You are on page 1of 8

19/05/63 17:23 น.

วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 1


วันอังคำรที่ 19 พฤษภำคม 2563 QR ดาวน์โหลด
เวลำ 18.30 น. เอกสารบรรยาย

WEBINAR by

สัมมนำหัวข้อ
ได้รับการรับรองจากสภาวิศวกรให้มีจานวนหน่วยพัฒนา 2.75 หน่วย
วัดค่ำอิมพีแดนซ์วงรอบผิดพร่องลงดิน ... ทำยังไง?
(How to measure Ground Fault Loop Impedance)
18:30 เฉลยข้อสอบครั้งก่อน วิเชียร บุษยบัณฑูร
18:45 VDO ผู้สนับสนุน
19:55 นำยก ตปอ กล่ำวปิด วุฒิวิศวกรไฟฟ้ำกำลัง
19:00 วิทยำกรเริ่มบรรยำย
ร่วมให้การสนับสนุนค่าธรรมเนียม 083-096-1879 vcb2013
E-Certificate 50 ท่านแรก
vichian.aps@outlook.com

• กรรมการที่ปรึกษา สมาคมผู้ตรวจสอบอาคาร
• ที่ปรึกษา สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย
บริษัท แอซเซ็ท เพอฟอร์แมนซ์ โซลูชั่น จำกัด • คณะอนุกรรมการ มฐ.ติดตั้งทางไฟฟ้าฯ วสท
• ประธานคณะทางาน ปรับปรุง มฐ.ติดตั้งทางไฟฟ้าฯ บทที่ 7
นิติบุคคลรับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานธรรมภิบาลธุรกิจ • อดีตกรรมการจรรยาบรรณ สมัยที่ 5 สภาวิศวกร
ปี 2562 - 2565 • อดีตนายกสมาคมผู้ตรวจสอบอาคาร สมัยที่ 5
เฉลยคาตอบ 19/05/63 17:23 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 2
ความตอนทีแ่ ล้ว 1 ทาไมต้องทาการวัดค่าหลักดิน เป็นประจาทุกปี 7 ข้อใดถูกต้อง ค่าหลักดินที่อ่านค่าได้จากการวัด
ก. วัดค่าหลักดิน เฉพาะตอนติดตัง้ แล้วเสร็จก่อนใช้งาน ไม่ ก. ค่าความต้านทานของแท่งหลักดิน
1.44 ต่ อ ล งดิ น อย่ ำ งมี ป ระสิ ทธิ ผ ล ( Grounded, จาเป็นต้องวัดเป็นประจาทุกปี ข. ค่าความต้านทานของดิน
Effectively) หมายถึง การต่อลงดินโดยตรงอย่าง ข. ให้ผทู้ ดสอบมีงานทาทุกปี ค. ค่าความต้านทานของหน้าสัมผัสระหว่างแท่งหลักดินกับ
ค. เพื่อให้มั่นใจว่า ผูใ้ ช้ไฟฟ้าจะมีปลอดภัยจากแรงดันสัมผัส ดิน
ตั้งใจ หรือโดยผ่านอิมพีแดนซ์ทมี่ ีคา่ ต่าเพียงพอที่จะ จากการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า ง. ทั้งสามค่า ของข้อ ก. ข. และ ค. บวกรวมกัน
ไม่ ท าให้ เ กิ ด แรงดั น ตกคร่ อ มมากจนท าให้ เ กิ ด ง. เพื่อให้แน่ใจว่า มีการปักหลักดินในบริเวณพื้นดินที่มี 12 จากข้อ 11 ถ้าเราคานึงเรื่อง Multiplying Factors (ค่าตาม
อันตรายต่อบริภัณฑ์ที่ต่ออยู่ หรือต่อบุคคล ความชุ่มชื้นตลอดทั้งปี 8 จากภาพ 250-22 ของ Mike Holt กล่าวว่า เมื่อป้อนแรงดัน ตารางในเอกสารบรรยาย) กรณี แท่งหลักดินหลายแท่ง เรา
120V (ประเทศอเมริกา) ให้กับแท่งหลักดิน ที่ระยะห่างจาก ควรวัดค่าได้มากกว่าการคานวณประมาณ กี่ %
2 ตัวนาเส้นใด เป็นตัวนาที่ต้องมีการต่อลงดิน หลักดิน 1 ฟุต จะมีค่าความต้านทานลงดิน ประมาณ 68% จะ ก. 0%
