You are on page 1of 193

การออกแบบและประมาณการระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา

Estimate and design Underground system in Burapha University

ชัชนันท รณะนันทน

ปริญญานิพนธนเี้ ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยบูรพา
ปการศึกษา 2562
การออกแบบและประมาณการระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
Estimate and design Underground system in Burapha University

ชัชนันท รณะนันทน

ปริญญานิพนธนเี้ ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยบูรพา
ปการศึกษา 2562
Estimate and design Underground system in Burapha University

CHATCHANAN RANANAN

A PROJECT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS


FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF ENGINEERING
DEPARTMENT OF ELECTRICAL ENGINEERING
BURAPHA UNIVERSITY 2016
ii

บทคัดยอ

โครงงานเรื่องการศึกษาและประมาณการออกแบบระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา มี
วัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหระบบจําหนายไฟฟาแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขต บางแสน เพื่อ
ออกแบบระบบสายสงไฟฟาแรงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาเปนอยูในระบบสายสงใตดิน เพื่อประมาณการ
คาใชจายในการติดตั้งระบบสายสงไฟฟาแรงสูงใตดิน เพื่อเปรียบเทียบขอดีและขอเสียของระบบสายสงไฟฟา
แบบปจจุบันและระบบไฟฟาแบบใตดิน ผลการศึกษาไดสํารวจตําแหนงและมีหมอแปลงไฟฟาทั้งหมด 89 ลูก มี
กําลังไฟฟารวมทั้งสิ้น 62,060 kVA ไดออกแบบวงจรจายไฟฟากําลังจํานวน 3 วงจร และไดจัดทําแบบระบบ
สายไฟฟาใตดินแรงสูงและแรงต่ําประกอบดวย Cable Riser Pole, Unit Substation ระบบสายไฟฟาแรงสูง
และแรงต่ํา ที่ติดตั้งและเดินสายไฟใน ทอ Duct Bank ทอรอยสาย ไดประมาณการคาใชจายในการกอสราง
ระบบไฟฟาใตดินเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 236,885,331.00 บาท สําหรับคาใชจายในการกอสรางเฉพาะระบบ
ไฟฟาใตดินแรงสูงเปนจํานวนเงิน 134,268,749 บาท พบวามีคาใชจายตางกัน 102,616,582.00 บาท

คําสําคัญ: ระบบไฟฟาใตดิน , Unit Substation , Duct Bank ,Cable Riser Pole , Feeder

หนา 1
iii

Abstract

This Project is Education and Estimation of Underground Electrical System in Burapha


University purpose to analyses high voltage distribution system, for designs the high voltage
and low voltage underground transmission system, for estimates the cost of this underground
transmission system, and compares the cost of construction underground system. The results
of this study has explored the position and found 89 transformers with a total power of 62,060
kVA. The power system is designed for 3 feeders, and design of high voltage and low voltage
underground systems. The underground systems consist of Cable Riser Pole, Unit Substation,
High Voltage and Lows Voltage Cable System. The cable system is Installed wire in the Duct
Bank and conduit pipe. The total estimated cost of the construction underground system is
amount 236,885,331 Baht and the cost of constructing high-voltage underground system only
is amount 134,268,749 baht, found that the cost is different. 102,616,582 baht.

Keywords: Electrical Underground system, Unit Substation, Duct Bank, Cable Riser Pole,
Feeder
iv

กิตติกรรมประกาศ

ปริญญานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปได ดวยความชวยเหลืออยางดียงิ่ จากอาจารย ดร. เชาวนวัฒน


เอื้อเฟอ อาจารยที่ปรึกษาปริญญานิพนธ ที่ไดใหคําแนะนําและขอคิดเห็นตาง ๆ ในการทําปริญญานิพนธมาโดย
ตลอด ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบปริญญานิพนธทุกทานทีก่ รุณาใหคําแนะนําที่เปนประโยชน ตลอดจน
คณาจารยทุกทานที่ไมไดกลาวนามไว ณ ที่นี้
ผูดําเนินโครงงานขอขอบคุณภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาที่ไดเอื้อเฟอสถานที่และและอุปกรณในการ
ดําเนินโครงงาน
สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อ………………………………………………………………………..…………………………………..…………………..… ii
Abstract……………………………………………………………………………..……………………..………………….…………. iii
กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………..………………..………………..……………… iv
สารบัญ……………………………………………………………………………..…………………………………..………………….. v
สารบัญรูป……………………………………...…………………………..………………….……………………………..………….. viii
สารบัญตาราง……………………………………………………………………..………………….…………………………..……… xiii

บทที่ 1 บทนํา………………………………………………………………………………...………..……………..………………… 1
1.1 บทนํา……………………………………………………………………………..……………………………….......... 1
1.2 วัตถุประสงค์……………………………………………………………………………....……………..……………. 1
1.3 ขอบเขตของการทําโครงงาน……………………………………………………………………..………..…..... 2
1.4 แผนการดําเนินงาน.............…………………………………………………………......……………..……….. 2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ...…………………………………………………………................................. 2

บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกีย่ วข้อง………………………………………………………………………..………….……………………….. 3


2.1 มาตรฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า ………………………………..………..….……………..……………… 3
2.1.1 สายส่งหรือระบบจําหน่าย…………………………………………………….……………................. 3
2.1.2 มาตรฐานสายเคเบิลใต้ดิน………..……………………………….…………...……………..………… 4
2.1.3 รูปแบบการก่อสร้าง……….………..……………………………….…………...……………..………… 7
2.2 วัสดุอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าใต้ดิน………………………..……………………...……….……………..………….. 12
2.2.1 ท่อร้อยสายเคเบิลใต้ดิน…………………………………………………………..……….……………… 12
2.2.2 จํานวนท่อร้อยสาย……………………………………………………………………………….…………. 14
2.2.3 บ่อพักสายใต้ดิน………………………………………………………………………………….………….. 15
2.2.4 Cable Riser pole..………………………………………………………………………………….…….. 17
2.2.5 การติดตัง้ มิเตอร์แรงสูง…………………………………………………………….………………………. 21
2.2.6 การติดตัง้ หม้อแปลงระบบจําหน่าย……………………………………….………………………….. 22
2.2.7 การต่อสายและการทําให้สายเคเบิลใต้ดิน…..………………………….………………………….. 30
2.2.8 Cable terminator…………………………….…..………………………….………………………….. 33
2.2.9 Cable Spicing………………………………….…..………………………….…………………………… 36
vi

สารบัญ(ต่อ) หน้า

2.3 การออกแบบระบบจําหน่ายเคเบิลใต้ดิน……………………………………………………………………… 37
2.3.1 หลักเกณฑ์ในการเลือกชนิดและขนาดของสายเคเบิลใต้ดิน………………………………….. 37
2.3.2 หลักเกณฑ์ในการเลือกท่อร้อยสาย……………………………………………………………………. 42
2.3.3 การเลือกขนาดท่อร้อยสาย………………………………………………………………………………. 443
2.3.4 การต่อลงดิน………………………………………………………………………………………………….. 47
2.4 อุปกรณ์ที่ใช้งานภายในระบบและการป้องกัน………………………………………………………………. 50
2.4.1 RMU…………………………………………………………………………………………………………….. 50
2.4.2 Unit Substation…………………………………………………………………………………………… 51
2.4.3 Automatic Transfer Switch…………………………………………………………………………. 52
2.4.4 Fault Indicator…………………………………………………………………………………………..... 52
2.5 คํานวณราคากลางและการประมาณการ……………………………………………………………………… 53
บทที่ 3 ออกแบบและขั้นตอนการดําเนินงาน….…………………..………………………………………………………….. 55
3.1 ขั้นตอนการดําเนินการออกแบบระบบไฟฟ้าแรงสูงใต้ดิน………………………………………………. 55
3.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน……………………………………………………………………………………………… 55
3.3 การสํารวจตําแหน่งและขนาดของหม้อแปลง……………………………………………………………….. 57
3.3.1 ผลการสํารวจสายแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา…………………………………………….. 60
3.4 สํารวจและเปรียบเทียบขนาดของหม้อแปลงไฟฟ้าเพือ่ คํานวณโหลดจริง………………………… 62
3.5 สํารวจและวิเคราะห์แบบการวางสายไฟฟ้าในลักษณะต่าง ๆ…………………………………………. 69
3.6 การแบ่งและออกแบบ Feeder ใหม่ ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา…………………………………….. 71
3.7 การยุบรวมหม้อแปลงเพื่อการออกแบบ Unit Substation……………………………………………. 76
3.7.1 การออกแบบ Unit Substation หลังการยุบรวมหม้อแปลง………………………………… 77
3.7.2 การออกแบบระบบไฟฟ้าใน Feeder ที่ 1………………………………………………………….. 80
3.7.3 การออกแบบระบบไฟฟ้าใน Feeder ที่ 2………………………………………………………….. 84
3.7.4 การออกแบบระบบไฟฟ้าใน Feeder ที่ 3………………………………………………………….. 87
3.8 การออกแบบขนาดสายไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าใต้ดิน………………………………………………………. 91
3.8.1 การออกแบบขนาดสายไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าใต้ดิน Feeder 1…………………………… 92
3.8.2 การออกแบบขนาดสายไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าใต้ดิน Feeder 2…………………………… 94
3.8.3 การออกแบบขนาดสายไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าใต้ดิน Feeder 3…………………………… 96
3.9 การออกแบบท่อร้อยสายไฟฟ้าใต้ดิน…………………………………………………………………………. 98
3.10 การออกแบบการก่อสร้างชนิด Duct Bank……………………………………………………………… 100
vii

สารบัญ(ต่อ) หน้า

3.10 การออกแบบการก่อสร้างชนิด Duct Bank……………………………………………………………… 109


3.10.1 การออกแบบ Duct Bank ในแต่ละ Feeder………………………………………………….. 110
3.11 การออกแบบเสาต้นขึ้นหัวสายเคเบิล Cable Riser Pole……………………………………………. 115
3.12 การออกแบบบ่อพักสายใต้ดิน………………………………………………………………………………… 127
3.13 การติดตั้งมิเตอร์แรงสูงและ RMU ภายนอกอาคาร…………………………………………………….. 130
3.14 การออกแบบระบบไฟฟ้าใต้ดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา……………………………………………. 132
3.14.1 การวางตู้มิเตอร์แรงต่ํา…………………………………………………………………………………… 135
3.15 ตัวอย่างการคํานวณราคากลางการประมาณการ………………………………………………………… 138
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน……………………………………………………………………………………………………………. 141
4.1 ผลการออกแบบ……………………………………………………………………………………………………….. 142
4.1.1 การออกแบบระบบไฟฟ้าใน Feeder ที่ 1………………………………………………………….. 146
4.1.2 การออกแบบระบบไฟฟ้าใน Feeder ที่ 2………………………………………………………….. 151
4.1.3 การออกแบบระบบไฟฟ้าใน Feeder ที่ 3………………………………………………………….. 157
4.2 การคํานวณราคากลางและการประมาณการ……………………………………………………………….. 166
4.2.1 การประมาณการ การก่อสร้างระบบไฟฟ้าใต้ดินโดยคงไว้ซึ่งหม้อแปลงเดิม…………….. 168
4.3 การคํานวณราคากลางและการประมาณการ……………………………………………………………….. 172
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล……………………………………………………………………………………………………….. 173
5.1 สรุปผลการสํารวจและออกแบบ…………………………………………………………………………………. 173
5.2 ปัญหาที่พบระหว่างทําโครงงาน…………………………………………………………………………………. 173
5.3 ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………. 174

เอกสารอ้างอิง……………………………………………………………………………………………………………………………. 175

ภาคผนวก 176
ภาคผนวก ก ขนาดหม้อแปลงและหน่วยรวมการใช้ไฟฟ้า……..…………………………………………….. 177
ภาคผนวก ข โหลดการใช้ไฟฟ้าและคิดเผื่อโหลด………………………………………………………………… 180
ภาคผนวก ค อุปกรณ์การก่อสร้างระบบไฟฟ้าใต้ดนิ ….………………………………………………………… 189
ภาคผนวก ง งานจ้างเหมาระบบไฟฟ้า Central Pattaya โดยการไฟฟ้า………………………………. 207
ภาคผนวก จ Factor F งานก่อสร้าง……………………….………………………………………………………… 213
สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
2.1 ตารางกระแสพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง………………………………… 4
2.2 ตารางพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนาย 22 kV ขนาด 500 ต.มม…………………. 5
2.3 ตารางระดับความลึกมากที่สุดของการใชทอ โพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง……………………………. 13
2.4 ตารางแนะนําจํานวนทอสํารอง……………………………………………………………………………………….. 14
2.5 มาตรฐานสายเคเบิลใตดิน………………………………………………………………………………………………. 35
2.6 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนXLPE ขนาดแรงดัน 220 v……………………………… 37
2.7 อุณหภูมโิ ดยรอบ…………………………………………………………………………………………………………… 38
2.8 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนXLPE ขนาดแรงดัน 22 kV……………………………… 39
2.9 อุณหภูมโิ ดยรอย…………………………………………………………………………………………………………… 39
2.10 ตัวคูณปรับคาสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว ขนาดแรงดันไมเกิน 0.6/1 กิโลวัต ฝนดินโดยตรง 40
เมื่อวางเปนกลุม มากกวา 1 วงจร……………………………………………………………………………………..
2.11 ตัวคูณปรับคาสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว ขนาดแรงดันไมเกิน 12/24 กิโลวัต ฝนดินโดยตรง 41
เมื่อวางเปนกลุม มากกวา 1 วงจร……………………………………………………………………………………..
2.12 ความลึกในการฝงทอรอยสาย…………………………………………………………………………………………. 42
2.13 ตารางระดับความลึกมากที่สุดของการใชทอ โพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง……………………………. 43
2.14 ขนาดเสนผานศูนยกลางภายในของสายเคเบิลใตดินตามสเปค กฟผ……………………………………. 43
2.15 การเลือกขนาดทอรอยสายไฟฟา…………………………………………………………………………………….. 44
2.16 ขนาดทอรอยสายไฟฟาประเภทตาง ๆ……………………………………………………………………………… 44
2.17 การเลือกขนาดทอ HDPE จากสเปคของ กฟผ…………………………………………………………………… 47
3.1 ตารางสรุปขนาดและจํานวนหมอแปลงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา………………………………………. 57
3.2 ผลการสํารวจสายแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา…………………………………………………………… 60
3.3 ขนาดมิเตอรประธานภายในมหาวิทยาลัยบูรพา………………………………………………………………… 62
3.4 หนวยการใชงานในแตละ Feeder ของระบบไฟฟาในมหาวิทยาลัยบูรพาเวลาใชงาน 12 ชม….. 65
3.5 โหลดการใชงานจริงคิดเวลาที่ 12 ชม. ละเผื่อโหลด 25%........................................................... 66
3.6 เปอรเซ็นตการใชงานของ Feeder ที่ 1…………………………………………………………………………….. 73
3.7 เปอรเซ็นตการใชงานของ Feeder ที่ 2……………………………………………………………………………. 74
3.8 เปอรเซ็นตการใชงานของ Feeder ที่ 3……………………………………………………………………………. 74
3.9 พิกัดกระแสแรงต่ําหมอแปลง…………………………………………………………………………………………. 76
3.10 การยุบรวมหมอแปลงเปน Unit substation……………………………………………………………………. 77
3.11 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสการใชงาน Feeder 1……………………………………………………… 80
xiv

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา
3.12 การออกแบบ Unit substation ใน Feeder 1…………………………………………………………………. 81
3.13 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสการใชงาน Feeder 2………………………………………………………. 84
3.14 การออกแบบ Unit substation ใน Feeder 2…………………………………………………………………. 85
3.15 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสการใชงาน Feeder 3………………………………………………………. 87
3.16 การออกแบบ Unit substation ใน Feeder 3…………………………………………………………………. 88
3.17 ขนาด Unit substation และสายไฟฟา ใน Feeder ที่ 1…………………………………………………… 92
3.18 ขนาด Unit substation และสายไฟฟา ใน Feeder ที่ 2……………………………………………………. 94
3.19 ขนาด Unit substation และสายไฟฟา ใน Feeder ที่ 3…………………………………………………… 96
3.20 ความลึกของทอรอยสาย………………………………………………………………………………………………… 98
3.21 แนะนําจํานวนทอสํารอง………………………………………………………………………………………………… 100
3.22 ขนาด DUCT BANK แตละ Feeder……………………………………………………………………………….. 100
3.23 รายและเอียดขอมูล Cable Riser pole เขาตัวอาคาร………………………………………………………. 107
3.24 รายและเอียดขอมูล Cable Riser pole ขึ้นเคเบิลใตดิน………………………………………………..... 111
3.25 รายและเอียดขอมูล Cable Riser pole แรงสูง………………………………………………………………. 115
3.26 รายละเอียดการติดตัง้ มิเตอรแรงต่ํา…………………………………………………………………………………. 124
3.27 ตัวอยางคาใชจา ยในการหาราคากลาง……………………………………………………………………………… 125
3.28 FACTOR F………………………………………………………………………………………………………………….. 126
4.1 ตารางอุปกรณของการกอสรางระบบไฟฟาใตดนิ ………………………………………………………………. 129
4.2 รายละเอียดในการกอสรางระบบไฟฟาใตดิน Feeder 1…………………………………………………….. 134
4.3 รายละเอียดในการกอสรางระบบไฟฟาใตดิน Feeder 2…………………………………………………….. 139
4.4 รายละเอียดในการกอสรางระบบไฟฟาใตดิน Feeder 3…………………………………………………….. 144
4.5 รวมคาใชจายในการกอสรางระบบไฟฟาใตดนิ ………………………………………………………………….. 149
4.6 การประมาณการกอสรางระบบไฟฟาใตดินโดยคงไวซึ่งหมอแปลงเดิม…………………………………. 154
4.7 การเปรียบเทียบระบบไฟฟาใตดิน…………………………………………………………………………………… 156
สารบัญรูป

