You are on page 1of 25

1

การยื่นขอขึ้นทะเบียนอินเวอร์เตอร์
ที่ใช้ในระบบผลิตไฟฟ้าประเภทเชื่อมต่อกับระบบโครงข่ายไฟฟ้า
ของการไฟฟ้านครหลวง

ชนินทร แซงราชา
ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรมระบบไฟฟ้า
การไฟฟ้านครหลวง
2

1. Grid-connected Inverter

Grid Grid-connected
Inverter

อินเวอร์เตอร์ชนิดที่จะต้องหยุดจ่ายพลังงานเข้าระบบโครงข่ายไฟฟ้า
เมื่อแรงดัน ความถี่ไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้ามีค่าไม่อยู่ในช่วงการทางานปกติตามที่กาหนดไว้
หรือเมื่อเกิดสภาวะการจ่ายไฟฟ้าแบบแยกตัวอิสระ (Islanding)
3

2. รายชื่อ Grid-connected Inverter ที่ผ่านการพิจารณา


4

2. รายชื่อ Grid-connected Inverter ที่ผ่านการพิจารณา

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :
กองวิจัยและพัฒนา ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรมระบบไฟฟ้า การไฟฟ้านครหลวง
หมายเลขโทรศัพท์ 02-348-5000 ต่อ 2817
คุณวุฒิชัย Tel: 02-256-3820 email: wuttichai_s@mea.or.th
คุณชนินทร Tel: 02-256-3842 email: chanintorn.sa@mea.or.th
5

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค
สาหรับอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

1
รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
2
แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
6

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค
สาหรับอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

1
รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
2
แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
7

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.1 คุณสมบัติผู้ยื่นขอขึ้นทะเบียน
 บริษัทผู้ผลิตอินเวอร์เตอร์ที่มีการจดทะเบียนในประเทศไทย
 บริษัทผู้แทนจาหน่ายอินเวอร์เตอร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิต และจะต้องเป็น
บริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทย
* หากมีการเปลี่ยนแปลงบริษัทผู้แทนจาหน่าย บริษัทผู้ผลิตต้องมีหนังสือแจ้งให้
การไฟฟ้านครหลวงทราบภายใน 30 วัน นับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
8

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


เงื่อนไขการขึ้นทะเบียน
 ภายหลังได้รับการขึ้นทะเบียน บริษัทผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่ายอินเวอร์เตอร์ต้องมีหนังสือ
แจ้งการปรับปรุงสถานะของผลิตภัณฑ์ว่ารุ่นใดยังคงผลิตและวางจาหน่ายต่อไปในปีหน้า
ให้การไฟฟ้านครหลวงทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายในวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี
 บริษัทผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่ายอินเวอร์เตอร์ จะต้องจัดการฝึกอบรมการใช้งานและฟังก์ชั่น
การทางานของอินเวอร์เตอร์ที่ยื่นขอขึ้นทะเบียน หากการไฟฟ้านครหลวงแจ้งความประสงค์
 ภายหลังการขึ้นทะเบียนอินเวอร์เตอร์หากผู้ผลิตอินเวอร์เตอร์ประสงค์จะปรับปรุง Firmware
version บริษัทผู้ผลิตต้องมีหนังสือแจ้งการไฟฟ้านครหลวง
9

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค
สาหรับอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

1
รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
2
แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
10

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.2 คุณสมบัติของสถาบันหรือหน่วยงานทดสอบ
“สถาบันหรือหน่วยงานทดสอบที่เป็นกลางและได้รับการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบ
ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 (สาหรับอินเวอร์เตอร์)
หรือได้รับการยอมรับจากการไฟฟ้านครหลวง”
(1) การทดสอบจากสถาบันหรือหน่วยงานที่เป็นกลางภายในประเทศ
ประกาศรายชื่อสถาบันหรือหน่วยทดสอบ
ที่การไฟฟ้านครหลวงยอมรับ ทางเว็ปไซต์ ดังนี้

https://www.mea.or.th/minisite/vspp/about/850
11

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


(1) การทดสอบจากสถาบันหรือหน่วยงานที่เป็นกลางภายในประเทศ
o วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร (SGtech)
o ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC)
o ศูนย์พัฒนามาตรฐานและทดสอบระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (CSSC)
o สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ (EEI)

หน่วยทดสอบ หน่วยทดสอบ หน่วยทดสอบ หน่วยตรวจสอบและ


ตรวจสอบและรับรอง ตรวจสอบและรับรอง ตรวจสอบและรับรอง รับรองผลการทดสอบ
ผลการทดสอบ ผลการทดสอบ ผลการทดสอบ
12