o การวั ด ค่ า ความต้ า นทานของหลั ก ดิ น ด้ ว ยวิ ธี 3 มีแรงดัน Gradient เท่ากับ 82 Volt ถ้าเป็นแรงดัน 240 Volt
ก. ตัวนา เล้นเฟส L1 ข. 8%
points fall potential method หรือ 62% method ข. ตัวนา เส้นเฟส L2 ที่ประเทศไทย จะมีแรงดัน Gradient เท่าไร ค. 16%
จะวัดหลักดินแท่งไหน ต้องปลดสายต่อหลักดินออก ค. ตัวนา เส้นเฟส L3 ก. 68 V ง. 29%
ง. ตัวนา เส้นศูนย์ N ข. 82 V
การวั ดด้วยวิธีนี้ ให้ค่ าที่น่ าเชื่อถือ แต่ออกแรงเยอะ ค. 164 V 13 ถ้าเราวัดค่าหลักดินด้วยเครื่อง Multi Grounding Clamp
3 สายต่อหลักดิน ที่ตปู้ ระธาน เราจะเลือกขนาดของสายดิน ง. 240 V แล้วอ่านค่าได้ 5.1 โอห์ม เราสรุปว่า
หน่อย (ตาราง 4-1 ของ มฐ.ติดตัง้ ทางไฟฟ้าฯ) ให้คานึงจากอะไร ก. ค่าหลักดิน มีค่าเกิน 5 โอห์ม ดังนั้น ไม่ผ่านค่ามาตรฐาน
9 การวัดค่าหลักดิน ด้วยการวัดแบบ 3 สาย ให้ปักแท่ง P 5 โอห์ม
o ก า ร วั ด ค่ า ค ว า ม ต้ า น ท า น ห ลั ก ดิ น ด้ ว ย วิ ธี ก. ขนาดของตัวนาประธาน
(Potential) ที่ระยะ กี่ % ของระยะการปักแท่ง C (Current)
ข. ขนาดพิกัด Main Circuit Breaker ข. เกิน 5 โอห์มนิดหน่อย อนุโลมว่าไม่เกิน 5 โอห์ม ถือว่า
Multigrounding Clamp ต้องแน่ใจว่า มีการต่อหลัก ค. ขนาดพิกัด ของมิเตอร์การไฟฟ้า ก. 31% ผ่าน
ดิน หลายจุด ไม่สามารถวัดค่าได้กับกรณีระบบหลัก ง. ขนาดพิกัด ของหม้อแปลงไฟฟ้า ข. 48% ค. ไม่สามารถสรุปค่าได้ ต้องทาการวัดด้วยเครื่องวัดค่าหลัก
ค. 62% ดิน 3 สาย ที่ให้ค่าที่แม่นยากว่า
ดินมีแท่งเดียว ง. 74% ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
4 ทาไม มาตรฐาน ต้องกาหนดให้ค่าหลักดินประธาน มีความ
การวัดด้ วยวิธีนี้ ค่าที่อ่านได้ จะมากกว่าค่า จริงของ ต้านทานการต่อลงดินไม่เกิน 5 โอห์ม
ก. เพื่อให้ กรณีอุปกรณ์ใช้งานไฟฟ้า ขณะเกิดลัดวงจรแล้ว 10 หลักการวัดค่าหลักดินครั้งแรก แล้ว ให้ขยับ แท่ง P ในระยะ 14 สมมติว่า ระบบไฟฟ้า 3 เฟส เรามีจุดต่อลงดินประธานที่จุด
หลักดินแท่งนั้นเสมอ แต่ง่าย สะดวก และรวดเร็ว กระแสลัดวงจรทั้งหมดจะไหลลงดินอย่างปลอดภัย น้อยลง 10% แล้ววัดค่าครั้งที่ 2 จากนั้นให้ขยับ แท่ง P ใน เดียว ที่ตไู้ ฟฟ้าประธาน (โดยสมมติว่าไม่มีการต่อลงดินของ
ข. เพื่อให้แน่ใจว่า แรงดันสัมผัสที่อาจเกิดขึ้นที่อุปกรณ์ใช้ ระยะมากขึ้นจากครั้งแรกอีก 10% แล้วทาการวัดค่า เพื่อ แรงต่าที่หม้อแปลงไฟฟ้าต้นทาง)
งานไฟฟ้า อยูใ่ นระดับปลอดภัย อะไร หากสายต่อลงดินที่ตไู้ ฟฟ้าประธานหลุดหรือขาด ทาให้
ค. เพื่อให้กระแสไหลกลับในสายเส้นศูนย์ ไหลกลับในสาย ก. เพื่อนาค่า ทั้ง 3 ครั้งของการวัดมาทาการเฉลีย่ ค่า ได้ค่า นิวตรอนลอย (ตามภาษาชาวบ้าน) จะเกิดอะไรขึ้น
ดินบริภัณฑ์ไฟฟ้าในปริมาณที่เท่ากัน หลักดินที่ถูกต้อง ก. ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ยังใช้งานได้ดี เพราะ เฟส Balance