รูปที่ หนา
2.1 สายเคเบิลใตดนิ แรงดันปานกลาง………………………………………………………………………………………. 6
2.2 การกอสรางแบบรอยทอฝงดิน………………………………………………………………………………………….. 8
2.3 รูปแบบการกอสรางแบบ Duct Bank………………………………………………………………………………… 9
2.4 รูปแบบการกอสรางแบบ HDD………………………………………………………………………………………….. 10
2.5 รูปแบบการกอสรางแบบ Pipe Jacking……………………………………………………………………………… 11
2.6 ทอ HDPE……………………………………………………………………………………………………………………….. 13
2.7 ขอตอแบบสวมและการเชื่อมดวยความรอน……………………………………………………………………….. 14
2.8 ทอ Corrugate………………………………………………………………………………………………………………… 14
2.9 บอพักสายใตดนิ 2T-1……………………………………………………………………………………………………… 15
2.10 บอพักสายใตดนิ 2T-2……………………………………………………………………………………………………… 15
2.11 บอพักสายใตดนิ 2T-3……………………………………………………………………………………………………… 16
2.12 บอพักสายใตดนิ 2T-8……………………………………………………………………………………………………… 16
2.13 เสาตน Riser…………………………………………………………………………………………………………………… 17
2.14 สวิตซตัดตอนแรงสูง…………………………………………………………………………………………………………. 18
2.15 ตัวอยางรูปแบบเสาตนขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน……………………………………………………………………… 19
2.16 ตัวอยางรูปแบบเสาตนขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน……………………………………………………………………… 20
2.17 Airseal compound……………………………………………………………………………………………………….. 21
2.18 การติดตั้งมิเตอรแรงสูง…………………………………………………………………………………………………….. 21
2.19 Unit Substation……………………………………………………………………………………………………………. 22
2.20 สวนประกอบของ Unit substation………………………………………………………………………………….. 24
2.21 รูปแบบการทํางานภายใน…………………………………………………………………………………………………. 25
2.22 รูปแบบการทํางานภายนอก……………………………………………………………………………………………… 25
2.23 ชนิดของ Unit Substation………………………………………………………………………………………………. 25
2.24 Unit substation แบบมี plinth……………………………………………………………………………………….. 26
2.25 Unit substation แบบไมมี plinth……………………………………………………………………………………. 26
2.26 การจัดเรียงภายใน…………………………………………………………………………………………………………… 27
2.27 รูปแบบการตกแตง Unit substation………………………………………………………………………………… 27
2.28 ชนิดของวัสดุ…………………………………………………………………………………………………………………… 28
2.29 มาตรฐานที่เกีย่ วของ………………………………………………………………………………………………………… 28
2.30 ชนิดของหมอแปลง………………………………………………………………………………………………………….. 29
ix

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา
2.31 ชนิดของหองแรงสูง…………………………………………………………………………………………………………. 29
2.32 ชนิดสวนดานแรงต่ํา………………………………………………………………………………………………………… 30
2.33 Electric flux………………………………………………………………………………………………………………….. 31
2.34 ผลสนามเบี่ยงเบน……………………………………………………………………………………………………………. 31
2.35 ผลสนามเบี่ยงเบนที่มีจุดสนามไฟฟาหนาแนน…………………………………………………………………….. 32
2.36 หัว Terminator……………………………………………………………………………………………………………… 32
2.37 หัว Terminator……………………………………………………………………………………………………………… 33
2.38 Cable Terminator………………………………………………………………………………………………………… 33
2.39 Cable Terminator แบบ Porcelian………………………………………………………………………………… 34
2.40 Cable Terminator แบบ slip on type…………………………………………………………………………… 34
2.41 Cable Terminator แบบ Cold shrink type……………………………………………………………………. 34
2.42 หัวสายเคเบิลใตดินแบบ Heat Shrink Type………………………………………………………………………. 35
2.43 การตอสายเคเบิลใตดินแบบ Slip on type………………………………………………………………………… 36
2.44 การตอสายเคเบิลใตดินแบบ Cold shrink type…………………………………………………………………. 36
2.45 การตอสาย Cable ใตดิน แบบ Heat shrink type………………………………………………………………. 37
2.46 สายควบ…………………………………………………………………………………………………………………………. 41
2.47 การฝงเคเบิลใตดินในทอรอยสายอโลหะ…………………………………………………………………………….. 42
2.48 การฝงเคเบิลใตดินแบบ Directional Boring………………………………………………………………………. 43
2.49 การตอลงดินเพือ่ ปองกันสําหรับเคเบิลแรค 22 kV……………………………………………………………….. 47
2.50 การตอลงดินในบอพักสาย Manhole………………………………………………………………………………… 48
2.51 การตอลงดินทั้งสองปลาย…………………………………………………………………………………………………. 49
2.52 การตอลงดินแบบหลายจุด……………………………………………………………………………………………….. 49
2.53 การตอลงดินที่เสาตน Riser สําหรับ 22 kV………………………………………………………………………… 50
2.54 RMU……………………………………………………………………………………………………………………………… 51
2.55 Unit Substation……………………………………………………………………………………………………………. 52
2.56 ATS……………………………………………………………………………………………………………………………….. 52
2.57 Fault indicator……………………………………………………………………………………………………………… 53
3.1 แผนการดําเนินงาน………………………………………………………………………………………………………….. 55
3.2 ตําแหนงของหมอแปลงไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา……………………………………………………….. 58
3.3 ขนาดของหมอแปลงไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา…………………………………………………………… 59
x

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา
3.4 แนวสายไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา………………………………………………………………………….... 61
3.5 Single line feeder ………………………………………………………………………………………………………. 64
3.6 การวางแนวสายไฟฟาในลักษณะตาง ๆ……………………………………………………………………………… 70
3.7 การวางแนวสายไฟฟาใหมสําหรับระบบไฟฟาใตดิน…………………………………………………………….. 72
3.8 Unit Substation……………………………………………………………………………………………………………. 78
3.9 Diagram ของ Unit substation……………………………………………………………………………………….. 79
3.10 การออกแบบยุบรวมหมอแปลงใน Feeder ที่ 1………………………………………………………………….. 83
3.11 การออกแบบยุบรวมหมอแปลงใน Feeder ที่ 2………………………………………………………………….. 86
3.12 การออกแบบยุบรวมหมอแปลงใน Feeder ที่ 3………………………………………………………………….. 90
3.13 ขนาด Unit substation และแนวสายฟา Feeder ที่ 1………………………………………………………. 93
3.14 ขนาด Unit substation และแนวสายฟา Feeder ที่ 2………………………………………………………. 95
3.15 ขนาด Unit substation และแนวสายฟา Feeder ที่ 3………………………………………………………. 97
3.16 ทอรอยสาย HDPE…………………………………………………………………………………………………………… 99
3.17 Duct Bank…………………………………………………………………………………………………………………….. 102
3.18 Duct Bank…………………………………………………………………………………………………………………….. 103
3.19 การกอสราง Duct Bank………………………………………………………………………………………………….. 104
3.20 Cable Riser เขาตัวอาคาร……………………………………………………………………………………………….. 106
3.21 Cable Riser pole …………………………………………………………………………………………………………. 109
3.22 สวนประกอบ………………………………………………………………………………………………………………….. 110
3.23 ทอ Cable Riser และคอนกรีต…………………………………………………………………………………………. 113
3.24 Cable Riser pole แรงสูง………………………………………………………………………………………………… 114
3.25 Manhole 2T-8………………………………………………………………………………………………………………. 117
3.26 Manhole 2S-2………………………………………………………………………………………………………………. 118
3.27 RMU……………………………………………………………………………………………………………………………… 120
3.28 ตูมิเจอรแรงต่ํา………………………………………………………………………………………………………………… 122
3.29 Diagram ตูมิเตอรแรงต่ํา………………………………………………………………………………………………….. 123
4.1 ผลการออกแบบ………………………………………………………………………………………………………………. 131
4.2 Single Diagram ของระบบไฟฟาใตดิน……………………………………………………………………………… 132
4.3 การออกแบบใน Feeder 1………………………………………………………………………………………………. 137
4.4 การออกแบบใน Feeder 2………………………………………………………………………………………………. 142
xi

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา
4.4 การออกแบบใน Feeder 2………………………………………………………………………………………………. 147
4.5 การออกแบบใน Feeder 3………………………………………………………………………………………………. 153
4.6 การออกแบบเปรียบเทียบ………………………………………………………………………………………………… 169
ค.1 การเรียงลําดับของ DUCT BANK………………………………………………………………………………………. 173
ค.2 โครงสราง DUCT BANK………………………………………………………………………………………………….. 174
ค.3 โครงสราง DUCT BANK และทอรอยสาย…………………………………………………………………………… 175
ค.4 Ring Man Unit สําหรับระบบไฟฟาใตดิน………………………………………………………………………….. 176
ค.5 Man Hole ชนิด 2T-8…………………………………………………………………………………………………….. 177
ค.6 Man Hole ชนิด 2S-2…………………………………………………………………………………………………….. 178
ค.7 Cable Rack และอุปกรณ Man Hole………………………………………………………………………………. 179
ค.8 การติดตั้งระบบแรงต่ําเขาชายตัว………………………………………………………………………………………. 180
ค.9 การติดตั้งระบบแรงต่ําเขาชายตัวอาคาร…………………………………………………………………………….. 181
ค.10 การติดตั้ง Cable Riser pole แรงสูง………………………………………………………………………………… 182
ค.11 Cable riser pole ในระบบแรงต่ํา……………………………………………………………………………………. 183
ค.12 โครงเหล็กกั้นเสา……………………………………………………………………………………………………………… 184
ค.13 การตอลงดินสํารองสายเคเบิลใตดิน…………………………………………………………………………………… 185
ค.14 การตอลงดินสํารองสายเคเบิลใตดิน…………………………………………………………………………………… 186
ค.15 ตูมิเตอรแรงต่ํา………………………………………………………………………………………………………………… 187
ค.16 ลักษณะตู Unit substation…………………………………………………………………………………………….. 188
ค.17 Single line ของ Unit Substation………………………………………………………………………………….. 189
ค.18 ขอตอสาย HDPE…………………………………………………………………………………………………………….. 190
ง.1 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค……………………. 191
ง.2 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค……………………. 192
ง.3 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค……………………. 193
ง.4 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค……………………. 194
ง.5 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค……………………. 195
ง.6 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค……………………. 196
จ.1 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 197
จ.2 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 198
จ.3 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 199
xii

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา
จ.4 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 200
จ.5 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 201
จ.6 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 202
จ.7 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 203
จ.8 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 204
จ.9 ตาราง Factor F งานกอสราง…………………………………………………………………………………………… 205
บทที่ 1
บทนํา

1.1 บทนํา

จากนโยบายภาครัฐที่จะนําสายไฟฟาที่อยูบนดินทั้งหมดลงสูใตดิน เนื่องจากระบบไฟฟาใตดินสามารถ
สง กระแสผานไฟฟาไดอยางมีเสถียรภาพกวาระบบไฟฟาบนดินที่อาจไดรับผลกระทบจากกรณีฝนตก ลม
กรรโชก หรือไฟฟาชอต และขัดของจากสัตว ตนไม หรืออุบัติเหตุได อีกทั้งยังสรางความสวยงามทางภูมิทัศน
เพิ่มขึ้นอีกดวย แตสายสงใตดินมีอุปสรรคและขอจํากัดในหลายๆดาน ทั้งในเรื่องการบํารุงรักษา คาใชจายใน
การกอสราง และเสียเวลาในการติดตั้งระบบสายสง แตระบบสายสงใตดินก็มีประโยชนและขอดีหลายประการ
อาทิเชน ไมรบกวนทัศนียภาพ ลดงบประมาณดูแลความเรียบรอย เหตุผลเนื่องมากจากตนไมโตขึ้นไปเกี่ยวกับ
สายไฟฟา เปนเหตุใหตองมีการจัดการดูแลอยูเสมอ และดวยการมองถึงอนาคตวาการนําสายไฟฟาลงดินชวยให
ตนไมเติบโตไดอยางเต็มที่ อีกทั้งยังขจัดปญหาเรื่องเสาไฟลมเนื่องจากอุบัติเหตุตาง ๆ ซึ่งเปนสาเหตุหลักที่ทําให
ไฟฟาดับ นอกจากนี้สนามแมเหล็กไฟฟาของระบบสายสงแบบฝงดินจะมีประมาณนอยกวามากเมื่อเทียบกับ
ระบบสายเหนือดิน
ดวยเหตุนี้จึงสนใจที่จะออกแบบระบบไฟฟาที่มีภายในมหาวิทยาลัยบูรพา เปนแบบระบบสายสงใตดิน
ซึ่งปจจุบันสายไฟฟาในมหาวิทยาลัยบูรพาไดมีจํานวนมากขึ้นเปนเหตุมาจากความตองการใชงานไฟฟาของนิสิต
และอาคารตาง ๆ ที่มีอยูในปจจุบันและกําลังอยูในระหวางกอสราง จากที่สังเกตภายในเสาไฟฟาหนึ่งตน
นอกจากสายไฟฟา ยังมีสายโทรศัพท สายอินเตอรเน็ต สายเคเบิล สายกลอง ซึ่งสายทั้งหมดนี่สรางทัศนียภาพที่
ไมสวยงาม และ สิ่งรบกวนทางสายตาใหกับนิสิตและผูพบเห็น หากมีเปลี่ยนแปลงไปใชระบบสายสงแบบฝงดิน
จะทําใหมหาวิทยาลัยบูรพาจะสามารถปลูกตนไมขนาดใหญได เปนผลใหทัศนียภาพและบรรยากาศภายใน
มหาวิทยาลัยดียิ่งขึ้น และนั่น หมายถึงคุณภาพชีวิตของนิสิตและบุคลากรภายในมหาวิทาลัยบูรพา แตทั้งนี้การ
ใชระบบสายสงแบบฝงดิน ใชคาใชจายคอนขางมาก จึงตองมีการศึกษาผลกระแทบตาง ๆ และเปรียบเทียบ
ขอดี ขอเสีย ของระบบไฟฟาแบบฝงดินและระบบ ไฟฟาแบบปจจุบันของมหาวิทยาลัยบูรพา

1.2 วัตถุประสงค
1.วิเคราะหระบบจําหนายไฟฟาแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขต บางแสน
2.ออกแบบระบบสายสงไฟฟาแรงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาเปนอยูในระบบสายสงใตดิน
3.ประมาณการคาใชจายในการติดตั้งระบบสายสงไฟฟาแรงสูงใตดิน
4.เปรียบเทียบขอดีและขอเสียของระบบสายสงไฟฟาแบบปจจุบันและระบบไฟฟาแบบใตดิน
2

1.3 ขอบเขตการทําโครงงาน
1.ศึกษาพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตบางแสน
2.พิกัดแรงดัน 22 KV ตามมาตรฐานกองมาตรรฐานระบบไฟฟา ฝายมาตรฐานและความปลอดภัย
กฟภ.2548
3.ออกแบบระบบสายสงไฟฟาแรงสูงใตดิน ตามมาตรฐานกองมาตรรฐานระบบไฟฟา ฝายมาตรฐาน
และความปลอดภัย กฟภ.2548

1.4 แผนการดําเนินงาน
1. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับระบบไฟฟาแรงสูงขนาด 22 KV และศึกษาระบบการเดินสายในระบบสายสง
ใตดิน
2. วิเคราะหตําแหนงวงจรไฟฟาแรงสูง อาทิเชน หมอแปลง
3. วิเคราะหแบบของระบบไฟฟาแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาแบบปจจุบัน
4. ออกแบบยุบรวมหมอแปลงเพื่อเลือก Unit Substation
5. ศึกษาและพิจารณาเลือกสายไฟฟาแรงสูงทีเ่ หมาะสมกับการเดินสายใตดิน
6. ศึกษาและออกแบบทอใตดนิ และบอพักสายใตดิน
7. ประมาณการคิดคาใชจายในการออกแบบระบบไฟฟาแบบฝงดิน
8. เปรียบเทียบขอดีและขอเสียระบบไฟฟาแบบปจจุบันและระบบไฟฟาแบบฝงดิน

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. นําความรูที่ไดมาประยุกตใชในการออกแบบการจําหนายระบบไฟฟาแรงสูงในระบบสายสงใตดิน
2. ชวยลดอันตรายทีเ่ กิดจากการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับระบบการจําหนายไฟฟาแรงสูง
3. ชวยปรับทัศนียภาพ สิ่งรบกวนทางสายตา ชวยใหตนไมโตไดอยางเต็มที่และปรับปรุงพื้นที่เพื่อใช
ประโยชนในดานอื่น ๆ
บทที่ 2

ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

2.1 มาตรฐานการออกแบบระบบไฟฟา

2.1.1 สายสงจายหรือระบบจําหนาย
สายสงจายหรือระบบจําหนายที่ใชในการสงจายกําลังไฟฟา อาจแบงตามลักษณะโครงสราง และ
ฉนวนออกได เ ป น 2 แบบ คื อ แบบขึ ง ในอากาศ (Overhead Line System) และแบบเคเบิ ล ใต ดิ น
(Underground Cable System)
สายสงจายแบบขึงในอากาศ (Overhead Line System)
สายสงจายแบบขึงในอากาศใชอากาศเปนฉนวนหลัก มีขอดีที่อากาศเปนฉนวนที่กลับคืนสภาพความ
เปนฉนวนไดเอง หลังจากการเกิดดีสชารจหรือเบรกดาวนผานไป การใชระบบสายไฟฟาแบบ ขึงอากาศจะตอง
คํานึงถึงเงื่อนไขของสภาพแวดลอม มลภาวะ(Pollution) การเกิดโคโรนารบกวนระบบ สื่อสาร ความปลอดภัย
จากสนามไฟฟา และระยะหางที่ปลอดภัยทางไฟฟา ที่สําคัญก็คือมีผลกระทบจาก ปรากฏการณฟาผา
สายสงจายแบบเคเบิลใตดิน(Underground Cable System)
สายสงจายแบบเคเบิลใตดินจะเปนระบบสงจายพลังงานไฟฟา ที่ใชสายตัวนําหุมดวยฉนวนแข็งหรือ
ฉนวนเหลว หรือฉนวนกาซอัดความดัน เพื่อใหทนตอแรงดันไดสูงโดยความหนาของฉนวนไมตองมีความหนา
มากนัก เนื่องจากในบางกรณีมีที่วางไมมากพอที่จะเดินสายสงจายแบบขึงในอากาศ เชนบริเวณใน เมืองใหญๆ
ยานชุมชน หรือในกรณีท่ีตองการรักษาสภาพแวดลอม ความสวยงามของภูมิทัศน ปญหานี้ อาจเกิดไดโดยการ
ใชสายสงจายแบบเคเบิลใตดิน เพราะเคเบิลมีขนาดเล็ก ทนแรงดันไดสูง สามารถติดตั้ง ใตพื้นดินได การวาง
สายเคเบิลอาจติดตั้งในอากาศได เชน ในอุโมงค โดยมีชั้นรองรับอยางมั่นคง หรือ วางในราง หรือรองที่ทําไว
เพื่อวางสายเคเบิลโดยเฉพาะหรือฝงในดินโดยตรง หรือวางใตทองทะเล การตอสายสงจายแบบเคเบิลใตดินเขา
กับสายสงจายแบบขึงในอากาศจะตองตอผานหัวเคเบิล(Cable Termination) ขอดีของการใชสายเคเบิลใตดิน
ทําใหดูเรียบรอย ปลอดภัยจากฟาผาโดยตรง ใหความ ปลอดภัยสูงแกคนและสิ่งแวดลอม
ปจจุบันการจายกระแสไฟฟาในระบบสายไฟฟาขึงอากาศ (Overhead Line System) มีอุปสรรคมากนอยตาม
ความเจริญของพื้นที่
1. ความเชื่อถือ (reliability) ของระบบสายไฟฟาขึงอากาศลดลง เนื่องจากบริเวณเมืองที่มีขนาดใหญ
หรือในชุมชนที่มีความตองการการใชไฟฟามาก แตมีพื้นที่จํากัด จึงจําเปนตองออกแบบระบบสายไฟฟาขึง
อากาศจํานวนมากหลายๆวงจรอยูบนเสาไฟฟาตนเดียวกัน ทําใหมีผลกระทบมากเปนบริเวณกวางเมื่อขัดของ
หรือชํารุด
4