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


(2) การทดสอบจากสถาบันหรือหน่วยงานที่เป็นกลางในต่างประเทศ
“สถาบันหรือหน่วยทดสอบที่เป็นกลางในต่างประเทศ ซึ่งได้รับการรับรองห้องปฏิบัติการ
ทดสอบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 (สาหรับอินเวอร์เตอร์) จากหน่วยงานระดับชาติที่มีหน้าที่
เทียบเคียงกันกับ สานักงานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน และอยู่ใน
ทะเบียนขององค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศว่าด้วยการรับรองห้องปฏิบัติการ
(International Laboratory Accreditation Cooperation, ILAC)”
13

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค
สาหรับอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

1
รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
2
แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
14

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3 ข้อกาหนดทางเทคนิคสาหรับอินเวอร์เตอร์
(1) การควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
(1.1) ฮาร์มอนิก
(1.2) แรงดันกระเพื่อม
(1.3) การจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง
(2) การตอบสนองต่อระบบไฟฟ้า
(2.1) ช่วงแรงดันทางาน
(2.2) ช่วงความถี่ทางาน
(2.3) การป้องกันสภาวะไอส์แลนดิ่ง
(2.4) การเชื่อมต่อหลังไฟฟ้ากลับคืน
“สิ่งแนบ 8 ข้อกาหนดสาหรับอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในระบบผลิตไฟฟ้าประเภทเชื่อมต่อกับระบบโครงข่ายไฟฟ้า
ในระเบียบการไฟฟ้านครหลวงว่าด้วย ข้อกาหนดการเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้า พ.ศ. 2558”
https://www.mea.or.th/minisite/vspp/about/833
15

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


(1) การควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
(1.1) ฮาร์มอนิก
อินเวอร์เตอร์จะต้องไม่สร้างกระแสฮาร์มอนิกจ่ายเข้าสู่ระบบโครงข่ายไฟฟ้าเกินขีดจากัด
ดังต่อไปนี้ (แสดงค่าเป็นร้อยละเทียบกับกระแสพิกัดของอินเวอร์เตอร์)
16

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


(1.2) แรงดันกระเพื่อม
อินเวอร์เตอร์จะต้องไม่ก่อให้เกิดแรงดันกระเพื่อมเกินขีดจากัดที่กาหนดไว้ตาม
มาตรฐาน IEC 61000-3-3 สาหรับอินเวอร์เตอร์ที่มีกระแสพิกัดไม่เกิน 16 A หรือ
มาตรฐาน IEC 61000-3-5 สาหรับอินเวอร์เตอร์ที่มีกระแสพิกัดเกินกว่า 75 A หรือ
มาตรฐาน IEC 61000-3-11 สาหรับอินเวอร์เตอร์ที่มีกระแสพิกัดไม่เกิน 75 A
(1.3) การจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง
อินเวอร์เตอร์ต้องไม่สร้างไฟฟ้ากระแสตรง (DC Injection) จ่ายเข้าสู่ระบบโครงข่ายไฟฟ้า
เกินกว่า 0.5% ของกระแสพิกัดของอินเวอร์เตอร์
17

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


(2) การตอบสนองต่อระบบไฟฟ้า
(2.1) ช่วงแรงดันทางาน

อินเวอร์เตอร์ที่เชื่อมต่อกับ
ระบบโครงข่ายไฟฟ้าแรงดัน 230/400 V

อินเวอร์เตอร์ที่เชื่อมต่อกับ
ระบบโครงข่ายไฟฟ้าแรงดัน 12 kV
18

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


(2.2) ช่วงความถี่ทางาน
อินเวอร์เตอร์จะต้องปลดวงจรออกจากระบบโครงข่ายไฟฟ้าภายในเวลาไม่เกิน 0.1 วินาที
หากความถี่ของระบบโครงข่ายไฟฟ้าไม่อยู่ในช่วง 47 – 52 Hz
(2.3) การป้องกันสภาวะไอส์แลนดิ่ง
ในกรณีเกิดสภาวะไอส์แลนดิ่ง อินเวอร์เตอร์จะต้องตรวจพบและปลดวงจรออกจากระบบ
โครงข่ายไฟฟ้าภายในเวลาไม่เกิน 2 วินาที
(2.4) การเชื่อมต่อหลังไฟฟ้ากลับคืน
ภายหลังจากที่อินเวอร์เตอร์ปลดวงจร เนื่องจากไฟฟ้าดับหรือแรงดัน/ความถี่ไม่อยู่ในช่วงที่
กาหนด และเมื่อระบบโครงข่ายไฟฟ้ากลับเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว อินเวอร์เตอร์จะต้องหน่วงเวลาการเชื่อมต่อ
กลับเข้าสู่ระบบโครงข่ายไฟฟ้าเป็นเวลาอย่างน้อย 2 นาที
19