ง. ถูกต้องทุกข้อ ข. เพื่อหาค่าสูงสุดที่วัดได้ และนาค่าสูงสุดที่วัดได้มาเป็นค่า ตลอดเวลา
ที่มาเทียบกับ มฐ. ว่าได้ผ่านหรือไม่ ข. จะมีบางเฟส แรงดันเกิน บางเฟสแรงงดันตก ทาให้
5 ระบบไฟฟ้า บ้านเรา เป็นระบบอะไร ค. ดูว่ามีพ้นอิทธิพลของแรงดัน Gradient ระหว่างแท่ง E อุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด อาจชารุดเสียหาย
กับแท่ง C หรือไม่ หากมียังอิทธิพล ต้องขยับแท่ง C ให้ ค. ทาให้ N มีแรงดันยกขึ้น ทาให้ โครงโลหะของบริภัณฑ์
ก. TT
ข. TNCS ไกลออกไป แล้วทาการวัดค่าใหม่ ไฟฟ้าใช้งาน มีแรงดันสัมผัสเกิดขึ้น
ง. ถูกทุกข้อ ง. ข้อ ข และข้อ ค. ถูกต้อง
ค. TNC
ง. TNS
11 ปักแท่งหลักดิน 2 แท่ง โดยปักห่างกันราว ๆ เท่ากับความ 15 คากล่าวของ มฐ.ติดตัง้ ทางไฟฟ้าฯ ข้อ 4.14.2 ที่ว่า ทางเดิน
6 ข้อใดถูกต้อง ยาวของแท่งหลักดิน สมมติว่า วัดค่าหลักดินทีละแท่ง ได้ค่า สู่ดินที่ใช้ได้ผลดี หมายความว่า
แท่งละ 4 โอห์ม เมื่อทาการต่อแท่งหลักดินทั้งสองเข้าหากัน ก. บริภัณฑ์ไฟฟ้าใช้งานที่ต่อสายดินเข้ากับแท่งหลักดินที่ปัก
ก. เครื่องวัดค่าหลักดิน แบบ 62% Method จะวัดค่าหลัก แล้วทาการวัดค่าหลักดิน โดยสมมติว่า ไม่มีอิทธิพลต่อการ ที่บริเวณบริภัณฑ์ไฟฟ้าใช้งานนั้น ที่มีค่าความต้านทาน
ดินแท่งใด ต้องปลดสายต่อหลักดินแท่งนั้นออก จึงจะ
4.27 ความต้านทานการต่อลงดิน (Resistance to Ground) ทาการวัดค่าหลักดินแท่งนั้นได้ถูกต้อง
ระหว่างแท่งหลักดินทั้งสอง ควรจะวัดค่าหลักดินได้ประมาณ หลักดินไม่เกิน 5 โอห์ม ถือว่าเป็นทางเดินสู่ดินที่ใช้
เท่าไร (หากใช้สูตร หาค่าความต้านทานที่ต่อขนานกัน)
ค่าความต้านทานการต่อลงดินต้องไม่เกิน 5 โอห์ม ข. เครื่องวัดค่าหลักดิน แบบ Clamp สามารถทาการวัดค่า
ได้ผลดี
ก. 2 โอห์ม ข. สายดินบริภัณฑ์ที่มีขนาดไม่ต่ากว่า มาตรฐานติดตัง้ ทาง
ยกเว้น พืน้ ที่ที่ยากในการปฏิบตั แิ ละการไฟฟ้าฯ เห็นชอบ ยอมให้ หลักดินได้ทันที กับระบบไฟฟ้าที่มีแท่งหลักดินเพียงแท่ง
ข. 4 โอห์ม ไฟฟ้าฯ ที่ต่อเข้ากับดินของระบบไฟฟ้า ถือว่าเป็นทางเดิน
เดียว (ไม่ใช่ลักษณะ Multi Grounding) จึงสะดวกใน
ค่าความต้านทานของหลักดินกับดินต้องไม่เกิน 25 โอห์ม หากทา การใช้งานมาก ค. 8 โอห์ม สูงดินที่ใช้ได้ผลดี เพราะสามารถรองรับกระแสลัดวงจร
การวัดแล้วยังมีค่าเกิน ให้ปักหลักดินเพิ่มอีก 1 แท่ง ง. 16 โอห์ม ได้เพียงพอ และมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า
ค. ทั้งข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง
ง. ทั้งข้อ ก. และ ข. ไม่ถูกต้อง ค. ถูกต้องทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่ถูกต้อง ทั้ง ก. และ ข.
19/05/63 17:23 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 3
ของฝากเพิม่ เติมจากความตอนทีแ่ ล้ว