2. สภาพพื้นที่ (Land Scape)


- สภาพพื้นที่ในบางแหงตองการความปลอดภัยอันเนื่องมาจาก อันตรายที่เกิดจากระบบไฟฟาสายขึง
อากาศ (Overhead Line System) ซึ่งอาจเกิดกับคนและสัตว หรือทรัพยสิน
- สภาพพื้นที่ที่ไมสามารถสรางระบบสายไฟฟาขึงอากาศ (Overhead Line system) ได ในกรณี
ระยะความปลอดภัยไมเพียงพอ (Clearance )ไมเพียงพอ เชนตองหลบสิ่งกอสรางและสิ่งกีดขวางตาง ๆ หรือมี
เขตทาง (ROW) แคบเกินไป
- สภาพพื้นที่ทตี่ องคงความสวยงามไว เชนแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติที่มีระบบไฟฟาสายขึงอากาศ
( Overhead Line System)ทีม่ ีจํานวนมาก ๆ อาจทําใหความสวยงามของพืน้ ที่นั้น ๆดูไมสวยงามดวยเหตุผล
ดังทีก่ ลาวมาทําใหเริ่มมีการใชรปู แบบการจายกระแสไฟฟาแบบเคเบิ้ลใตดิน (Underground Cable System)
ในระบบไฟฟามากขึ้น ระบบจายไฟฟาแบบเคเบิ้ลใตดิน มีความปลอดภัยและความเชื่อถือไดของระบบสูง แต
หากการจายไฟฟาแบบเคเบิ้ลใตดินไมไดมาตรฐาน และความเชื่อมั่นของระบบก็จะสูญเสียไป ซึ่งบางครัง้ อาจแย
กวาระบบจายกระแสไฟฟาแบบขึงในอากาศ เนื่องจากระบบไฟฟาแบบเคเบิ้ลใตดินตองใชเวลามากในการหา
จุดบกพรอง และตองใชเวลาในการซอมแซม

2.1.2 มาตรฐานสายเคเบิลใตดิน
สายเคเบิลใตดินที่ใชงานในการไฟฟาตาง ๆ มีหลายชนิด แตในระยะหลังนี้ สวนใหญนิยมใชสายเคเบิล
ชนิดฉนวน XLPE มากขึ้น ฉนวน XLPE ถูกนํามาใช งานมากขึ้นเนื่องจากการติดตั้ง การใชงาน และการ
บํารุงรักษาไมยุงยาก ปจจุบันสายเคเบิลใตดินที่ กฟภ. ใชงานเปนชนิดฉนวน XLPE ทั้งระดับแรงดันปานกลาง
(Medium voltage cables) 22 – 33 kV กฟภ.จัดหาสายเคเบิลตามสเปคเลขที่ R-777/2539 สําหรับสาย
22-33 kV )
พิจารณาเลือกสายตัวนําทองแดงสําหรับระบบจําหนาย 22 kV ที่ผานการทดสอบมาตรฐาน IEC
60502 ลักษณะสายเปน cross-linked polyethylene(XLPE) ขนาดมาตรฐาน 240 ต.มม. หรือ 400 ต.มม.
โดยพิกัดกระแสของเคเบิลขึ้นอยูกับจํานวนวงจร และความลึกในการฝงเคเบิล ดังแสดงในตารางที่ 2.1 และ
2.2

ตารางที่ 2.1 พิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 & 33 kV (ฉนวน XLPE)

จํานวนวงจร กระแสะที่กําหนดตอวงจร (แอมป)


ความลึกจากระดับดินถึงเคเบิล (เมตร)
ขนาดสาย 240 ต.มม. ขนาดสาย 400 ต.มม.
1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 402 384 372 367 362 510 485 470 462 456
2 342 320 310 302 296 430 402 387 378 370
5

(ตอ) ตารางที่ 2.1 พิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 & 33 kV (ฉนวน XLPE)

3 302 280 270 262 257 378 359 336 327 320
4 281 258 246 240 234 350 320 307 297 290
5 260 237 226 220 214 323 295 280 272 265
6 245 223 212 205 200 305 277 263 254 248
7 233 210 200 193 188 290 262 248 240 233
8 221 200 190 183 178 275 248 235 227 220
9 212 190 180 175 170 263 237 224 216 210
10 204 184 174 168 163 253 228 215 207 201
หมายเหตุ
1. วงจรหมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 kV 3 เฟส 3 สาย (แตละเฟสใชสายจํานวน 1 เสน)
2. คาโหลดแฟคเตอร 100%
3. อุณหภูมิตัวนําสูงสุด 90 0 C
4. อุณหภูมิโดยรอบ 30 0 C

ตารางที่ 2.2 ตารางพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนาย 22 & 33 kV ขนาด 500 ต.มม. (ฉนวน


XLPE) วางใน Cable Trench

จํานวนวงจร 1 2 3 4
การแสทีก่ ําหนดตอ 775 580 510 450
วงจร(แอมป)
หมายเหตุ
1) วงจร หมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 & 33 kV 3 เฟส 3 สาย (แตละเฟสใชสาย 1 เสน)
2) ระยะหางระหวางวงจรตองไมนอยกวา 2 เทาของเสนผานศูนยกลางของสายไฟ และ จัดวางเคเบิล แบบ
สามเหลี่ยม(Trefoil)
3) คากระแสในตารางนี้คํานวณจากเอกสารทางเทคนิคของบริษัท ABB
6

รูปที่ 2.1 สายเคเบิ้ลใตดินแรงดันปานกลาง 22-33 KV

โครงสรางสายไฟ
1.Conductor (ตัวนํา) ทําหนาที่นํากระแสไฟฟา ทําจากอลูมิเนียมหรือทองแดง มีหลาย
ลักษณะดังนี้
1.1) Solid Conductor ใชเปนตัวนําของสายไฟฟาขนาดเล็ก ไมนิยมใชในสายขนาดใหญ
เนื่องจากดัดงอไดยาก
1.2) Round Strand Conductor (ตัวนําตีเกลียว) ใชเปนตัวนําของสายไฟฟาทั่วๆไปและ
1.3) Compact Strand Conductor (ตัวนําอัดแนน) ใชเปนตัวนําของสายไฟฟาหุมฉนวน
ทั่วๆไปโดยการนําตัวนําตีเกลียวมาบีบอัดใหมีขนาดเสนผานศูนยกลางเล็กลง เมื่อนําไปใชในสายหุมจะ ชวยลด
วัสดุที่นํามาหุมได
1.4) Segmental Conductor ใช ใ นสายเคเบิ ล ใต ดิ น ขนาดใหญ ที่ ต อ งการให มี Current
Carrying Capacity สูง แตละ Segment จะประกอบดวยตัวนําตีเกลียวแลวอัดใหเปนรูป Segment โดยแต
ละ Segment จะหุมดวยฉนวน ขอดีข องตัวนําชนิดนี้ก็คือมี AC Resistance ต่ํา เนื่องจาก Wire ในแตละ
Segment มีการ Transpose เขาออกระหวางสวนนอกและสวนในของตัวนํา ทําให Skin Effect Factor ต่ํา
1.5) Hollow Core Conductor ใชเปนตัวนําของ Oil Fill Cable โดยใชทอกลางตัวนําใน
การสงน้ํามัน ปจจุบันมีการนํามาใชกับสายเคเบิลใตดินที่ใช Solid Dielectric ที่ตองการนํากระแสสูงๆ โดยใช
น้ําหรืออากาศผานเขาไปในทอกลางตัวนําเพื่อระบายความรอน
2. Conductor Screen ทําจากวัสดุกึ่งตัวนําซึ่งอาจเปนผาอาบ Carbon หรือเปน Extrude
Layer ของสารสังเคราะหพวกพลาสติกผสมตัวนํา มีหนาที่ทําใหผิวสัมผัสของตัวนํากับฉนวนเรียบไมมี ชองวาง
ที่มีศักดาไฟฟาสูงตกครอมซึ่งเปนสาเหตุของการเกิด Partial Discharge
3. Insulation (ฉนวน) เป น ส ว นที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ของสายเคเบิ ล ใต ดิ น มี ห น า ที่ กั น ไม ใ ห
กระแสไฟฟาเกิดการรั่วไหลหรือลัดวงจรจนเกิดการสูญเสียตอระบบไฟฟา และอาจเกิดอันตรายตอบุคคลที่ไป
สัมผัสได คุณภาพของสายเคเบิลฯจะขึ้นอยูกับวัสดุที่ใชทําฉนวนซึ่งมีอยูดวยกันหลายชนิดเชน Polyvinyl
7

Chroride (PVC) หรือ Polyethylene (PE) ซึ่งนิยมใชในระบบแรงต่ํา, Oil Impregnated Paper, Crosslinked
Polyethylene (XLPE) และ Ethylene Propylene Rubber (EPR) ซึ่งนิยมใชในระบบแรงสูง
4. Insulation Screen ทําหนาที่เชนเดียวกับ Conductor Screen คือลดแรงดันไฟฟาตก
ครอม บริเวณผิวสัมผัสของ Insulation และ Metallic Screen วัสดุที่ใชทํา Insulation Screen จะเหมือนกับ
Conductor Screen
5. Metallic Screen ทําหนาที่เปน Ground สําหรับสายไฟฟาแรงสูงและเปนทางใหกระแส
ไฟฟาไหลกลับในกรณีที่เกิดการลัดวงจร บางครั้ง Metallic ยังทําหนาที่เปน Mechanical Protection หรือ
ทําหนาที่เปนชั้นกันน้ําในกรณีของสายเคเบิลใตน้ํา (Submarine Cable) หรือทําหนาที่รักษาความดันภาย ใน
สําหรับ Oil Fill Cable Metallic Screen อาจเปน Tape หรือ Wire ทําดวยทองแดงหรืออะลูมิเนียมหรือ
อาจจะเปน Lead Sheath (ปลอกตะกั่ว) หรือ Corrugate Aluminium Sheath (ปลอกอะลูมิเนียมลูกฟูก)
6. Reinforcement หรื อ Armour เป น ชั้ น ที่ เ สริ ม เพื่ อ ให ส ายเคเบิ ล มี ค วามทนทานต อ
Mechanical Force จากภายนอกที่อาจจะทําใหสายเคเบิลชํารุดเสียหาย โดยเฉพาะสายเคเบิลใตน้ําหรือสาย
เคเบิลที่ฝงดินโดยตรง บางครั้งยังใชเปนตัวรับแรงดึงในการลากสายดวย วัสดุที่ใชทําไดแก Steel Tape, Steel
Wire หรือ Aluminium Wire
7. Water Blocking Tape เปนชั้นที่เสริมขึ้นมาในกรณีของสายเคเบิลใตดินแรงสูงที่ใชใน
บริเวณที่ชื้นแฉะเพื่อปองกันน้ําไหลเขาไปตามแนวสายเคเบิลในกรณีที่ Jacket ของสายเคเบิลฯมีการชํารุด จาก
การลากสายทํ า ให ส ว นที่ เ ป น ฉนวนสั ม ผั ส กั บ น้ํ า เป น ระยะทางยาว สายเคเบิ ล จึ ง มี โ อกาสชํ า รุ ด สู ง Water
Blocking Tape นี้ทําจากสารสังเคราะหและมี Swellable Powder (สารที่ดูดซึมาเข น าไปแลวขยาย ตัว มี
ลักษณะเปนผงคลายแปง) โดยทั่วไปจะอยูระหวางชั้น Insulation Screen กับ Jacket
8. Laminated Sheath เปนชั้นกันน้ําตามแนวขวางในสายเคเบิลแรงสูงมีลักษณะเปนเทป
โลหะหุมดวย Plastic ทั้งสองหนาจากนั้นนํามาหอรอบ Ground Screen โดย Plastic ที่ผิวนอกและผิวใน ของ
เทปจะถูกละลายใหติดกันเปนเนื้อเดียวทําใหสามารถปองกันไมใหโมเลกุลของน้ําแพรผานเขาไปยัง ฉนวนได
9. Non Metallic Sheath หรือที่เรียกกันโดยทัว่ ไปวา Jacket ทําหนาที่ปองกันแรงกระแทก
เสียดสีตางๆขณะติดตั้งสายเคเบิล วัสดุที่ใชทํามี PVC, PE

2.1.3 รูปแบบการกอสราง
การกอสรางระบบจําหนายแรงสูงสามารถพิจารณารูปแบบการกอสรางไดหลายวิธี ซึ่งในแตละรูปแบบ
ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่หนางาน และคาใชจายในการกอสราง สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน
และ แบบ DUCT BANK ใชเมื่อสามารถเปดหนาดินไดแตสําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL
BORING แบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก และ แบบ PIPE JACKING ใช
ในกรณทีไม ส ามารถเปด หนา ดิน ได ซึ่ง รายละเอีย ดในการก อสรา งแตแ ละแบบมีรายละเอีย ดดังนี้ 3.2 การ
ออกแบบการสรางระบบเคเบิลใตดิน
8

แบบเปดหนาดิน
1.รอยทอฝงดิน (Semi Direct Burial)
การกอสรางวิธีนี้ใชกับงานกอสรางระบบจําหนายและระบบสง โดยนําทอที่สามารถดัด งอไดงายมาใช
คือ ทอ Corrugated หรือทอ HDPE หรือทอ RTRC ซึ่งการกอสรางตามวิธีนี้ จําเปนตองใช Concrete Spacer
Block บังคับทอดังกลาวเปนระยะ ๆ เพื่อ ชวยรักษาระยะหางระหวางทอ ใหมีระยะสม่ําเสมอกัน การกอสราง
วิธีนี้จะไมมีการหุมทอรอยสายดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก แตจะมี แผนคอนกรีตเสริมเหล็ก (Concrete Slab) ปด
ดานบน และเทปเตือนอันตราย (Warning Sign Strip) ดังรูป ที่ 3.1 และสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจาก
แบบมาตรฐานการกอสรางของ กฟภ. แบบเลขที่ SA1- 015/36017 การประกอบเลขที่ 7502

รูปที่ 2.2 รอยทอฝงดิน (semi-Direct Burial)

การกอสรางวิธีนี้จําเปนตองมีบอพักสาย (Manhole and Handhole) เชนเดียวกับการกอ สราง


ประเภท Duct Bank และตองมีหลักบอกแนวสายเคเบิลใตดิน (Cable Route Marker) แสดงตามแนว ทอ
ดวยการกอสรางชนิดนี้มีขอดี-ขอเสียดังนี้
ขอดี
1) มีคาใชจายในการกอสรางคอนขางสูงเนื่องจากทอ High Density Polyethylene (HDPE) และ
อุปกรณที่ใชคอนขางมีราคาแพงแตถูกกวาการกอสรางประเภท Duct Bank
2) ระยะเวลาในการกอสราง นอยกวาการกอสรางประเภท Duct Bank
3) ความสามารถในการระบายความรอนดีกวาการกอสรางประเภท Duct Bank
4) ในกรณีที่ใชทอ Corrugated การดัดโคงเมื่อพบอุปสรรคจะทําไดงายกวาการกอสราง ประเภท
Duct Bank
5) การเปลี่ยนขนาดสายเคเบิลใตดิน การเปลี่ยนสายเคเบิลใตดินที่ชํารุดและการเพิ่มจํานวนวงจร
สามารถทําไดสะดวกโดยการลากสายเคเบิลใตดินใหมในทอ Spare ที่ออกแบบเตรียมไว
9

ขอเสีย
1) ทอรอยสายอาจไดรับความเสียหายจากการถูกขุดเจาะ รวมทั้งการเกิดการ Slide ของดิน ทําใหทอ
รอยสายเสียหายได แตก็ยงั สามารถชวยปองกันอันตรายที่จะเกิดกับสายเคเบิลใตดินไดพอควร
2) ในกรณีทใี่ ชทอ High Density Polyethylene (HDPE) เปนทอรอยสายเคเบิลใตดิน เมื่อ เกิด
กระแสลัดวงจรในสายเคเบิลใตดินจะเกิดความรอนสูง สามารถทําใหทอ หลอมละลาย เกิดความเสีย หายและ
ยากตอการบํารุงรักษาเนือ่ งจากไมสามารถลากสายเคเบิลใตดนิ ออกมาได
2.Duct Bank
การกอสรางวิธีนี้ใชกับงานกอสรางในระบบจําหนายและระบบสงลักษณะการกอสราง แบบใชทอ
HDPE (High Density Polyethylene) หรือทอ RTRC (Reinforced Thermosetting Resin Conduit) แลว
หุมทับดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งเปนการปองกันจากผลกระทบทางกล (Mechanical Protection) ใชกับสาย
เคเบิ ล ใต ดิน ได อย างดี ดังรูป ที่ 3.1 และสามารถดูร ายละเอีย ดเพิ่ มเติม ได จากแบบ มาตรฐานการกอสราง
ของกฟภ. แบบเลขที่ SA1-015/31016 การประกอบเลขที่ 7201

รูปที่ 2.3 การกอสรางแบบ Duck Bank

การกอสราง Duct Bank ไมนยิ มใชทอ ลูกฟูก (Corrugated) เนื่องจากทอชนิดนี้ดัดงองาย เมือ่ เท


คอนกรีตทอจะลอยตัวในน้ําคอนกรีตทําใหทอไมเปนแนวตรงจะเกิดปญหาในการรอยสายเคเบิลใต ดิน การกอ
สราง Duct Bank นี้จะตองมีบอ พักสาย (Manhole หรือ Handhole) เปนระยะๆ สําหรับใชใน ตอสาย ตอ
แยกสาย หรือในกรณีที่แนวสายเคเบิลใตดินหักมุม ซึ่งควรมีหลักบอกแนวสาย เคเบิลใตดิน (Cable Route
Marker) แสดงตามแนว Duct Bank ดวย การกอสรางชนิดนีม้ ีขอดี-ขอเสียดังนี้
ขอดี
1) ความปลอดภัยของสายเคเบิลใตดินสูงมากเนื่องจาก Duct Bank อาจไดรับความเสีย หายจากการ
ขุดเจาะแตคอนกรีตเสริมเหล็กที่หุมทออยูจะชวยปองกันทอรอยสายรวมทั้งสายเคเบิลใตดิน ไดทําใหระบบมี
ความมั่นคง (Reliability) สูง
2) จัดวางสายเคเบิลใตดินเปนจํานวนมาก ๆ ไดงายกวา
10