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


ประเภทของการทดสอบ
(1) การทดสอบการออกแบบ (Design Test)
 การทดสอบสาหรับขึ้นทะเบียน
 ทดสอบกับอินเวอร์เตอร์เพียงตัวเดียวที่เป็นตัวแทนของรุ่น
 ดาเนินการทดสอบในทุกหัวข้อการทดสอบ
(2) การทดสอบประจาเครื่อง (Routine Test)
 ทดสอบกับอินเวอร์เตอร์ทุกเครื่องที่จะนาไปติดตั้งใช้งาน
 หัวข้อที่ต้องทาการทดสอบประจาเครื่อง คือ
- ช่วงแรงดันทางาน
- ช่วงความถี่ทางาน
20

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค
สาหรับอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

1
รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
2
แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
21

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.4 การจัดเตรียมเอกสารสาหรับยื่นขอขึ้นทะเบียน
(1) รายงานผลการทดสอบของอินเวอร์เตอร์
(2) แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในระบบผลิตไฟฟ้า
ประเภทเชื่อมต่อกับระบบโครงข่ายไฟฟ้า
(3) หนังสือนาส่งเอกสารยื่นขอขึ้นทะเบียนอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในระบบผลิตไฟฟ้าประเภท
เชื่อมต่อกับระบบโครงข่ายไฟฟ้า
สามารถดาวน์โหลดเอกสาร
ได้ทางเว็ปไซต์ ดังนี้

https://www.mea.or.th/minisite/vspp/about/850
22

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.4 การจัดเตรียมเอกสารสาหรับยื่นขอขึ้นทะเบียน
(4) Data Sheet ของอินเวอร์เตอร์จากผู้ผลิต
(5) ใบรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ของสถาบันหรือหน่วยงาน
ที่ทาการทดสอบอินเวอร์เตอร์
(6) หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลของบริษัทผู้ผลิตอินเวอร์เตอร์ หรือบริษัทผู้แทน
จาหน่ายอินเวอร์เตอร์
(7) หนังสือยืนยันการแต่งตั้งผู้แทนจาหน่ายจากผู้ผลิตอินเวอร์เตอร์
(เฉพาะกรณีผู้แทนจาหน่ายเป็นผู้ยื่นขอขึ้นทะเบียน)
23

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค
สาหรับอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

1
รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
2
แบบตรวจสอบและรับรองรายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
24

3. การยื่นขอขึ้นทะเบียน Grid-connected Inverter


3.5 การยื่นขอขึ้นทะเบียน
o สถานที่ยื่นเอกสาร : ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรมระบบไฟฟ้า ชั้น 8 อาคารวัฒนวิภาส
การไฟฟ้านครหลวง สานักงานใหญ่ คลองเตย เลขที่ 1192 ถนนพระรามที่ 4
แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
o เวลายื่นเอกสาร : ทุกวันทาการตั้งแต่เวลา 08:00 - 12:00 น. และ 13:00 - 15:00 น.
o สามารถนาส่งเอกสารให้พิจารณาทาง Email ก่อนได้
o ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการจาก กฟน.
o แจ้งผลการพิจารณา/ขึ้นทะเบียน ภายใน 2 สัปดาห์
25

ขอบคุณครับ
1 รายงานผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์
3.3
ข้อกาหนดทางเทคนิค 2 แบบตรวจสอบและรับรองรายงาน
สาหรับอินเวอร์เตอร์ ผลการทดสอบอินเวอร์เตอร์

1 2
3.2 ใน 3.5
3.1 ประเทศ 3.4
สถาบัน/ ยื่นขอขึ้น
ผู้ยื่นขอขึ้น 1 2 จัดเตรียม
หน่วยงาน ต่าง ใน ทะเบียน
ทะเบียน เอกสาร
ทดสอบ ประเทศ ประเทศ ต่อ กฟน.

คุณวุฒิชัย Tel: 02-256-3820 คุณชนินทร Tel: 02-256-3842


email: wuttichai_s@mea.or.th email: chanintorn.sa@mea.or.th

You might also like