1.44 ต่ อ ล ง ดิ น อ ย่ ำ ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล QR ดาวน์โหลด
(Grounded, Effectively) หมายถึง L1 sketchup file
การต่ อลงดิ น โดยตรงอย่ า งตั้ งใจ หรื อ
Source: https://electronics.stackexchange.com/questions/
โดยผ่ า นอิ ม พี แ ดนซ์ ที่ มี ค่ า ต่ าเพี ย ง 72058/what-is-the-rms-reverse-voltage-for-diodes
พอที่จะไม่ทาให้เกิดแรงดันตกคร่อมมาก
จนท าให้ เ กิ ด อั น ตรายต่ อบริ ภั ณ ฑ์ ที่ ต่ อ
L3
อยู่ หรือต่อบุคคล

N L1 G
N

L2

Source: Explained and Illustrated, Brian Scaddan


L3 L2
Source: https://www.kewtechcorp.com/

ทดสอบ 14 พ.ค. 2563 ช่วงบ่าย อากาศร้อน


ควำมยำว ควำมต้ำนทำน แรงดันเฟส L
แท่งหลักดิน แท่งหลักดิน เทียบหลักดิน
#1 – 30cm 26.6  229.8V
#2 – 60cm 20.2  229.8V
#3 – 90cm 11.12  232.6V
#4 – 150cm 4.66  232.5V
#5 – 240cm 3.27  232.6V
(#2 233.1V
#3 230.2V)

3
19/05/63 17:24 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 4
ทาไมต้องเดินสายดินบริภณ
ั ฑ์ ?
... ทาไมปั กหลักดินตรงทีบ่ ริภัณฑ์ไฟฟ้ าแทนไม่ได้ (ปั กก็ง่าย สะดวกดี) ?

4.14.2 ทำงเดินสู่ดินที่ใช้ได้ผลดี
ทางเดินสู่ดินจากวงจร บริภัณฑ์ไฟฟ้า และเครื่องห่อหุ้ม
สายที่เป็นโลหะ ต้องมีลักษณะดังนี้
ก) เป็นชนิดติดตั้งถาวรและมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า
ข) มีขนาดเพียงพอสาหรับนากระแสลัดวงจรทุกชนิดที่
อาจเกิดขึ้นได้อย่างปลอดภัย
ค) มีอิมพีแดนซ์ต่าเพียงพอที่จะจากัดแรงดันไฟฟ้าวัด
เทียบกับดินไม่ให้สูงเกินไป และช่วยให้เครื่องป้องกัน
4.3.2 ระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน กระแสเกินในวงจรทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1,000 โวลต์ ที่มีการต่อลงดินที่จดุ ใดๆ จะต้อง
เดินสายที่มีการต่อลงดินนัน้ ไปยังบริภณั ฑ์
ประธานทุกชุด และต้องต่อฝากเข้ากับสิง่ ห่อหุม้
ของบริภณั ฑ์ประธาน สายดังกล่าวจะต้องเดิน
ร่วมไปกับสายเส้นไฟด้วย ขนาดสายต่าสุด ใช้ตารางที่ 4-2
1.47 ตัวนำสำหรับต่อลงดินหรือสำยดินของบริภัณฑ์
(Grounding Conductor, Equipment)