3) การเปลี่ยนขนาดสายเคเบิลใตดิน การเปลี่ยนสายเคเบิลใตดินที่ชํารุดและการเพิ่มจํานวนวงจร
สามารถทําไดสะดวกโดยการลากสายเคเบิลใตดินใหมในทอ Spare ที่ออกแบบเตรียมไว
4) เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรขึ้น เนื่องจากทอถูกหุมทับดวยคอนกรีตเสริมเหล็กซี่งมีความ แข็งแรง
ทนทาน ทําใหสามารถปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับสายเคเบิลใตดินไดไมทําใหสายเคเบิลใตดิน อื่นๆ ที่วางใกล
กันเสียหาย
ขอเสีย
1) มีคาใชจายในการกอสรางสูง เนื่องจากทอรอยสายเคเบิลใตดินทั้งหมดหมดดวยคอนกรีต เสริม
เหล็กและจําเปนตองมีบอพักสายเพื่อใหลากสายเคเบิลใตดินได นอกจากนี้ยังตองขุดรองขนาดกวาง เพราะ
โครงสรางของทอรอยสายมีขนาดใหญ
2) ความสามารถในการระบายความรอนต่ํา จึงมีผลทําใหสายเคเบิลใตดินนํากระแสไดต่ํา
3) ใชระยะเวลาในการกอสรางนานมาก
4) การดัดโคงเมื่อพบอุปสรรคทําไดลําบาก(ตองใชระยะทางยาว)
5) ในกรณีที่ใชทอ HDPE เปนทอรอยสายเคเบิลใตดิน เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรในสาย เคเบิลใตดินจะ
เกิดความรอนสูง ทําใหทอหลอมละลายรวมกับสายเคเบิลใตดิน เกิดความเสียหายไดซึ่งมี ผลทําใหเกิดความ
ยากตอการบํารุงรักษาเนื่องจากไมสามารถลากสายเคเบิลใตดินออกมาได
แบบไมเปดหนาดิน
1.HORIZONAL DIRECTIONAL DRILLING
การกอสรางวิธีนี้ใชกับงานกอสรางระบบจําหนายโดยใชทอ High Density Polyethylene (HDPE) ลักษณะ
การกอสรางจะเปนแบบไมตองเปดหนาดิน การกอสรางวิธีนี้จะไมมีการหุมทอรอยสาย ดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก
และไมมีแผนคอนกรีตเสริมเหล็ก (Concrete Slab) ปองกันสายเคเบิลใตดิน การกอสรางแบบนี้จําเปนตองมี
บอพักสาย (Manhole and Handhole) เชนเดียวกับการกอสรางประเภท Duct Bank และตองมีหลักบอก
แนวสายเคเบิลใตดิน (Cable Route Marker) แสดงตามแนวทอดวย และสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจาก
แบบมาตรฐานการกอสรางของ กฟภ. แบบเลขที่ SA1- 015/37022 การประกอบเลขที่ 7504 การกอสรางวิธนี ี้
มีขอดี-ขอเสียดังนี้

รูปที่ 2.4 การกอสรางแบบ HDD


11

ขอดี
1) เนื่องจากสามารถดําเนินการกอสรางเปนชวงๆไดและไมตองขุดรอง จึงทําใหลดปญหา เกี่ยวกับ
การจราจรได
2) ระยะเวลาในการกอสราง นอยกวาการกอสรางประเภท Duct Bank
3) ความสามารถในการระบายความรอนดีกวาการกอสรางประเภท Duct Bank
4) การเปลี่ยนขนาดสายเคเบิลใตดิน การเปลี่ยนสายเคเบิลใตดินที่ชํารุดและการเพิ่มจํานวนวงจร
สามารถทําไดสะดวกกวาการกอสรางดวยวิธีฝงดินโดยตรงโดยการลากสายเคเบิลใตดินใหมในทอ Spare ที่
เตรียมไว
5) เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรขึ้น ไมทําใหเคเบิลอื่นๆ ที่วางใกลกันเสียหาย
ขอเสีย
1) มีคาใชจายในการกอสรางสูง เนื่องจากตองใชเครื่องจักรเฉพาะ และอุปกรณที่ใชมีราคาคอนขาง
แพง
2) เหมาะกั บ การก อ สร า งที่ มี จํ า นวนวงจรน อ ยๆทั้ ง นี้ จํ า นวนวงจรขึ้ น อยู กั บ ความสามารถ ของ
เครื่องจักรในการลากทอ
3) ทอรอยสายอาจไดรับความเสียหายจากการถูกขุดเจาะ รวมทั้งการเกิดการทลาย (Slide) ของดิน
ทําใหทอรอยสายเสียหายได
4) เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรในสายเคเบิลใตดินจะเกิดความรอนสูง สามารถทําใหทอหลอม ละลายเกิด
ความเสียหายและยากตอการบํารุงรักษาเนื่องจากไมสามารถลากสายเคเบิลใตดินออกมาได
2. PIPE JACKING
การกอสรางวิธีนี้ใชกับงานกอสรางระบบจําหนาย และสายสง ลักษณะการกอสรางจะเปน แบบไมเปด
หน า ดิ น การก อ สร า งแบบใช ท อ ร อ ยสาย High Density Polyethylene (HDPE) หรื อ ท อ Reinforced
Thermosetting Resin Conduit (RTRC) รอยอยูภายในทอเหล็กขนาดใหญและฉีดซีเมนต หยาบภายในทอ
เหล็ ก หุ ม ท อ ร อยสาย ดั ง รู ป ที่ 3.5 และสามารถดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ไดจ ากแบบมาตรฐาน การก อ สราง
ของกฟภ. แบบเลขที่ SA1-015/44018 การประกอบเลขที่ 7506

รูปที่ 2.5 การกอสรางแบบ PIPE JACKING


12

ขอดี
1) เนื่องจากสามารถดําเนินการกอสรางเปนชวงๆไดและไมตองขุดรอง จึงทําใหลดปญหา เกี่ยวกับ
การจราจรได
2) ความปลอดภัยของสายเคเบิลใตดินสูงมาก เนื่องจากมีทอเหล็กและซีเมนตหยาบหุมทอ อยูจะชวย
ปองกันทอรอยสายรวมทั้งสายเคเบิลใตดินไดทําใหระบบมี Reliability ดี
3) รอยสายเคเบิลใตดินเปนจํานวนมากๆ ไดงา ยกวา
4) การเปลี่ยนขนาดสายเคเบิลใตดิน การเปลี่ยนสายเคเบิลใตดินที่ชํารุดและการเพิ่ม จํานวนวงจร
สามารถทําไดสะดวกโดยการลากสายเคเบิลใตดินใหมรอยในทอ Spare ที่ออกแบบเตรียมไว
ขอเสีย
1) คาใชจายในการกอสรางสูง เนื่องจากตองใชเครื่องจักรเฉพาะ และอุปกรณที่ใชคอนขางมีราคาแพง
2) ความสามารถในการระบายความรอนต่ํา จึงมีผลทําใหสายเคเบิลใตดินนํากระแสไดต่ํา
3) การดัดโคงเมื่อพบอุปสรรค ทําไดลําบากมาก (ตองใชระยะทางยาว)
4) ในกรณีที่ใชทอ HDPE เปนทอรอยสายเคเบิลใตดิน เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรในสาย เคเบิลใตดินจะ
เกิดความรอนสูง สามารถทําใหทอหลอมละลาย เกิดความเสียหายและยากตอการบํารุง รักษาเนื่องจากไม
สามารถลากสายเคเบิลใตดินออกมาได

2.2 วัสดุอุปกรณระบบไฟฟาใตดิน

2.2.1 ทอรอยสายเคเบิล ตองพิจารณาเลือกใชทอรอยสายเคเบิลใหมีความเหมาะสมกับรูปแบบการ


กอสรางแตละแบบดังนี้
1) กรณี ก อ สร า งแบบร อ ยท อ ฝ ง ดิ น ท อ ร อ ยสายที่ ใ ช ส ามารถเลื อ กใช ไ ด ทั้ ง ท อ โพลิ เ อทิ ลี น ความ
หนาแนนสูง ชั้นคุณภาพ PN 6.3 ทอไฟเบอรกลาส หรือทอ Corrugated โดยขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน
ของทอ ตองไมนอยกวา 140 มม.
2) กรณีกอสรางแบบ DUCT BANK หรือ PIPE JACKING ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพ
ลิ เอทิลีน ความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 6.3 หรือ ทอไฟเบอรกลาส โดยขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน
ของทอตองไมนอยกวา 140 มม.
3) กรณีกอสรางแบบ DIRECTIONAL BORING ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน ความ
หนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 8 หรือ PN 10 ขึ้นอยูกับระดับความลึกในการออกแบบโดยความลึก มากที่สุดของ
ทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 8 และPN 10 พิจารณาจากตารางที่ 2.3
13

ตารางที่ 2.3 ตารางระดับความลึกมากที่สุดของการใชทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง

ขนาดทอ (มม.) ระดับความลึกมากที่สุด (ม.)


ชั้นคุณภาพ PN6.3 ชั้นคุณภาพ PN8 ชั้นคุณภาพ PN10
75 2 4.2 8.2
90 2 4.2 8.2
110 2 4.2 8.2
125 2 4.2 8.2
140 2 4.2 8.2
160 - 2 4.0
180 - 2 4.0
200 - 2 4.0

ทอรอยสายเคเบิลที่ใชในงานกอสรางเคเบิลใตดินมีหลายชนิดเชน ทอ HDPE ,ทอ Corrugate และ


ทอ Fiberglass หรือทอ RTRC ทอแตละชนิดจะมีคุณสมบัติทดี่ ีแตกตางกันไปดังนี้
1 ทอ HDPE (High-Density Polyethylene )
ทอชนิดนีใ้ ชในงานรอยสายเคเบิลใตดินกันมากที่สุดใน กฟภ. เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีหลาย อยางเชน
ความสามารถรับแรงกดไดดีมีผผู ลิตหลายราย และราคาถูกกวาทอชนิดอื่นๆ ทอชนิดนี้ผลิตขึน้ ตาม มอก. 982
ดิน ขนาดของทอกําหนด ตามขนาดของ Outside Diameter แบงออกไดหลายชั้นคุณภาพ แตที่ กฟภ.ใชอยู
คือชั้นคุณภาพ PN 6.3 ขนาด 160 มม. ดังรูปที่ 2.6

รูปที่ 2.6 HDPE (High-Density Polyethylene)

การตอทอ HDPE มีทั้งแบบใชขอ ตอสวม(Coupling) และแบบเชื่อมดวยความรอน (Welding) ดังรูปที่ 2.7


14

รูปที่ 2.7 ขอตอแบบสวม(Coupling) และการตอแบบเชื่อมดวยความรอน (Welding)

2 ทอ Corrugate หรือทอลูกฟูก


ทอชนิดนี้เปนทอที่ทํามาจาก High-Density Polyethylene มีลักษณะเปนลูกฟูก โคงงอได
งาย ใน การขนสงจะมวนมาเปนขดยาวประมาณ 50 –100 เมตร ดังรูปที่ 2.8

รูปที่ 2.8 ทอ Corrugate

2.2.2 จํานวนทอรอยสาย
ในการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาแบบใตดินนั้น ผูออกแบบควรที่จะออกแบบเผื่อในอนาคต
กรณีที่ความตองการใชกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้นหรือเพื่อการบํารุงรักษาดังนั้นจึงควรที่จะมีทอสํารองไวสําหรับ
จํานวนทอรอยสายใหพิจารณาใหเหมาะสมกับจํานวนวงจรและทอสํารองดังตารางที่ 2.4

ตารางที่ 2.4 ตารางแนะนําจํานวนทอสํารอง


จํานวนทอใชงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
จํานวนทอสํารอง 1 1 1 2 1 2 2 2 3 2 4 3 5 4 6
จํานวนทอกอสราง 2 3 4 6 6 8 9 10 12 12 15 15 18 28 21
15

2.2.3 บอพักสายใตดิน
ตองพิจารณาบอพักสายใตดิน ใหขนาดมีความเหมาะสมกับจํานวนวงจร โดยพิจารณาเลือกแบบ 2T-1
, 2T-2 , 2T-3 หรือ 2T-8 ตามแบบมาตรฐานของกฟภ. โดยระยะหางของบอ พักสายใตดินไมควรเกิน 250
เมตร
1 Type 2T - 1 และ 2T - 2 ใชสําหรับเปนจุดตอแยกสายเคเบิลใตดิน และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใต
ดิน บริเวณปากทาง หรือทางแยก โดยสามารถรับเคเบิลใตดินไดสูงสุด12 วงจรดังรูปที่ 2.9 และ 2.10

รูปที่ 2.9 บอสายพักชนิด 2T-1

รูปที่ 2.10 บอสายพักชนิด 2T-2


16

2 Type 2T - 3 ใชสําหรับเปนจุดตอสายเคเบิลใตดินทางตรงและการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดนิ บริเวณ


หนาสถานีไฟฟา หรือแยกถนน สามารถรับเคเบิลใตดินไดสูงสุด 12 วงจรดังรูปที่ 2.11

รูปที่ 2.11 บอสายพักชนิด 2T-3

3.Type 2T – 8 ใชสําหรับเปนจุดตอแยกสายและการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดิน บริเวณปากทาง หรือ


ทางแยก สามารถรับเคเบิลใตดนิ ไดสูงสุด 4 วงจรดังรูปที่ 2.12

รูปที่ 2.12 บอสายพักชนิด 2T-8


17

หมายเหตุ
-กรณีที่กอสรางในพื้นที่เขตทางหลวงใหปฏิบัติตามขอกําหนดของกรมทางหลวงดังนี้
-ใหดานขางของบอพักสายดานที่อยูชิดเขตทางหลวงอยูหางจากแนวเขตทางหลวง 3.50 เมตร
- ใหดานบนของบอพักสายลึกจากผิวจราจรอยางนอย 3.50 เมตร ทุกกรณีไมวาระดับดินเดิมจะเปน
อยางไร
-กรณีบอพักต่ํากวาดินเดิมใหตอคอบอเสมอดินเดิม

2.2.4 เสาตน Riser


ตองพิจารณาออกแบบเสาตน Riser Pole สําหรับจุดที่มีการเปลี่ยนชนิดของสายจากสายเหนือดิน
เป น เคเบิ ล ใต ดิ น โดยการติ ด ตั้ ง เสาต น Riser Pole ให พิ จ ารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA4-
015/35003 (การประกอบเลขที่ 7603) หรือแบบมาตรฐานเลขที่ SA4-015/35013 (การประกอบเลขที่ 3418)
ดังรูปที่ 2.13

รูปที่ 2.13 เสาตน Riser

สวนมาการกอสรางระบบเคเบิลใตดิน มักจะกอสรางภายในเขตตัวเมือง เพื่อตองการความสวย งาม


ความมั่นคงและปลอดภัยจากสิ่งแวดลอมภายนอก ดังนั้นที่ตําแหนงจุดที่สิ้นสุดของการกอสราง แบบระบบ
เคเบิลใตดิน หากทําเปนลักษณะกอสรางแบบวางพื้น (On Ground) โดยไมใชเสา จะตองกิน พื้นที่มาก และไม
เหมาะสม แตถาทําเปนลักษณะเสารับหรือที่เรียกวา Cable Riser Pole จะใชพื้นที่นอยกวา และไมกีดขวาง
18

และกลมกลืนกับสภาพแวดลอมมากกวา ดังนั้นปจจุบันจุดขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน กฟภ. จะใชเปนเสา คอร.


โดยสําหรับการติดตั้งตามแนวสาย ถาเปนระบบจําหนาย 22 และ 33 kV จะใช เปนเสา คอร. เดี่ยว
1) หนาที่และอุปกรณที่สําคัญที่ติดตั้งบน Cable Riser Pole
Cable Riser Pole ระบบ 22 และ 33 kV
1. สวิตชตัดตอนแรงสูงหนึ่งขา 22 kV หรือ 33 kV ขนาด 600 A ชนิดติดตั้งในสถานี เปลี่ยน
แรงดัน พรอมอุปกรณติดตั้งสวิตชตัดตอนแรงสูง (Disconnecting Switch, Station class and Mounting
Accessories) เปนอุปกรณใชตัดตอนวงจร ไฟฟาในขณะที่ไมมีกระแสไฟฟา (โหลด) โดยวิธีใช ไมชักฟวส ซึ่งมี
ระดับ BIL เชนเดียวกับที่อยูในสถานีไฟฟา โดยยึดใหมั่นคงเขากับอุปกรณติดตั้งสวิตช

รูปที่ 2.14 สวิตซตัดตอนแรงสูง

2.กั บ ดั ก เสิ ร จ (Lightning Arrester) ทํ า หน า ที่ ป อ งกั น ไม ใ ห ฉ นวนของสายเคเบิ ล ใต ดิ น
เสียหายเนื่องจากแรงดันเสิรจ (แรงดันสูงจากฟาผา จากการสับสวิตชหรืออื่นๆ) โดยจะรักษาระดับ แรงดันไว
ไมใหมีคาเกินกวาที่ฉนวนของสายเคเบิลใตดินหรืออุปกรณทนได ปจจุบันกับดักเสิรจที่ กฟภ. ใชงานอยูใน
ระบบจําหนาย 22 kV จะมีคาพิกัดแรงดัน(Ur) 20 - 21 kV สําหรับระบบจําหนาย 22 kV ที่ไมมีการตอลงดิน
ผานความตานทานที่สถานี
- กรณีติดตั้ง Cable Riser Pole หนาสถานีไฟฟา ใชขนาด 10 kA
- กรณีติดตั้ง Cable Riser Pole ในไลนระบบจําหนาย ใชขนาด 5 kA

. 3.หัวเคเบิล (Terminator or Cable Riser) สําหรับสายเคเบิลใตดิน 22 kV หรือ 33 kV ทํา


หนาที่กระจายสนามไฟฟาเนื่องจากผลของสนามไฟฟาเบี่ยงเบน ไมใหมีสนามไฟฟาหนาแนนที่ปลายสายตัวนํา
ตอลงดิน ( Shield) ลด Stress ที่เกิดที่ปลายสาย Shield ซึ่งจะทําเปน Stress Relief Cone หรือ ใช High
Permittivity Material ก็ได ณ ตําแหนงปลายสาย Shield
19

รูปที่ 2.15 ตัวอยางรูปแบบเสาตนขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน ระบบ 22 kV และ 33 kV

