานได้
สมบูรณ์ เป็ นหน้าที่ของผูข้ ายที่จะต้องดําเนินการโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใดๆ ทั้งสิ้ น
- เมื่อทําการติดตั้งเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ผูข้ ายต้องทําการทดสอบการทํางานของเครื่ องยนต์, เครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ า, ระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set control system), ตู ้ ATS และอุปกรณ์ต่างๆ ที่
ทํางานร่ วมกันต้องทํางานได้ถูกต้องสมบูรณ์ ตามรายละเอียดทุกอย่าง และทดสอบการจ่ายโหลดเต็มพิกดั
ต่อเนื่องกันอย่างน้อย 1 ชัว่ โมง
- ทําการทดสอบระบบป้ องกันอันตรายของเครื่ องยนต์ ตามวิธีการของบริ ษทั ผูผ้ ลิต
- ในระหว่างการทดสอบหากอุปกรณ์ต่างๆหากเกิดความเสี ยหายอันเนื่องมาจากการทํางานของระบบเครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าสํารอง และ/หรื อระบบต่างๆ ผูข้ ายจะต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบซ่อมแซม หรื อ จัดหามาใหม่ให้
ใช้งานได้ดงั เดิมโดยเร็ ว
- อุปกรณ์ในการทดลองจ่ายโหลดเต็มที่(Full Load) ผูข้ ายจะต้องจัดหามาเอง

การส่ งมอบงาน
- ผูข้ ายจะต้องส่ งมอบคู่มือเป็ นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 3 ชุด ดังนี้
o คู่มือการใช้งาน (User manual) คู่มือการบํารุ งรักษาเครื่ องยนต์ (Technical service manual) แสดง
การถอดประกอบ และปรับแต่งชิ้นส่ วนเครื่ องยนต์ และรายละเอียดชิ้นส่ วนเครื่ องยนต์ (Part
lists)
o คู่มือการใช้งาน (User manual) คู่มือการบํารุ งรักษาเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Technical service
manual) แสดงการถอดประกอบและปรับแต่งเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า และรายละเอียดชิ้นส่ วนเครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ า (Part lists)
o รายละเอียดต่างๆ และวงจรไฟฟ้ า ของระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set control
system)
o รายละเอียดต่างๆ และวงจรของ ATS และระบบอัตโนมัติที่ทาํ งานร่ วมกัน และวงจรสายส่ ง
กําลังไฟฟ้ าทั้งหมด พร้อมคําอธิ บายการทํางานและบํารุ งรักษา
o แบบการติดตั้งจริ ง (As Built Drawing) ต่างๆ ทั้งหมด
- ผูข้ ายจะต้องแนบสําเนาใบกํากับสิ นค้า (Invoice) เพือ่ เป็ นการแสดงถึงแหล่งกําเนิ ดของชุดเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ าสํารองและอุปกรณ์ต่างๆจากบริ ษทั ผูผ้ ลิต หรื อสาขาของผูผ้ ลิตภายในประเทศรับรองว่า ชุดเครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ า (Generator set), ระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set control system),
Automatic transfer switch (ATS) มอบให้คณะกรรมการฯ โดยระบุ วัน เดือน ปี ที่ผลิตอุปกรณ์ท่ีส่งมอบ
ทั้งหมดมาด้วย
- เอกสารรับรองผลการทดสอบการทํางานของเครื่ องยนต์, เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า, Automatic transfer switch
(ATS) และระบบควบคุมชุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator set control system) จากโรงงานผลิต
- ผลการทดสอบการทํางานของระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารองทั้งระบบ หลังจากที่ได้ดาํ เนินการติดตั้งแล้ว
เสร็ จสมบูรณ์
- จัดให้มีการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ช่างของงานซ่อมบํารุ งให้มีความรู ้และความเข้าใจวงจรการทํางานระบบ
เครื่ องยนต์อตั โนมัติ การใช้งาน การแก้ไขข้อขัดข้อง และการบํารุ งรักษาเครื่ องยนต์ พร้อมแจกเอกสาร
ทางวิชาการ คําบรรยายประกอบการฝึ กอบรม
การรับประกัน
- ผูข้ ายจะต้องรับประกันผลงานไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
- ผูข้ ายจะต้องเข้ามาตรวจสอบและบํารุ งรักษาเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารองและอุปกรณ์ประกอบเป็ นระยะเวลา
อย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง รวม 4 ครั้งต่อปี ตลอดระยะเวลารับประกัน
- กรณี ที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสํารองไม่สามารถใช้งานได้ ผูข้ ายจะต้องเข้ามาดําเนิ นการภายใน 48 ชัว่ โมง
(เวลาทําการ) หลังจากได้รับการแจ้งจากคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล แล้วต้องดําเนินการซ่อมให้
สามารถใช้งานได้ดีดงั เดิมโดยเร็ ว แต่ไม่เกิน 5 วันทําการ ยกเว้นมีเหตุอนั สมควรซึ่ งต้องได้รับการอนุมตั ิ
จากคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล

You might also like