ขนาดสายต่าสุด ใช้ตารางที่ 4-1


1.48 ตัวนำต่อหลักดินหรือสำยต่อหลักดิน
(Grounding Electrode Conductor)

Source: Mike Holt’s Illustrated Guide to Understanding NEC Source: Mike Holt’s Illustrated Guide to Understanding NEC

4
19/05/63 17:24 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 5

ร่วมให้การสนับสนุนค่าธรรมเนียม
E-Certificate 50 ท่านแรก
19/05/63 17:24 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 6
มารู้จัก ภายใน ของเครื่องปลดวงร (Circuit Breaker)

Source: http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/Tables/rstiv.html

QR ดาวน์โหลด สูตร ค่าความต้านทานไฟฟ้าของทองแดง


sketchup file
𝑙
𝑅=𝜌
𝑎
𝜌20℃ = 1.72 × 10−8
l = 100 𝑚
จำนวนรู Terminal a = 1.5 𝑚𝑚2 = 1.5 × 10−6 𝑚𝑚2
รู G = #ckt +3 100
𝑅20℃ = 1.72 × 10−8
รู N = #ckt +1 1.5 𝑥 10−6
100
𝑅20℃ = 1.72 × 10−8
ขนำดสำยไฟ 1.5 𝑥 10−6
𝑅20℃ = 1.15 
CB 6A = 1.5 mm2
𝑅30℃ = 1.15 + 0.004 × 10℃ = 1.19
CB 10A = 1.5 mm2 𝑅70℃ = 1.15 + 0.004 × 50℃ = 1.35
CB 15A = 1.5 mm2
CB 20A = 2.5 mm2
CB 25A = 4 mm2
QR youtube
CB 32 = 6 mm2 เลือกสาย VAF-G
Source: https://www.ssupercable.com/wp-content/uploads/2018/11/VAG_G_SSUPERCABLE.pdf
19/05/63 17:24 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 7
การวัดค่า Fault loop impedance
และค่า prospective fault current
4.20 ขนาดสายดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า
Fuse Type เลือก fuse/breaker curve [gG, NV, B, C, D, K] 4.20.1 กาหนดให้สายดินของบริภณ ั ฑ์
Fuse I กาหนดกระแสพิกัดของ fuse/breaker
Fuse t กาหนดเวลาสูงสุดในการปลดของ fuse ไฟฟ้า ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่ได้
Isc factor กาหนดตัวแก้ค่า Isc [0.20 ... 3.00] กาหนดไว้ในตารางที่ 4-2
Test กาหนดรูปแบบทดสอบ [-, L/PE, L1/PE, L2/PE, L3/PE]
Earthing System กาหนดรูปแบบการต่อลงดิน
Ia(Ipsc) กาหนดค่าต่าสุดของกระแสผิดพร่องของ fuse/breaker

ทดสอบไม่ต้อง
ปลดโหลดออก

ขั้นตอน
• เข้าฟังก์ชั่น Z loop
• ตั้งค่า
• ต่อสายวัดเข้ากับเครื่องวัด
• คีบจับจุดต่อที่จะทาการวัด
• วัดค่า

Z คือ ค่า ลูปอิมพีแดนซ์


Ipsc คือ กระแสผิดพร่องที่คาดการณ์
Ulpe คือ แรงดันระหว่าง L-PE
R คือ ค่าความต้านทานของลูปอิมพีแดนซ์
XL คือ ค่ารีแอ๊กแตนซ์ของลูปอิมพีแดนซ์ หมำยเหตุ * หากความยาวของวงจรย่อยเกิน 30 เมตร ให้พิจารณาขนาดสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า
โดยคานึงถึงค่า earth fault loop impedance ของวงจร ที่แสดงในภาคผนวก ญ

7
19/05/63 17:24 น. วิเชียร บุษยบัณฑูร วุฒิวิศวกรไฟฟ้ากาลัง 8

คลิปวีดีโอแสดงการเดินสายไฟในตู้คอนซูมเมอร์ที่มีเครื่องตัดไฟรั่ว

PC

CC
N - BAR
7
5

RCD CB หลักดิน

shunt
2

trip
MAIN CB
3
L
N 6
4 8

G - BAR

ดูคลิปบน Youtube

You might also like