4.หวงรัดสาย (Cable Grip) สําหรับสายเคเบิลใตดิน 22 kV หรือ 33 kV ทําหนาที่ รัดสาย


เคเบิลจํานวน 3 เสนเขาดวยกัน (เพื่อที่จะไดไมมีผลจากฟลักซแมเหล็ก ทําใหไมเกิดความรอน เพิ่มขึ้นที่สาย
เคเบิ้ลใตดิน) แลวแขวนยึดดวยสลักเกลียวเขากับเสา คอร. เหตุผลเพื่อเปนตัวชวยรับน้ําหนักใน แนวดิ่งของ
สายเคเบิลฯ ทั้ง 3 เสน ทําใหไมมีแรงดึงไปกระทํากับสวนที่ตออยูกับหัวเคเบิล (termination) ได
5. Airseal Compound ใชสําหรับอุดชองวางบริเวณที่สายเคเบิลฯ โผลออกจากปลาย ทอ
รอยสาย เพื่อปองกันไมใหน้ําเขาไปในทอรอยสาย
6.ท อ เหล็ ก กล า เคลื อ บสั ง กะสี หรื อทอ HDPE PN 6.3 มอก.982 ใช สํ า หรั บ ป องกัน สาย
เคเบิลฯ ทางดานแรงกล สัตว หรือน้ําเขาสายเคเบิลฯ โดยตรง ซึ่งทอเหล็กกลา สามารถใชรอยสาย เคเบิลฯ
จํานวน 3 เสนตอทอได เนื่องจากไมมีผลจาก ฟลักซแมเหล็ก ทําใหไมเกิดความรอนขึ้นที่สาย เคเบิลฯ
7. โครงเหล็กกันทอรอยสาย (Conduit Steel Guard) ใชสําหรับปองกันทอรอยสาย ซึ่งจะ
เปนการปองกันสายเคเบิลฯ ไปในตัว ซึ่งจะบอกใหบุคคลหรือรถ ที่สัญจรผานไปมา ไดทราบวา ณ จุดนี้ ไดมี
การติดตั้งทอรอยสายขึ้น ซึ่งจะไดเพิ่มความระมัดระวังขึ้น ขณะที่กําลังจะสัญจรผานจุดดังกลาว โดยทั่วไปนิยม
ติดตั้งในทิศตรงขามกับการจราจร
8.สายตอลงดินและแทงหลักดิน (Ground Wire and Ground rod) จะมีความสําคัญ เปน
อยางยิ่ง เนื่องจากสายตอลงดินจะเปนตัวนํากระแสฟาผาหรือกระแสลัดวงจรลงดิน และแทงหลักดิน จะชวย
กระจายประจุฟาผาหรือนํากระแสลัดวงจรที่เกิดขึ้น ผลที่ตามมาคือ จะทําใหเกิดแรงดันมีคาระดับ ตางกันใน
แตละจุดภายในสายตอลงดินบน Cable Riser Pole ดังนั้นถาสายตอลงดินขาดหรือหลุด จะทํา ใหไมมีจุด
กราวดอางอิง ทําใหเกิดแรงดันสูงครอมอุปกรณบน Cable Riser Pole เกินกวาที่อุปกรณทนได เกิดการ
Breakdown ตามมาในที่สุด
20

9.ทอ PVC แข็ง พรอมอุปกรณยึด ใชสําหรับสวมสายตอลงดิน เพื่อปกปดไมให บุคคล


สัมผัสสายโดยตรง ซึ่งเมื่อเกิดฟาผาหรือลัดวงจรขึ้น เมื่อบุคคลไปสัมผัสโดยตรงในเวลานั้น จะทํา ใหเกิด
อันตรายเนื่องจากแรงดันสัมผัสขึ้นได
2) ขอคํานึงถึงในการติดตั้งเสาตนขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน (Cable Riser Pole)
1.ตําแหนงที่ติดตั้งตองบํารุงรักษาไดงาย ซึ่งหากจําเปนตองติดตั้งในที่ลุมที่มีน้ําขังตลอด หรือ
มีโอกาสที่น้ําจะทวมถึง ตองเทคอนกรีตหุมโคนเสาเพื่อทําเปนฐานรองโครงเหล็กกั้นและเลื่อนตําแหนงขอตอทอ
รอยสายขึ้น
2.ตําแหนงติดตั้งหากไมใชบนพื้นทางเทาหรือพื้นคอนกรีต แตเปนพื้นดินที่มีหญาปกคลุม
หนาแนน ในกรณีระบบจายยไฟฟา 22-33 kv ให ใชทอรอยสายขึ้นเปนทอเหล็กกลาเคลือบสังกะสี(RSC) และ
ใชหินเบอร 2 เทบริเวณรอบโคนเสารัศมีประมาณ 3 เมตร เพื่อปองกันไฟไหมหรือสัตวอื่นๆกัดทอรอยสายและ
อุปกรณที่ติดตั้งอยูเหนือขึ้นไปได

รูปที่ 2.16 กรณีไมมหี ญาขึน้ ปกคลุมหนาแนน

3.การติดตั้งที่มรี ะบบจําหนายหลายวงจร ใหตดิ ตั้งแยกเปนวงจรละตนเสาไมใหรวมสองวงจร


บนเสาตนเดียวกัน เพื่อความมัน่ คงของระบบไฟฟา ยกเวนเสาตนนั้นมี Incoming หนึง่ วงจร แตมี Outgoing
สองวงจร ใหตดิ ตั้งบนเสาตนเดียวกันได (ติดตั้งกับดักเสิรจ 1 ชุด และหัวเคเบิลฯ 2 ชุด)
4.การตอเชื่อมกับระบบสายอากาศ ตองไดตามขอกําหนดไมผิดมาตรฐาน กฟภ.
5.แคลมปประกับสายเคเบิลฯ หวงรัดสาย (Cable Grip) ที่รดั สายเคเบิลฯ บริเวณปลายท
รอยสายขึ้น ตองสามารถยึดจับไดอยางมั่นคง รวมถึงการจัดเรียงทอขึ้นเสาควรมีการทํา Mark ทอรอยสาย
รวมถึงภายในบอพักสายดวย
6.Airseal Compound ตองอุดไมใหมีชอ งวางเกิดขึ้น และทอรอยสายที่ไมไดใชงานใหปด
ดวยฝา (End Cap)
21

รูปที่ 2.17 Airseal Compound

2.2.5 การติดตัง้ มิเตอรแรงสูงการออกแบบการติดตั้งมิเตอรแรงสูง


ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/39011 (การ ประกอบเลขท 7702)สําหรับ
ติดตั้งภายในอาคารและ ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/39012 ( การประกอบเลขที่7703) สาหรับติดตัง้
ภายนอกอาคารดังรูปที่ 2.20

รูปที่ 2.18 การติดตั้งมิเตอรแรงสูง


22

2.2.6 การติดตัง้ หมอแปลงระบบจําหนาย


ในระบบการจายไฟฟาใหกับผูใชไฟ จะแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ การจายไฟแบบระบบ
เหนื อ ดิ น (Overhead Line System) และ การจ า ยไฟแบบระบบเคเบิ ล ใต ดิ น (Underground Cable
System) ซึ่งในกรณีการจายไฟแรงสูงแบบระบบเหนือดินใหกับผูใชไฟทั่วไปหรือเฉพาะผูใชไฟ และผูใช ไฟรับ
ไฟฟาแรงต่ําเปนแบบเหนือดิน จะเปนรูปแบบปกติที่ใชกันอยูทั่ว ไป โดยทางดานแรงสูงมีเพียง 1 สายปอน มี
หมอแปลงไฟฟาทําหนาที่แปลงแรงดันไฟฟาลง (Step down) จากแรงดันระบบจําหนาย 22 kV เปนระบบ
จําหนายแรงต่ํา 400/230 V และมีอุปกรณปองกันทางดานแรงสูงเปนดรอพเอาทฟวส คัทเอาท ( Fuse Cut-
out Open Type) สวนทางดานแรงต่ําจะเปนฟวสสวิตชแรงต่ํา โดย อุปกรณทั้งหมดทีก่ ลาวมาจะติดตั้งอยูบ น
เสา คอร. ซึ่งจะเปนเสา คอร. เดี่ยว หรือเสา คอร. คู ก็ขึ้นอยูกับ ขนาดของหมอแปลง ดังนั้นรูปแบบการจายไฟ
แบบนี้ จึงไมคอยยุงยาก ซับซอน เนื่องจากทางดานแรงสูง มีเพียง 1 สายปอน ยังไมไดมีการพิจารณาถึงการ
เลือกจายไดของวงจรสายปอน ยิ่ง ถาหากเปนระบบการ จายไฟใหญๆ แลว เชน แบบตาขาย (Network
System) แบบลูป (Loop System) จําเปนตองมีการพิจารณาถึงการถายเทโหลด การเลือกวงจรสายปอน
การสับจายกลับคืนหรือตัดสวนที่ฟอลตออกไปจากระบบ ไดรวดเร็ว เปนตน ซึ่งจะเปนการเพิ่มความมั่นคง
ใหกับระบบไฟฟามากขึ้น
อุปกรณตัวหนึ่งที่จะนํามาใชในระบบไฟฟา ที่สามารถจายไฟฟาใหกับผูใชไฟได หลายทิศทาง (เลือก
จายไดของวงจรสายปอน) มีความสวยงามกลมกลืนกับสภาพแวดลอม การจายและ ดับไฟเพื่อบํารุงรักษางาย
รวมถึงมีความมั่นคงระบบไฟฟาสูง แทนการจายไฟระบบ 1 สายปอน ก็คือ “ Compact Unit Substation

รูปที่ 2.19 แสดง Compact Unit Substation

1) การออกแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการติดตั้งหมอแปลง
ระบบจําหนาย ดังนี้
1.ใหติดตั้งหมอแปลงในสถานีไฟฟาขนาดยอม (Compact Unit Substation) บนทางเทา
ในกรณีที่มีพื้นที่เพียง พอในการติดตั้ง
2.ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และแผงเมนสวิตซแรงตา ในพื้นที่ของผูใชไฟฟา ซึ่ง ผูใช
ไฟสามารถจัดเตรียมพื้นที่ใหกฟภ. ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา
23

3.ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงตา ในพื้นที่


ที่กฟภ. จัดหา เฉพาะโดยการซื้อหรือเชาพื้นทีเ่ อกชน ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทาง เทาและไมสามารถ
ใช พื้นที่ของผูใชไฟได
4.ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และแผงเมนสวิตซแรงตา ในหองใตดนิ
ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทาและไมสามารถใชพื้นที่ของผูใชไฟไดรวมทั้งกฟภ. ไมสามารถจัดหา
พื้น ที่เฉพาะโดยการซื้อหรือเชาพื้นที่เอกชนได แตตองการความเรียบรอย สวยงาม และปลอดภัย
5.ให ติ ด ตั้ งหมอ แปลงพร อม RMU (Ring Main Unit) บนนั่ ง ร า นเสาคู ห รื อติ ดติ ด ตั้งหมอ
แปลง บนนั่งราน เสาคูโดยติดตั้ง RMU (Ring Main Unit) แยกในตําแหนงที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่หรือ
ขอจํากัดทาง เทคนิคโดยใหเลือกตําแหนงที่อยูใน ซอย หรือถนนยอย หรือตําแหนงที่เหมาะสม และติดตั้งแผง
เมน สวิตซแรงต่ําาในบริเวณที่เหมาะสมทางเทคนิคในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา

2) อุปกรณที่สําคัญใน Unit Substation


1.หองดานแรงสูง (High-voltage room) ถูกบรรจุดวย Ring Main Unit (RMU) โดย Ring
Main Unit เปนบริภัณฑไฟฟาระดับแรงดันปานกลาง (22-33 kV) สําหรับใชจายไฟฟากับ ระบบ Open Loop
แกผูใชไฟฟาโดยมีใชมากในระบบเคเบิลใตดิน เปนอุปกรณที่สามารถเปดปดวงจร ขณะมีโหลดได และสามารถ
ติดตั้งอุปกรณปองกันทางดานโหลดไดแลวแตความตองการ โดยทั่วไป RMU สามารถแบงออกเปน 3 ชนิด
ดังนี้
- Air Insulated and Air Interrupter Ring Main Unit
Ring Main Unit ชนิดนี้ใชอากาศเปนฉนวนทางไฟฟาระหวางบัสบาร และใชเปน ตัวดับ
อารกที่เกิดจากการตัดวงจรขณะมีโหลด จึงทําให Ring Main Unit มีขนาดใหญมาก ตองการการบํารุงรักษาสูง
อายุการใชงานต่ําแตมีราคาถูก และซอมบํารุงรักษางายไมซับซอน
- Air Insulated and Oil ,Vacuum , SF6 Interrupter Ring Main Unit
Ring Main Unit ชนิ ด นี้ ใ ช อ ากาศเป น ฉนวนทางไฟฟ า ระหว า งบั ส บาร ใชามั
น น หรื อ
สุญญากาศ หรือ SF6 เปนตัวดับอารกที่เกิดจากการตัดวงจรขณะมีโหลด จึงทําให Ring Main Unit มีขนาด
เล็กลงกวาแบบที่ 1 ประมาณ 2 เทา ตองการการบํารุงรักษาสูง อายุการใชงานสูงขึ้น
- SF6 Insulated and Vacuum , SF6 Interrupter Ring Main Unit
Ring Main Unit ชนิดนี้ใช SF6 เปนฉนวนทางไฟฟาระหวางบัสบาร ใช สุญญากาศ หรือ
SF6 เปนตัวดับอารกที่เกิดจากการตัดวงจรขณะมีโหลด จึงทําให Ring Main Unit มี ขนาดเล็กลงกวาแบบที่ 1
ประมาณ 4 เทา อายุการใชงานสูงประมาณ 30 ป ไมตองการการบํารุงรักษา
ซึ่งตามขอกําหนดของ กฟภ. หองดานแรงสูง (High-voltage room) จะถูกบรรจุดวย Ring
Main Unit ที่ใช SF6 เปนฉนวน (SF6-insulated Ring Main Unit (RMU)) มีดัชนีการปองกันระดับ IP 34
โดยด า นแรงสู ง (Medium Voltage) จะประกอบด ว ย 2 ส ว นคื อ ด า นสวิ ต ช ส ายป อ น
(Cable feeder switch) สวนใหญจะมี 2-3 ชุด ใชสายเคเบิลใตดิน ชนิด XLPE ขนาด 240 ต.มม. เปนสาย
24

ปอน และดานสวิตชหมอแปลง (Transformer feeder switch) จะมีไมเกิน 2 ชุด ใชสายเคเบิลใตดิน ชนิด


XLPE ขนาด 50 ต.มม. เปนตัวเชื่อมระหวางสวนแรงสูงกับสวนหมอแปลง
2.หองหมอแปลง (Transformer room) มีดัชนีการปองกันระดับ IP34 ที่หองควร จะมีการ
ระบายอากาศแบบ ONAN และมีซีลปดปองกันสัตวอื่นๆ โดยหมอแปลงที่ใชจะเปนชนิดแบบ “Three-
phase, oil- immersed, permanently sealed and completely oil filled system ( without gas
cushion), natural self-cooled type, up to 1,000 kVA” แตปกติจะใชขนาด 630 kVA และ 1,000 kVA
มี อัตราสวนแรงดันเปน 22 kV-400/230V และ 33 kV-400/230V 50 Hz
3.หองดานแรงต่ําา (Low-voltage room) มีดัชนีปองกันระดับ IP34 บรรจุดวย สวิตชเกียร
แ ร ง ต่ํ า ( Low- voltage switching) , local control panel, distribution management system ( DMS)
interfacing equipment (ถ า มี ) และส ว นประกอบอื่ น ๆ และเพื่ อ ป อ งกั น การควบแน น ของน้ํ า (Water
Condensation) ให ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งทํ า ความร อ น (Heaters) ที่ มี อุ ป กรณ ค วบคุ ม อุ ณ หภู มิ ใ ห ไ ด ต ามที่ กํ า หนด
(Thermostat) ไว ใ นห อ งรวมหรื อ จะแยกส ว นในแต ล ะอุ ป กรณ ก็ ไ ด สํ า หรั บ สายป อ น Incoming และ
Outgoing จะตองติดตั้งดวยเซอรกิตเบรกเกอร3 เฟส (Three-pole molded case circuit-breaker ; MCCB
) ที่ ป ระกอบด ว ยการเป ด วงจรอั ต โนมั ติ เ มื่ อ มี ก ระแสไหลผ า นเกิ น กํ า หนด ทั้ ง จากสภาพกระแสโหลดเกิ น
(Overload) และจากสภาพการลัดวงจร (Short-circuit ) โดยที่ MCCB จะตองผลิตและทดสอบตาม IEC
60947-2 ฉบับลาสุด และควรจะมีหนาสัมผัสชวย (Auxiliary contacts) สําหรับ Remote status monitoring
4.รายละเอียดอื่นๆ
-ในสวนการบํารุงรักษา Compact Unit Substation แทบจะไมมีหรือไมก็ต่ํามาก และ ใน
สวนที่มีไฟดานแรงสูง (High-voltage live-parts) ก็ไมสามารถเขาถึงได
- การตอลงดินจะตองมีอยางนอย 3 จุดในแตละ Compact Unit Substation โดย แยก
เป น ส ว นดา นแรงสู ง ส ว นหม อ แปลง และส ว นด า นแรงต่ํา อย า งละ 1 จุ ด สํ า หรั บ จุ ดตอ ลงดิ น (Earthing
points) ควรจะทําจากวัสดุที่ไมเกิดการกัดกรอน เชน stainless steel และการตอเชื่อมของสวนที่ เปนโลหะ
ทั้งหมดจะเปนแบบกัลวานิกส (galvanic )

รูปที่ 2.20 แสดงสวนประกอบของ Unit substation


25

3) ขอพิจารณาการเลือก Compact Unit Substation


1.รูปแบบของการทํางาน (Type of Operation)
- แบบทํางานภายใน (Walk-in Type) มีพื้นที่ทางเดินภายใน ทําใหปฏิบัติงานไดสะดวกและ
งาย รวมไปถึงจะปองกันอันตรายจากสภาพอากาศที่ไมดี ซึ่งจะมีผลตอผูปฏิบัติงานได
- แบบทํางานภายนอก (Outdoor Type) การปฏิบัติงานจะมีตองเผชิญกับสภาพแวดลอม
ภายนอก

รูปที่ 2.21 แบบการทํางานภายใน

รูปที่ 2.22 แบบการทํางานภายนอก

2.ชนิดของ Compact Unit Substation

รูปที่ 2.23 ชนิดของ Compact Unit Substation


26

ก. แบบรวมอุปกรณติดตั้งไวในอาคาร (Integrated in Buildings)


ข. แบบมีพื้นที่ทํางานภายใน (With corridor)
ค. แบบขนาดเล็ก กะทัดรัด ไมมีพื้นที่ทํางานภายใน (Compact without corridor)
ง. แบบกึ่งฝงดิน (Semi – Underground)
ฉ. แบบฝงในดิน (Fully Underground)
ฉ. แบบแหลงจายเคลื่อนที่และชั่วคราว (Mobile and temporary power supply)
3.การออกแบบเครื่องหอหุม (Enclosure)
- แบบรวมฐานหรือแทนสี่เหลี่ยม (Plinth) พรอมเครื่องหอหุม สามารถทําสําเร็จที่โรงงาน
ผูผลิตได ทําใหคุมคา ลงทุนต่ําและประหยัดเวลา
- แบบแยกฐานหรือแทนสี่เหลี่ยม (Without Plinth) ออกจากเครื่องหอหุม จะตองมีการ
วางแผนจัดการ และพิจารณางานกอสราง ที่หนางาน

รูปที่ 2.24 แบบมี Plinth

รูปที่ 2.25 แบบไมมี Plinth

4.การจัดเรียงอุปกรณภายใน (Internal Arrangement)


- เพื่อปฏิบัติงานดานหนา(Frontal) จะมีเพียงประตูดานหนาเทานั้น ซึ่งจะงายในการเขาถึง
- เพื่อปฏิบัติงานในแนวเฉียง (Diagonal) งายตอการจัดวางอุปกรณรวมกัน เหมาะสําหรับ
อุปกรณขนาดใหญ
27

- เพื่อปฏิบัติงานดานแนวยาว (Longitudinal) ตัวเครื่องหอหุมมีขนาดแคบ ไมกีดขวางเมื่อ


วางบนทางเทา

รูปที่ 2.26 การจัดเรียงอุปกรณภายใน

5.รูปแบบของการตกแตง (Type of Decoration)


- ผนังตูตกแตงเปนหิน (Stone) ไม (Wood) ฯลฯ
- มีหลังคา (Roof) ปกคลุม ซึ่งจะทําพรอมจากโรงงานหรือเพิม่ ที่หนางาน

รูปที่ 2.27 รูปแบบของการตกแตง

6.ชนิดของวัสดุที่ใชทําเครื่องหอหุม (Type of Material for the Enclosure)


- คอนกรีต (Concrete) สําหรับ Compact Unit Substation ที่มีขนาดใหญ เสริมความ
แข็งแรงไดมาก สามารถทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็ว (Thermal Shocks) ทนทานสนิมไดดี
และตกแตงตูพื่อความสวยงามได
- คอนกรีตมวลเบา (Light Concrete) ) สําหรับ Compact Unit Substation ที่มีขนาด
เล็ก กะทัดรัด สามารถทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็ว (Thermal Shocks) ทนทานสนิมไดดี ตก
แตงตูเพื่อความสวยงามได และสุดทายมีาหนั
น กเบา
28

- โลหะ (Metal) สําหรับใชงานในระยะเวลาหนึ่ง มีน้ําหนักเบา อุปกรณจะเสื่อมคุณภาพ


หลังจากใชงานไปแลวหลายๆ ป เสี่ยงตอการเกิดสนิมและมีหยดน้ําเกาะ (Condensation)

รูปที่ 2.28 ชนิดของวัสดุทใี่ ชทําเครื่องหอหุม

7.กําหนดใหเปนไปตามมาตรฐานที่เกีย่ วของ

รูปที่ 2.29 กําหนดใหเปนมาตรฐานที่เกี่ยวของ

- บุ ค คลและอุ ป กรณ ภ ายในมี ค วามปลอดภั ย มี ก ารทดสอบการเพิ่ ม ขึ้ น ของอุ ณ หภู มิ


(Temperature Rise) คาการปองกัน IP รวมถึงความทนทานทางกล (Mechanical Withstand) เปนตน
- ความสามารถทนทานต อ การเกิ ด อาร ค ภายใน (Internal Arc Capability) เพื่ อ ความ
ปลอดภัยตอสาธารณชน
8.ชนิดของหมอแปลง (Type of Transformer)
- Oil Immersed type เ ป น ห ม อ แ ป ล ง ไ ฟ ฟ า ที่ ป ด มิ ด ชิ ด ( Hermetically sealed
transformer)สํ า หรับ Compact Unit Substation ขนาดที่ เ ล็ ก มี ค วามกะทั ด รั ด และมี ถั ง เก็ บามั
น น (Oil
Retention Tank)
- Dry type เปนหมอแปลงไฟฟาแบบคาสเรซิน (Cast resin transformer) เพื่อลดความ
เสี่ยงตอไฟไหม การระเบิด กรณีติดตั้งในพื้นที่เสี่ยงภัย
29

รูปที่ 2.30 ชนิดของหมอแปลง

9.ชนิดของหองแรงสูง (Type of MV Cubicle)


- Air Insulated Switchgear (AIS) การออกแบบเพิ่ม Modular จะตองพิจารณาถึงสวิตช
ชนิด SF6 ในสวนหองแรงสูง AIS ดวย
- Gas Insulated Switchgear (GIS) การออกแบบเพิ่ม GIS กระทําโดยงาย
- Gas-Insulated Switchgear (GIS) การออกแบบเพิ่ม GIS กระทําไดโดยงาย

รูปที่ 2.31 ชนิดของหองแรงสูง

10.ชนิดสวนดานแรงต่ํา (Type of Low Voltage)


- Circuit Breaker จะใชสําหรับแกปญหาใหมีความงายในการทํางาน และบํารุงรักษา แต
จะมีราคาแพง
- Fuses ในดานการติดตั้งเพื่อทํางานดานการปองกัน (protection of the Installation)
จะดี กวา และคุมคา ประหยัดกวา
- Disconnector เปนอุปกรณปลดวงจร ไมมีสวนของการปองกัน
30

รูปที่ 2.32 ชนิดสวนดานแรงดันต่ํา

- Compact Unit Substation ที่ใชภายใน กฟภ.


เมื่ อ ทราบลั ก ษณะโดยทั่ ว ไปของ Compact Unit Substation การกํ า หนด ข อ กํ า หนด
(Specification) สําหรับใชภายใน กฟภ.
1.ขอบเขต (Scope) ใชสําหรับการติดตั้งในระบบเคเบิลใตดิน ระบบจําหนาย 22 kV และ
33 kV ความถี่ 50 Hz
2.มาตรฐานที่ใช (Standard) การผลิตและทดสอบ สอดคลองตามมาตรฐาน IEC, VDE, DIN,
TISI หรือ เทียบเทา ที่เปนฉบับลาสุด
ทั้ ง นี้ Compact Unit Substation จะต อ งมี ค วามเหมาะสมสํ า หรั บ การติ ด ตั้ ง ในพื้ น ที่
สาธารณะ (Public area) เชน บริเวณทางเทาที่มีคนหนาแนน ซึ่งเปนหัวใจหลักในการพิจารณาออกแบบ
รวมทั้ งมี ความปลอดภั ยอย างน อยที่สุ ดการออกแบบ การก อ สร า ง รวมทั้ งการทดสอบ ตั ว เครื่องหอหุม
(Enclosure)

2.2.7 การตอสายและการทําหัวสายเคเบิ้ลใตดิน (Splice and Terminator)


สายเคเบิลใตดินที่ยังไมมีการตัดตอสาย เมื่อปอนแรงดันใหสายไฟฟา จะเกิดความตางศักย ระหวาง
สายตัวนํากับ Shield ทําใหมีเสนแรงไฟฟากระจายสม่ําเสมอตลอดความยาวของสายจากตัวนําไป ยังสาย
Shield (ถูกตอลงดิน) และเกิดเสนสมศักย (เสนแสดงระดับแรงดันที่มีคาเทากัน) คงที่ไปตลอด ความยาวสาย
เชนเดียวกัน ผลที่เกิดขึ้นจะทําใหสนามไฟฟากระจายสม่ําเสมอซึ่งมีคาไมเทากันจากตัวนํา ไปยังสาย Shield
ดังแสดงตามรูปที่ 2.35
31

รูปที่ 2.33แสดง Electric Flux Lines

เมื่อสายเคเบิลใตดินมีการตัดตอสาย สายตัวนําที่ถูกปอกฉนวนออกจําเปนตองรักษาระยะ ระหวาง


สายตัวนําไฟฟากับ Shield (ถูกตอลงดิน) ใหมีคามากพอ เพื่อไมใหเกิดกระแสไหลขาม (Flashover) จาก
สายตัวนําไปยัง Shield กรณีนี้สายตัวนําจะถูกคั่นดวยฉนวนซึ่งมีความหนาแนนไมมาก เทานั้นซึ่งในกรณีนี้
สนามไฟฟาจะไมถูกควบคุมดวย Shield อีกตอไป (เฉพาะชวงที่ปอก Shield ออก) สนามไฟฟาจะเกิดการ
เบี่ยงเบนอยางกระทันหันตามที่แสดงในรูปที่ 2.36

รูปที่ 2.34 แสดงผลของสนามไฟฟาเบี่ยงเบนกะทันหัน

ผลของสนามไฟฟาเบี่ยงเบนจะมีจุดซึ่งมีสนามไฟฟาหนาแนน และตรงจุดนี้เองจะทําใหคาของ
Dielectric Strength ลดลง จะเปนผลใหฉนวนไฟฟาตรงจุดนั้นชํารุดไดงายดังรูปที่ 2.37
32

รูปที่ 2.35 แสดงผลของสนามไฟฟาเบี่ยงเบน จะมีจุดซึ่งมีสนามไฟฟาหนาแนนที่ปลายสาย

ผลของการที่สนามไฟฟาเบี่ยงเบนนี้ จึงตองทําการลด Stress ที่เกิดที่ปลายสาย Shield กอนการ


นําสายเคเบิลที่มี Shield ดังกลาวไปใชงาน โดยการทํา Stress Relief Cone ตามรูปที่ 2.38 หรือใช High
Permitivity Material ตามรูปที่ 2.39 ที่ปลายสาย Shield ซึ่งนําไปสูการทํา Termitor และSplice
อุปกรณควบคุมความเครียดสนามไฟฟา (Stress Relief Control)
ตามมาตรฐาน IEEE 48-1990 ไดแบงอุปกรณควบคุมความเครียดเนื่องจากความเขมสนามไฟฟา มี 2
หลักการดังนี้
1. การเพิ่ ม ฉนวนด ว ยทรงเรขาคณิ ต (Geometric Cone or Stress Cone) อุ ป กรณ ค วบคุ ม
ความเครียดโดยการเพิ่มความหนาของฉนวนในรูปทรงกรวยและมีผิวนอกเปนสารกึ่งตัวนําแลวนํามา ควบคุม
บริเวณปลายสาย Shield ของเคเบิล ทําใหความเขมสนามไฟฟาเกิดการกระจายลงบนสารกึ่งตัวนํา ของ
อุปกรณมากกวาที่ปลายสาย Shield ของเคเบิล

รูปที่ 2.36 แสดงหัว Terminator ที่มกี ารกระจายสนามไฟฟาโดยวิธีใช Stress Cone

2. การหักเหดวยวัสดุที่มีคาคงที่ K สูง ( High Permitivity Material) อุปกรณควบคุม ความเครียดที่


ทําจากวัสดุที่มีคา K สูง (Dielectric Constant ) โดยอาศัยหลักการหักเหของคลื่นสนามไฟ ฟาที่วัสดุ 2 ชนิดมี
คาดัชนี ที่แตกตางกัน (Dielectric Constant K ของสายเคเบิล และ วัสดุ High K ) ทําให สนามไฟฟาเกิดการ
หักเห และเกิดการกระจาย และ ไมใหเกิดความเครียดที่จุดใดจุดหนึ่ง ดังนั้นจึง สามารถลดความเครียดของ
สนามไฟฟาที่ปลายสาย Shield ลงได
33

รูปที่ 2.37 แสดงหัว Terminator ที่มีการกระจายสนามไฟฟาโดย HI-K Material

2.2.8 Cable Terminator


ณ จุดที่สายเคเบิลไปสิ้นสุดลง ตองมีการทําหัวสายเคเบิลเพราะการที่สาย Shieldสิ้นสุดลงจะทําให
สนามไฟฟาหนาแนนบริเวณนั้น ซึ่งหากไมทําใหสนามไฟฟากระจายสม่ําเสมอ ฉนวนบริเวณนั้นจะ เสียหายได

รูปที่ 2.38 แสดงตัวอยางหัวสายเคเบิลใตดิน

หัวตอสายเคเบิลเปนอุปกรณที่ใชประกอบเขากับสายเคเบิลที่มี Shield เพื่อใหสามารถนําไปใช ใน


การเชื่อมตอกับสายอากาศหรืออุปกรณแรงสูงอื่นๆ เพื่อใหสามารถจายกระแสไฟฟาในสายเคเบิ้ล ดัง กลาวผ
านอุปกรณีตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
ชนิดของ Terminator
1. Porcelain Type เปนหัวตอสายเคเบิลสําเร็จรูปมาจากโรงงาน ในหนึ่งรุนใชไดกับ สายหลายขนาด
มีคุณสมบัติปองกันความชื้นและน้ําดวยคุณสมบัติของน้ํายาหลอ ( Compound )ที่บรรจุอยู ภายในและทนตอ
สภาพแวดลอมที่รุนแรงไดดีแตมีขอเสียก็คือมีขนาดใหญ น้ําหนักมากการติดตั้งหัวตอ สายเคเบิลตองใชความ
ระมัดระวังเพราะอาจตกแตกได
34

รูปที่ 2.39 แสดงตัวอยางหัวสายเคเบิลใตดินแบบ Porcelain Type

2. Slip On Type เปนหัวตอสําเร็จรูปมาจากโรงงานหรือเปนชิ้นสวนมาจากโรงงาน ผลิตติดตั้งไดเร็ว


แตมีขอเสียคือใชแรงในการดันหัวตอสายเคเบิลใตดิน แตละรุนจะใชไดเฉพาะของขนาด สายเคเบิลนั้น ซึ่งตองมี
ขนาดฉนวนเหมาะกันพอดี มิฉะนั้นจะเกิดชองอากาศภายใน ทําใหเกิดความเสีย หายและมีชิ้นสวนประกอบกัน
หลายชิ้นสวน คือ อุปกรณควบคุมความเครียด ผิวฉนวน ปกฉนวน

รูปที่ 2.40 แสดงตัวอยางหัวสายเคเบิลใตดินแบบ Slip On Type

3.Cold Shrink Type เปนหัวตอสําเร็จรูปมาจากโรงงานผลิต สามารถปองกัน ความชื้น น้ํา ทางกล


และ สารเคมี ดวยแรงหดรัดและคุณสมบัติซิลิโคนโพลิเมอร ขั้นตอนการติดตั้ง ไมซับซอน ดวยการหดรัด
อัตโนมัติและหัวตอสําเร็จรูป ไมตองใชเครื่องเปาไฟ ปฏิบัติงานและใชเวลานอยในการปฏิบัติงาน

รูปที่ 2.41 แสดงตัวอยางหัวสายเคเบิลใตดินแบบ Cold Shrink Type


35

4.Heat Shrink Type เปนหัวตอสายที่เปนชิน้ สวนมาจากโรงงานผลิต ในหนึ่งรุน ใชกับสายเคเบิลฯได


หลายขนาด มีขอ เสียคือตองใชเครื่องมือเปาไฟและความรอนซึ่งอาจเปนอันตรายกับผู ปฏิบัติงานได ตองใช
ความเชี่ยวชาญมากในการเปาไฟเพื่อใหการหดสม่ําเสมออีกทัง้ มีชิ้นสวนที่ตอง ประกอบกันหลายชิ้นสวน หลาย
ขั้นตอน (อุปกรณควบคุมความเครียด ผิวฉนวน ปกฉนวน) เพือ่ ติดตัง้ หัว ตอสายเคเบิลฯ

รูปที่ 2.42 แสดงตัวอยางหัวสายเคเบิลใตดินแบบ Heat Shrink Type

ตารางที่ 2.5 มาตรฐานสายเคเบิ้ลใตดิน

IEEE 48 – 1990 สหรัฐอเมริกา


CENELEC HD 629.1 S1 ยุโรป
VDE 0287 Part 629-1 เยอรมัน
EDF HN26-E-20, 33-E-01, 41-E-01 ฝรั่งเศส
BS C-89 อังกฤษ
UNE 21-115-75 สเปน
A.B.N.T. 934 บราซิล
36

2.2.9 Cable Splicing


การตอสายเคเบิลฯนอกจากจะตองคํานึงถึงความตอเนื่องของกระแสไฟฟาแลวยังตองคํานึง ถึงความ
ตอเนื่องของสวนประกอบตางๆของสายไฟฟาอีกดวยคืออาศัยหลักที่วาทําทุกสวนของชุดตอสาย ใหเหมือนกับ
สายเคเบิลฯ
1. Slip On Type เปนชุดตอสายสําเร็จรูปมาจากโรงงานผลิตมีการทดสอบกอนนํา มาจําหนาย การ
ตอสายตองเตรียมปอกสายเคเบิลฯยาวกวาอีกขางหนึ่งเพื่อใหชุดตอสายเคลื่อนตัวไปพักไวกอนการเชื่อมหลอด
ตอสายไฟ แตละรุนจะใชไดเฉพาะของขนาดสายเคเบิลฯนั้น ซึ่งตองมีขนาดฉนวน เหมาะกันพอดี

รูปที่ 2.43 แสดงตัวอยางการตอสายเคเบิลใตดินแบบ Slip On Type

2. Cold Shrink Type เปนชุดตอสายสําเร็จรูปมาจากโรงงานผลิตมีการทดสอบกอน นํามาจําหนาย


งานการตอสายจะมีระยะเตรียมสาย 2 ขางเทากัน ในหนึ่งรุนใชกับสายเคเบิลฯ ไดหลาย ขนาดสามารถปองกัน
ความชื้น น้ํา ทางกล และ สารเคมี ขั้นตอนการติดตั้งนอยไมซับซอนไมตองใชเครื่องเปาความรอน ปลอดภัย
กับผูปฏิบัติ ทําใหสามารถติดตั้งในบริเวณที่แคบได

รูปที่ 2.44 แสดงตัวอยางการตอสายเคเบิลใตดินแบบ Cold Shrink Type


37

3. Heat Shrink Type เปนชุดตอสายที่เปนชิ้นสวนมาจากโรงงานผูผลิตในหนึ่งรุน ใชกับสายเคเบิลฯ


ไดหลายขนาดมีขอเสียคือตองใชเครื่องมือเปาไฟและความรอนซึ่งอาจเปนอันตรายกับผู ปฏิบัติงานได ตองใช
ความเชี่ยวชาญมากในการเปาไฟเพื่อใหการหดสม่ําเสมออีกทั้งมีชิ้นสวนที่ตอง ประกอบกันหลายชิ้นสวน หลาย
ขั้นตอน

รูปที่ 2.45 แสดงตัวอยางการตอสายเคเบิลใตดินแบบ Heat Shrink Type

2.3 การออกแบบระบบจําหนายเคเบิลใตดิน

2.3.1 หลักเกณฑในการเลือกชนิดและขนาดของสายเคเบิลใตดินในทีนใี้ ชสาย XLPE


การออกแบบสายจําหนายแรงต่ําที่เปนเคเบิลใตดิน สามารถออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําได สาย
ทองแดงหมฉนวนครอสสลิ้งโพลเอทิ ลินี 0.6/1 กิโลโวลต 90 องศาเซลเซียส (CV) ขนาดของสายไฟฟาให
พิจารณาจากขนาดกระแสของโหลด โดยใหพิจารณา จากตารางที่ 2.6 สําหรับสาย(XLPE)

ตารางที่ 2.6 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอททีลีน ขนาดแรงดัน 220 V

ขนาดกระแส(A)
ก ข ค ง
ขนาดสาย (mm2) สายเดี่ยว 3 เสน สายเดี่ยว 3 เสน เดิน
สายเดี่ยวเดิน สายเดี่ยวไมเกิน 3
เดินในทอโลหะ ในทอฝงดิน
ในอากาศ เสน ฝงดิน โดยตรง
อากาศ ทอโลหะ ทออโลหะ
2.5 36 25 31 28 44
4 47 33 41 36 57
6 60 42 50 46 71
10 82 56 70 61 94
16 110 76 93 81 122
38

(ตอ) ตารางที่ 2.6 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอททีลีน ขนาดแรงดัน 220 V

ขนาดกระแส(A)
ก ข ค ง
ขนาดสาย (mm2)
สายเดี่ยวเดิน สายเดี่ยว 3 เสน เดิน สายเดี่ยว 3 เสน สายเดี่ยวไมเกิน 3
ในอากาศ ในทอโลหะอากาศ เดินในทอฝงดิน เสน ฝงดิน โดยตรง
25 148 100 123 107 156
35 184 123 151 130 187
50 224 153 184 156 221
70 286 191 230 197 270
95 356 239 285 241 325
120 417 275 329 277 368
150 481 322 380 318 413
185 559 368 436 363 466
240 672 440 518 430 539
300 782 510 615 501 607
400 921 604 734 586 687
500 1080 686 855 685 773

ตารางที่ 2.7 อุณภูมิโดยรอบตางจาก 400 C (สําหรับการเดินสายในอากาศ)และ 300 C ( สําหรับการเดินสาย


ใตดิน) ใหคูณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณลด
อุณหภูมโิ ดยรอบ ตัวคูณ
(0 C) การเดินสายในอากาศ การดินสายใตดนิ
21-25 - 1.04
26-30 - 1
31-35 1.05 0.96
36-40 1 0.91
41-45 0.95 0.87
46-50 0.89 0.82
51-55 0.84 -
56-60 0.78 -
39

การออกแบบสายจําหนายแรงต่ําที่เปนเคเบิลใตดิน สามารถออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําได สาย


ทองแดงหมฉนวนครอสสลิ้ ง โพลเอทิ ลิ นี 12kVหรื อ 24kV กิ โ ลโวลต 90 องศาเซลเซีย ส (CV) ขนาดของ
สายไฟฟาใหพิจารณาจากขนาดกระแสของโหลด โดยใหพิจารณา จากตารางที่ 2.8 สําหรับสายทองแดงหุม
ฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน

ตารางที่ 2.8 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอททีลีน ขนาดแรงดัน 12 kV หรือ


22 kV

ขนาดกระแส(A)
ลักษณะการใชงาน
ขนาดสาย (mm2) สายเดี่ยว 3 เสน เดิน สายเดี่ยว 3 เสน เดินในทอฝงดิน สายเดี่ยวไมเกิน 3
ในทอโลหะอากาศ ทอโลหะ ทออโลหะ เสน ฝงดิน โดยตรง
35 148 176 149 209
50 175 209 178 247
70 215 258 218 302
95 265 315 265 361
120 303 361 303 410
150 348 413 341 460
185 396 469 386 519
240 487 563 454 601
300 551 650 521 679
400 636 751 607 772
500 730 869 706 878

อุณภูมิโดยรอบตางจาก 400 C (สําหรับการเดินสายในอากาศ)และ 300 C ( สําหรับการเดินสายใตดิน) ใหคณ



คาขนาดกระแสดวยตัวคูณลดดังนี้

ตารางที่ 2.9 อุณภูมิโดยรอบตางจาก 400 C (สําหรับการเดินสายในอากาศ)และ 300 C ( สําหรับการเดินสาย


ใตดิน) ใหคูณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณลด
อุณหภูมโิ ดยรอบ ตัวคูณ
0
( C) การเดินสายในอากาศ การดินสายใตดนิ
21-25 - 1.04
26-30 - 1
40

(ตอ) ตารางที่ 2.9 อุณภูมิโดยรอบตางจาก 400 C (สําหรับการเดินสายในอากาศ)และ 300 C ( สําหรับการ


เดินสายใตดิน) ใหคูณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณลด

อุณหภูมโิ ดยรอบ ตัวคูณ


(0 C) การเดินสายในอากาศ การดินสายใตดนิ
31-35 1.05 0.96
36-40 1 0.91
41-45 0.95 0.87
46-50 0.89 0.82
51-55 0.84 -
56-60 0.78 -

ตัวคูณปรับคาสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรือหลายแกน ขนาดแรงดันไมเกิน0.6/1 กิโลโวลต ฝนดินโดยตรง


เมื่อวางเปนกลุม มากวา 1 วงจร วางเรียงกันแนวระดับ

ตารางที่ 2.10 ตัวคูณปรับคาสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรือหลายแกน ขนาดแรงดันไมเกิน0.6/1 กิโลโวลต


ฝนดินโดยตรง เมื่อวางเปนกลุมมากวา 1 วงจร วางเรียงกันแนวระดับ
ระยะหางระหวางผิวดานนอกเคเบิล แตละวงจร (มม.)
จํานวนวงจร
วางชิดกัน เสนผานศูนยกลางเคเบิล 1 เสน 125 250 500
2 0.75 0.80 0.85 0.96 0.90
3 0.65 0.70 0.75 0.80 0.85
4 0.60 0.60 0.70 0.75 0.80
5 0.55 0.55 0.65 0.70 0.80
6 0.50 0.55 0.60 0.70 0.80

ตัวคูณปรับคาสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรือหลายแกน ขนาดแรงดันไมเกิน 12/24 กิโลโวลตรอยทอฝงดิน


เมื่อวางเปนกลุม มากวา 1 วงจร วางเรียงกันแนวระดับ
41

ตารางที่ 2.11 ตัวคูณปรับคาสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรือหลายแกน ขนาดแรงดันไมเกิน 12/24 กิโลโวลต


ทอรอยสายฝนดิน เมื่อวางเปนกลุมมากวา 1 วงจร วางเรียงกันแนวระดับ
จํานวนวงจร ระยะหางระหวางผิวดานนอกเคเบิล แตละวงจร (มม.)
วางชิดกัน 250 500 1000
2 0.85 0.90 0.95 0.95
3 0.75 0.85 0.90 0.95
4 0.70 0.80 0.85 0.90
5 0.65 0.80 0.85 0.90
6 0.60 0.80 0.80 0.90

สายควบ ในวงจรที่มีการใชไฟฟามาก ๆ พิกัดกระแสของสายฟาเสนเดียวอาจจะไมเพียงพอ จึงจําเป


นตองใชสายหลายเสน ตอขนานกัน ซึ่งเรียกวา สายควบ สายไฟฟาที่ เดินควบกันปลายทั้งสองดานของเฟส
เดียวกันองตอเขาดวยกัน ดังรูปที่ 2.46

รูป 2.46 สายควบ


ขอกําหนดในการใชสายควบ
-ใชกับตัวนําตั้งแต 50 mm2 ขึน้ ไป
-สายไฟฟาที่จะเดินควบกันไดตอ งเปนสายไฟฟาชนิดเดียวกัน
-สายไฟฟาทีใ่ ชตองความยาวเทากัน
-ลักษณะการเดินสายเหมือนกัน
42

2.3.2 หลักเกณฑในการเลือกทอรอยสาย
รูปแบบกอสรางระบบจําหนายเคเบิลใตดินแรงต่ํา สามารถพิจารณารูปแบบการกอสรางไดหลายวิธี
ซึ่งใน การพิจารณาวาจะเลือกใชรูปแบบการกอสรางแบบใด ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่หนางาน และ คาใชจายใน
การกอ สราง โดยรูปแบบการกอสรงใหพิจารณาในลักษณะรอยสายในทอเพื่อใหงายและใชเวลานอยในการ
บํารุงรักษา ระบบ สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน ใชกรณีที่สภาพพื้นที่หนางานสามารถขุด
ดินได สาหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING และแบบการวางทอรอยสายลอดใตถนน
โดยวิธี ดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก ใชในกรณีที่สภาพพื้นทีห่ นางานไมสามารถขุดเปดหนาดินได ซึ่งรายละเอียด
ในการ กอสรางแตและแบบมีรายละเอียดดังนี้
1) การก อ สร า งเคเบิ ล ใต ดิ น แบบร อ ยท อ ฝ ง ดิ น ให ก อ สร า งตามแบบ แบบมาตรฐานเลขที่ SA1-
015/36023 (การประกอบเลขที่ 7403) ดังรูปที่ 2.47

รูปที่ 2.47 การฝงเคเบิลใตดิน ในทอรอยสายประเภทอโลหะ

ตารางที่ 2.12 ความลึกในการฝงทอรอยสาย

ประเภททอรอย มี หรือ ไมมีแผน ความลึกนอยทีส่ ุดในการฝง(มม.)


สาย ปดคอนกรีต ใตดื้นดินทั่วไป ใตบริเวณทางเทา ใตถนน
ดานบน
HDPE มี 300 300 600
ไมมี 450 450 -

2) การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING ใหกอสรางตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-


015/37022 (การประกอบเลขที่ 7404) ดังรูปที่ 2.48 และความลึกที่ไมทําใหทอชํารุดในการกอสรางโดยใช ทอ
โพลิเอทิลีนความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN6.3 PN 8 และPN 10 พิจารณาจารณจาก ตาราง 2.13
43

รูปที่ 2.48 การฝงเคเบิลใตดินแบบ Directional Boring

ตารางที่ 2.13 ตารางระดับความลึกมากที่สุดของการใชทอ โพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง

ขนาดทอ (มม.) ระดับความลึกมากที่สุด (ม.)


ชั้นคุณภาพ PN6.3 ชั้นคุณภาพ PN8 ชั้นคุณภาพ PN10
75 2 4.2 8.2
90 2 4.2 8.2
110 2 4.2 8.2
125 2 4.2 8.2
140 2 4.2 8.2
160 - 2 4.0
180 - 2 4.0
200 - 2 4.0

2.3.3 การเลือกขนาดทอรอยสาย
1) พิจารณาเลือกใชทอรอยสายไฟฟาชนิดทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง(HDPE) ขนาดเสนผาน
ศูนยกลางภายในอยางนอย 100 มิลลิเมตร สําหรับเคเบิลใตดินขนาดไมกิน 50 ตารางมิลลิเมตร และขนาดเสน
ผานศูนยกลางอยางนอย 140 มิลลิเมตร สําหรับเคเบิลใตดินขนาดเกินกวา 50 ตางมิลลิเมตร แตไมเกิน 400
ตารางมิลลิเมตร

ตารางที่ 2.14 ขนาดเสนผานศูนยกลางภายของสายเคเบิลใตดนิ ตามสเปคของ กฟผ.

เสนผานศูนยกลางภายนอกของสายเคเบิลใตดนิ (mm.)
System/Size 35 50 120 185 240 400 500 800
22 kV 28 30 34 38 42 48 52 -
33 kV - 35 40 44 47 55 58 -
44

ตารางที่ 2.15 การเลือกขนาดทอรอยสายไฟฟา

ขนาดทอ ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน
ID.(mm) OD(mm) PAF(%) Clearance Jam Ratio
96.8-102.0 Up to 32 32.78 32.86 3.17
110.0-114.0 Up to 37 33.94 35.92 3.12
123.4-127.0 Up to 42 34.75 39.19 3.1
140.0-144.6 Up to 48 35.26 43.67 3.1
150.0-152.0 Up to 50 33.33 50 3.15
177.2-180.8 Up to 60 33.04 60.86 3.16

ตารางที่ 2.16 ขนาดทอรอยสายไฟฟาประเภทตางๆ

ขนาดทอ ประเภททอ
ID.(mm) HDPE RTRC Corrugate
PN6.3(mm) (Inch) (mm)
96.8-102.0 110 4 100
110.0-114.0 125 - 35.92
123.4-127.0 140 5 -
140.0-144.6 160 - -
150.0-152.0 - 6 150
177.2-180.8 200 - -

ID. (mm) = ขนาดเสนผานศูนยกลางภายในทีก่ ฟภ. กําหนด หนวยเปน มิลลิเมตร


HDPE ขนาด (mm) = ขนาดทอ High Density Polyethylene Pipe หนวยเปน มิลลิเมตร
RTRC ขนาด (Inch) = ขนาดทอ Reinforced Thermosetting Resin Conduit หนวยเปน นิ้ว
Corrugate ขนาด (mm) = ขนาดทอ Corrugate (ทอลูกฟูก) หนวยเปน มิลลิเมตร
45

2) รายละเอียดการพิจารณาการเลือกทอรอยสาย
1. พิจารณาจาก Percent Area Fill

d 2
PAF = n × ( ) × 100 ……….(2.1)
D

PAF ตองไมเกิน 40 % สําหรับสาย 3 เสน/ทอและไมเกิน 53 % สําหรับสาย 1 เสน/ทอ


เมื่อ d = เสนผานศูนยกลางสายเคเบิลใตดิน
D = เสนผานศูนยกลางภายในทอรอยสายไฟฟา
n = จํานวนสายไฟฟา
2. พิจารณาจาก Jam Ratio

D
Jam Ratio = 1.05 × ……….(2.2)
d

เมื่อ d = เสนผานศูนยกลางสายเคเบิลใตดิน
D = เสนผานศูนยกลางภายในทอรอยสายไฟฟา คา Jam Ratio หมายถึงเมือ่ รอยสาย 3 เสนในทอ ในขณะ
ดึงลากสายชวงทางโคงสายมีโอกาสไขวขัดตัวกันได ( ตัวเลขอยูระหวาง 2.8 - 3.0 )
3. พิจารณาจาก Clearance

D 1 d 2
Clearance = − 1.366d + × ( D − d ) × 1 − ( ) ……….(2.3)
2 2 D−d

เมื่อ d = เสนผานศูนยกลางสายเคเบิลใตดิน
D = เสนผานศูนยกลางภายในทอรอยสายไฟฟา คา Clearance หมายถึงระยะหางระหวางผิวบนสุดของเคเบิล
กับทอ ปกติจะกําหนดไวไมต่ํากวา 0.5 นิ้ว

ตัวอยางการพิจารณาทอรอยสายขนาด ID = 97.4 mm
กรณีรอยสาย 3 เสน / ทอ ( PAF ไมเกิน 40 % )
PAF D 2
d= ×( )
100 n
40 97.4 2
= ×( )
100 3
= 35.56 ≈ 35
46

คํานวณหาคา Clearance

D 1 d 2
= − 1.366d + × ( D − d ) × 1 − ( )
Clearance 2 2 D−d

97.4 1 35
= − (1.366 × 35) + (97.4 − 35) × 1 − ( )2
2 2 97.4 − 35
= 26.72
คํานวณหาคา Jam Ratio

D
= 1.05 ×
Jam Ratio d
97.4
= 1.05 ×
35

จะเห็นวาคา Jam Ratio อยูในชวง 2.8 - 3.0 ซึ่งคานี้มีโอกาสที่สายจะไขวขัดตัวกันไดดังนั้นตองเปลี่ยนคา d


ใหเล็กลง โดยคิดวาคา Jam Ratio อยูที่ 3.2

1.05
d= × 97.4
3.2
= 31.9 ≈ 32 mm

ยอนกลับไปตรวจสอบคา Clearance และ PAF อีกครัง้

D 1 d 2
= − 1.366d + × ( D − d ) × 1 − ( )
Clearance 2 2 D−d

97.4 1 32
= − (1.366 × 32) + (97.4 − 32) × 1 − ( )2
2 2 97.4 − 32
= 33.5 mm
d
= n × ( ) 2 × 100
PAF D
32 2
= 3× ( ) × 100
97.4
= 32.38 < 40%
47

จะเห็นวาหากหาคา d จาก PAF กอนโดยตัง้ คา PAF ที่ 40 % คา d ที่ไดบางคา เมื่อแทนคาในสูตร Jam Ratio
จะไมผาน จึงควรหาคา d จาก Jam Ratio กอนจากนั้นเมื่อยอนไปตรวจสอบ คา PAF และ Clearance จะ
เห็นวาผานเกณฑที่ตั้งไวจากวิธีการคํานวนสามารถหาขนาดทอที่เหมาะสมกับสายเคเบิลใตดิน
4. จากการคํานวณสามารถเลือกขนาดทอรอยสายตามสเปคสายเคเบิลใตดินของ กฟภ.

ตารางที่ 2.17 การเลือกขนาดทอรอย(HDPE) จากสเปคสายเคบิลใตดินของกฟภ.

HDPE ขนาดของสายตามสเปค กฟภ.(mm2)


PN6.3(mm) 335 50 1120 185 240 400 500 800
110   
125 
140 
160  
-
250

2.3.4 การตอลงดิน
1.การตอลงดินภายในบอพักสาย การตอลงดินภายในบอพักสายตามรูปที่ 4-19 จะแสดงรูปแบบการ
ตอลงดินที่เคเบิลแร็ค (Cable Rack) และเสารับเคเบิลแรงสูง (H.T. Cable Racking pole) ที่อยูภายในบอพัก
สาย (Manhole)

รูปที่ 2.49 การตอลงดินเพื่อปองกันสําหรับเคเบิลแร็ค สําหรับระบบ 22 และ 33 kV


48

โดยคาความตานทานดินที่ตออยูในบอพัก Manhole ควรมีคาไมเกิน 5 โอหม และยอมใหมีคาไมเกิน


25 โอหม สําหรับในพื้นที่ยากแกก ารทํา ค าความตา นทานดิน สําหรับรูปแบบการตอลงดิน ภายในบอพั ก
Manhole จะแสดงไดดังรูปที่ 4-20 และสามารถดู รายละเอียดเพิ่มเติมไดจากแบบมาตรฐานการกอสรางของ
กฟภ. แบบเลขที่ SA1-015/31023 การประกอบ เลขที่ 7341 ทั้งนี้ตําแหนงในการติดตั้งเคเบิลแร็ค และเสารับ
เคเบิลแรงสูง จะระบุไวในแบบ Manhole แตละ ชนิดนั้นๆ

รูปที่ 2.50 การตอลงดินในบอพัก Manhole สําหรับเคเบิลแร็ค สําหรับระบบ 22 และ 33 kV

2. การตอลงดินของสายเคเบิล ในระบบเคเบิลใตดิน สายตอลงดิน (Shield Wire) ของสายเคเบิลใต


ดิน จะตองมีการตอลง ดินที่ปลายสายดานใดดานหนึ่งเสมอ เพื่อกระจายสนามไฟฟาใหสม่ําเสมอ ทําใหระบบ
ไฟฟามีเสถียรภาพใน การทํางาน และสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากแบบมาตรฐานการกอสรางของ
กฟภ. แบบเลขที่ SA1- 015/46005 การประกอบเลขที่ 7131 ซึ่งสามารถแยกรูปแบบการตอลงดินในระบบ
กฟภ. ตามระดับแรงดัน ไดดังนี้ 2.1) ขอกําหนดการตอลงดินสําหรับสายเคเบิลใตดิน ระบบ 22 -33 kV 1) การ
ตอลงดินทั้งสองปลาย (Both-Ends Bonding) สําหรับระยะทางไมเกิน 500 ม
49

รูปที่ 2.51 การตอลงดินทั้งสองปลาย (Both-Ends Bonding)

3. การตอลงดินแบบหลายจุด (Multi-points Bonding) สําหรับระยะทางมากกวา 500 ม.


โดยหลักการแลวการตอลงดินของระบบ 22 – 33 kV กรณีระยะทางไมเกิน 500 ม. จะสามารถตอ ลงดินเปน
แบบขางเดียว(Single-point Bonding)ได แตเนื่องจากเมื่อตอลงดินแบบขางเดียวแลว ความสามารถในการ
นํากระแสของสายเคเบิลใตดิน(Ampere) จะมีคาสูงกวาการตอลงดินแบบทั้งสองปลาย (Both-Ends Bonding)
เพียงเล็กนอย แตเพื่อความปลอดภัยแกผูปฏิบัตงานที่จะตองทาการบํารุงรักษาไมวาจะ เปนที่ตูสวิตชภายใน
สถานีฯ หรือที่เสาตน Riser Pole การตอลงดินของสายเคเบิลใตดิน ของ กฟภ. ระบบ แรงดัน 22 – 33 kV จึง
กําหนดใหตอลงดินเปนแบบทั้งสองปลาย (Both-Ends Bonding)

รูปที่ 2.52 การตอลงดินแบบหลายจุด (Multi-points Bonding)


50

4. ขอกําหนดการตอลงดิน ที่เสาตน Riser Pole

รูปที่ 2.53 การตอลงดินที่เสาตน Riser Pole สําหรับระบบ 22 - 33 kV

อุปกรณที่ใชตอสายระหวางสายเปลือยกับสายเคเบิลใตดินที่โผลพนขึ้นมาเหนือดิน เรียกวาหัว เคเบิล


(Termination) และเมื่อนําอุปกรณไปติดตั้งอยูบนเสาที่มีสายเคเบิลใตดินที่โผลพนขึ้นมาเหนือดิน ก็จะเรียกวา
เสาตน Riser Pole ตามทฤษฎีที่จุดตอสายระหวางสายเปลือยกับสายเคเบิลใตดิน หรือระหวางสายที่มี ฉนวนมี
คาไมเทากัน จําเปนจะตองติดตั้งกับดักเสิรจเพื่อปองกันไมใหฉนวนของสายเสียหายเนื่องจากแรงดัน เสิรจ (จาก
ฟาผา หรือจากการสับสวิตชหรืออื่นๆ) โดยจะรักษาระดับแรงดันไวไมใหเกินกวาที่อุปกรณทนได ดังนั้นที่เสาตน
Riser Pole จะมีการติดตงกับดักเสิรจอยูดวย โดยดานบนกับดักเสิรจจะตอเขากับสายตัวนํา และดานลางจะตอ
เขากับสายตอลงดินของสายเคเบิลใตดิน และทั้งคูจะตอเขากับสายตอลงดินของระบบ เพื่อ ตอเขากับหลักดิน
ตอไปตามที่ไดกลาวไวแลววา ที่เสาตน Riser Pole จะตองมีคาความตานทานดิน ซึ่งตามมาตรฐาน ระบบ
จําหนาย 22 & 33 kV กฟภ. จะกําหนดไวไมเกิน 5 โอหมสําหรับ (ยอมใหมีคาไมเกิน 25 โอหม สําหรับ ในพื้นที่
ยากแกการทําคาความตานทานดิน)

2.4 อุปกรณที่ใชงานภายในระบบและการปองกัน

2.4.1 Ring Man Unit (RMU)


RMU คือ เปนอุปกรณไฟฟาประกอบอยู ในวงจรการจายไฟฟาโดยเฉพาะระบบการจายไฟฟาใตดิน
โดยบอกในลักษณะจํานวนสายที่ปอนเขาและจํานวนสายปอนทีอ่ อก และระบบการปองกันซึ่งมีทั้งแบบ Switch
ธรรดา Switch พรอม Fuse หรือ Switch พรอม Breker
- Incoming Compartment ประกอบดวย Switch ตัดตอนแรงสูง(Disconnecting Switch) พรอม
Switch ตอลงดิน (Earthing Switch)
51

- Outgoing Compartment ประกอบดวย Switch ตัดตอนพรอม Fuse แรงสูง หรือ Breaker พรอม
ตอลงดิน
- Switch ตัดตอนแรงสูงและ Switch ตอลงดินตองสามารถรับกระแสไดเต็มพิกัดเมื่อเกิดการลัดวงจร

รูปที่ 2.54 RMU

2.4.2 Unit Substation


Unit Substation ประกอบดวย 4 สวน
Incoming Section เปนอุปกรณที่ใชรับไฟจากระบบสายใตดิน 22 kV ปจจุบันจะใชเปนอุปกรณ
RMU
Transformer Section พิกัดของชุด Unit Substation จะบอกตามขนาดของหมอแปลง
Low Voltage Section ส ว นทางด า นแรงต่ํา ที่ จ า ยไฟใหผู ใ ช ไ ฟฟา แรงดั น 220/380 ต อ งปองกัน
Load เกินและกระแสลัดวงจรแบบทันที
Enclosure ตองผานการทดสอบ Internal arc test เพื่อทดสอบระดับการปองกันอันตรายจากการ
เกิด arc ภายใน
52

รูปที่ 2.55 Unit Substation

2.4.3 Automatic Transfer Switch(ATS)


ATS เปนอุปกรณไฟฟาทีท่ ําหนาที่คลาย RMU โดยในสวนของ สายปอนที่เขาจะมี 2 ชุด ชุดหนึ่งเปน
ชุดจายไฟ และอีกชุดเปนชุดสํารอง กรณีชุดจายไฟเกิดขัดของไมสามารถจายไฟไดจะทําการปลด Switch ตัด
ตอน และจะทําการสับ Switch ตัดตอนชุดสํารองจายไฟดวยสายปอนสํารองทันที

รูปที่ 2.56 ATS

2.4.4 Fault Indicator


Fault Indicator ใชสําหรับตรวจหา Fault ในสายปอน โดยติดตั้งใน RMU เมื่อเกิด Fault ขึ้น
กระแส Fault จะไหลผาน Fault Indicator จะทําใหทํางาน โดยแสดงเปน แถบสีขึ้นมา และมีปุมกด Reset
ใหกลับสูสภาวะปกติ
53

รูปที่ 2.57 Fault Indicator

2.5 คํานวณราคากลางและการประมาณการ
คํานวณราคากลางโดยใชคูมือการจัดทําราคากลาง ( Factor F )[ตามอนุมตั ิ ผวก. ลว.15 พ.ค.2556]
ราคาคากอสรางในงานกอสรางของทางราชการในแตละงาน/โครงการ ซึ่งเปนราคาที่ทางราชการยอมรับได ไม
สูงจนผูประกอบการไดกําไรมากเกินกวาที่ควรจะไดรับ และเปนราคาที่ไมต่ําจนผูประกอบการไมสามารถที่จะ
ดําเนินการกอสรางได ราคากลางของทางราชการ ไมใชราคามาตรฐานของสิง่ กอสราง แตเปนราคาคากอสรางที่
คํานวณหรือประเมินขึ้นตามหลักเกณฑและวิธีการตามที่ ครม.กําหนด เปนราคาอางอิงและพิจารณาราคาคา
กอสรางของผูเสนอราคาในกระบวนการจัดหาผูรับจางกอสรางตามระเบียบพัสดุฯ
การคํานวณราคากลาง มีขั้นตอนดังนี้
1.คํานวนหา ”คางานตนทุน” ของงานทีจ่ ะดําเนินการกอสราง
2.คํานวหาคา Factor F
3.คํานวนหาคาใชจายพิเศษตามขอกําหนดและคาใชจายอื่น ๆ
4.นํา ”คางานตนทุน” , ”คางาน Factor F” และคาใชจายอื่น ๆตามขอกําหนด
นํามาคํานวณหาราคากลางไดดงั นี้
ราคากลาง =[(คางานตนทุน)xคา Factor F ในชอง”รวมรูป Factor”]+คาใชจายพิเศษอื่น ๆ(ถามี)
5.คํานวนหาคางานตนทุน
คางานทุน = คาวัสดุอุปกรณ + คาแรงงาน(ไมรวมคาขอบคุมงาน คาขนสง และเบ็ดเตล็ด )
7.คํานวณหาคา F Factor (ประเภทงานกอสราง) รวมในรูป Factor F ทั้งนีก้ รณีคางานตนทุนอยูระหวางชวง
ของคางานตนทุนที่กําหนด เพื่อเทียบอัตราสวนหา F คา F Factor ของานตนทุน

[( D × E ) × ( A − B )] ……….(2.3)
A= D−
(C − B)
54

โดยคา A หมายถึง คางานตนทุนที่ตอ งการหาคา Factor F


B หมายถึง คางานขั้นตนทุนขั้นต่ําของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนตองการหาคา Factor F (คางานตนทุน
A) อยู
C หมายถึง คางานขั้นตนทุนขั้นสูงของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนตองการหาคา Factor F (คางานตนทุน
A) อยู
D หมายถึง คา Factor F ของคางานตนทุนขัน้ ต่ําของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนที่ตองการหาคา Factor
F (คางานตนทุน A) อยู
E หมายถึง คา Factor F ของคางานตนทุนขัน้ สูงของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนที่ตองการหาคา Factor
F (คางานตนทุน A) อยู
บทที่ 3

การออกแบบและขั้นตอนการดําเนินการ

3.1 ขั้นตอนการดําเนินการออกแบบระบบไฟฟาแรงสูงใตดิน
แผนการดําเนินงาน
ศึกษาขอมูล สํารวจ คํานวนและวิเคราะหการวาง สรุปผลการกอสรางและประมาณ
อุปกรณของระบบไฟฟาใตดิน การ
ระบบไฟฟาแรงสูง ขนาดและพื้นที่ใน
22KV การติดตั้งหมอแปลง ออกแบบระบบไฟฟาใตดิน
หาเปอรเซ็นตการใชงานหมอ
แปลงโดยคํานวนจากโหลด โดยยึดจากการตํานวนและ
การกอสราง สํารวจ Feeder และการเดิน การใชงานจริง วิเคราะห
ระบบไฟฟาใตดิน สายไฟฟา
ประมาณการกอสรางและ
ออกแบบ Feeder ใหม คาใชจายในการกอสราง
สวนประกอบที่สําคัญและ สํารวจพื้นที่จริงเพื่อ ระบบไฟฟาใตดิน
ขอกําหนดของการกอสราง ออกแบบการกอสรางระบบ ยุบรวมหมอแปลงเพื่อ
ระบบไฟฟาใตดิน ไฟฟาใตดิน ออกแบบ Unit เปรียบเทียบและเสนอแนะการ
Substation กอสรางระบบไฟฟาใตดินที่มี
คาใชจายนอยกวา
หนวยรวมการใชไฟฟา หาขนาดของสายไฟฟาใน
ระบบใตดิน

วิเคราะหการวางบอพักสายใต
ดินและ Cable Riser pole

รูปที่ 3.1 แผนผังการดําเนินการ

3.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน
1. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับระบบไฟฟาแรงสูงพิกดั 22 KV ตามมาตรฐานการไฟฟาสวนภูมิภาค
1.1 การออกแบบไฟฟาในระบบ 22 KV
1.2 การติดตัง้ ไฟฟาในระบบ 22 KV
2. ศึกษาขอมูลในการออกแบบระบบไฟฟาใตดนิ
2.1 ศึกษาสวนประกอบของระบบไฟฟาใตดิน
2.2 ศึกษาวิธีการกอสรางและขอดีขอเสียของระบบการกอสรางระบบไฟฟาใตดิน
56

3. สํารวจตําแหนงและขนาดของหมอแปลงไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
3.1 วิเคราะหตาํ แหนงที่ตงั้ ของหมอแปลงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
3.2 วิเคราะหจาํ นวนหมอแปลงภายและสายแรงสูงภายในมหาวิทยาลับบูรพา
4. เปรียบเทียบกับขนาดของหมอแปลงไฟฟา เพื่อคํานวณโหลดการใชงานจริงในการแบง Feeder
5. วิเคราะหระบบไฟฟาแรงสูงใตดิน (Underground Cable) และระบบไฟฟาแรงสูงเหนือหัว
(Overhead Cable) ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
6. ออกแบบ Feeder ใหมภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
6.1 การแบง Feeder ใหม ภายในมหาวิทยาลัยบูรพาเพื่อใหเหมาะสมกับการออกแบบ
ระบบไฟฟาใตดนิ โดยใชการแบงเบาภาระจาก Feeder ที่ 1 เฉลี่ยโหลดในแตละ Feeder
ใหสมดุล
7. ลดขนาดหมอแปลงเพื่อทําการออกแบบ Unit Substation
7.1 นําโหลดหมอแปลงแตละลูกเพื่อหาคาเปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลง
7.2 รวมหมอแปลงเพื่อออกแบบ Unit Substation
8. เขียนแบบแนวสายไฟฟาและระบบไฟฟาแรงสูงใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
8.1 วิเคราะหและออกแบบวิธกี ารออกแบบระบบไฟฟาใตดนิ
8.2 วิเคราะหและออกแบบการวางบอพักสายใตดิน (Manhole)
8.3 วิเคราะหและออกแบบสายไฟฟาใตดินและทอรอยสาย
8.4 วิเคราะหและออกแบบการวางเสา Cable Riser Pole
9. ประมาณการคาใชจายในการกอสรางระบบไฟฟาแรงสูงใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
57

3.3 การสํารวจตําแหนงและขนาดของหมอแปลงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
ในสวนของการสํารวจตําแหนงและขนาดของหมอแปลง เพื่อที่จะนํามาหาโหลดการใชงานจริงและ
นําไปแบง Feeder ใหม รวมถึงการยุบรวมหมอแปลงเพื่อออกแบบ Unit Substation

ตารางที่ 3.1 ตารางสรุปขนาดและจํานวนหมอแปลงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา


ลําดับ ขนาดของหมอ จํานวน
แปลง(kVA)
1 50 1
2 100 4
3 160 7
4 250 5
5 315 12
6 400 2
7 500 10
8 630 12
9 800 5
10 1,000 21
11 1,250 6
12 1,600 1
13 2,000 1
14 2,500 1
14 3,500 1
จํานวนหมอแปลง 89
จากตารางที่ 3.1 หมอแปลงภายในมหาวิทยาลัยบาพามีจํานวนทั้งสิ้น 89 ลูก และรวมขนาดหมอแปลงทัง้ หมด
ภายในมหาวิทยาลัยบูรพาทัง้ สิน้ 62,060 kVA ซึ่งสามารถระบุตําแหนงทีต่ ิดตั้งและขนาดไดตามรูปที่ 3.2 และ
3.3
58
59
60

3.3.1 ผลการสํารวจมิเตอรประธานภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
จากขอมูลการสํารวจมิเตอรประธารภายในมหาวิทยาลัยบูรพาพบวามีมิเตอรประธานจํานวน 9
Feeder ตามแนวสายไฟฟา ซึง่ แตละ Feeder นั้น ๆ จะมีขนาดหมอแปลงทีม่ ีลักษณะและขนาดแตกตางกันไป
ตามลักษณะและจํานวนหมอแปลงใน Feeder

ตารางที่ 3.2 ขนาดมิเตอรประธานภายในมหาวิทยาลัยบูรพาโดยคิดจาก Feeder ตนทาง


Feeder ตําแหนงของมิเตอร ขนาดมิเตอร(kVA)
1 หอศิลปวัฒนธรรมภาคตะวันออก(1) 42,575
2 ประตูโรงเรียนสาธิต 1,315
3 ประตูหลังมหาวิทยาลัย 6,430
4 ทางเขาบานพักหลังมหาวิทยาลัย 1,730
5 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล(4.1,4.2) 945
6 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล (4.3,3.4,4.5) 3,000
7 โรงพยาบาล(8) 3,500
8 คณะแพทยศาสตร(6) 2,000
9 หอพักแพทยชาย(7) 565
รวม 62,060
จากการสํารวจมิเตอรประธานไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา สามารถจําแนกแนวสายไฟฟาในแตละ
feeder ไดดงั รูปที่ 3.4
61
62

3.4 สํารวจและเปรียบเทียบขนาดของหมอแปลงไฟฟา เพื่อคํานวนโหลดการใชงานจริงในการแบง feeder


เนื่องจากในมหาวิทยาลัยบูรพามีโหลดรวมหมอแปลงทั้งสิ้น 62,060 kVA แตมีการใชงานจริงเพียง
4,212 kVA จึงตองมีการสํารวจและสรางขอมูลเพื่อวิเคราะหการแบง Feeder และการยุบรวมหมอแปลงที่ตั้ง
อางอิงจากการใชงานจริงขอระบบไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา

ตารางที่ 3.3 หนวยการใชงานในแตละ Feeder ของระบบไฟฟาในมหาวิทยาลัยบูรพาคิดเวลาประมาณการใช


งานที่ 50 เปอรเซ็นต( 12 ชม.)
(Feeder) ขนาดหมอแปลง หนวยการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
(kWhr)
1.หอศิลปวัฒนธรรมภาคตะวันออก 42,575 44,797.33
2.ประตูโรงเรียนสาธิต 1,315 35,381.58
3.ประตูดานหลังมหาวิทยาลัย 6,430 407,993.24
4.ทางเขาบานพักหลังมหาวิทยาลัย 1,730 41,542.50
5.สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล 945 51,350
6.สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล 3,000 134,895.00
7.โรงพยาบาล 3,500 60,493.33
8.คณะแพทยศาสตร(6) 2,000 172,001.67
9.หอพักแพทยชาย(7) 565 21,873.67
รวม 62,060 970,328.33
จากตารางที่ 3.3 เปนการรวบรวมการใชงานของหมอแปลงและหนวยรวมการใชไฟฟาภายใน 1
เดือน โดยติดจากหมอแปลงแตละ Feeder โดยหนวยรวมการใชไฟฟาภายใน 1 เดือนนั้นมาจากการหาคาเฉลี่ย
นของหนวยรวมการใชไฟฟาใน 12 เดือนระหวาง เมษายน 2558 ถึง มีนาคม 2559 และจากตาราง 3.3
สามารถดู Single line diagram ประกอบไดในรูปที่ 3.5
63

ตัวอยาง 3.1 แสดงการคํานวณหาโหลดการใชงานจริง

จากสูตร P= หนวยการใชงานไฟฟา(kWh)/เวลา(hr)
จาก มิเตอรประธาน Feeder 2 ประตูโรงเรียนสาธิต
มีหนวยการใชไฟฟาใน 1 ป 35,381.58 (kWh)/month
คิดเวลาที่ 30 วัน ประมาณการใขงานไฟฟาใน 1 วันหรือ 12 ชัว่ โมง
มีเวลาการใช 30 x 12 = 360 hr/month
จะได P = 35,381.58 / 360
P = 98.28 kW
จากสูตร VA = Watts / Power Factor
Power Factor มีคา 0.8
ได VA = 98.28 / 0.8
ไดโหลดการใชงานจริง 122.85 kVA
คิดเผื่อโหลด 25 เปอรเซ็นต = 122.85 x 1.25
ไดโหลดการใชงานจริงเพื่อนําไปใชคํานวณเปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลง
= 153.57 kVA
64
65

ตารางที่ 3.4 โหลดการใชงานจริงคิดเวลาการใชงานประมาณที่ 50 เปอรเซ็นต หรือ 12 ชม. และเผื่อโหลด 25


เปอรเซ็นต
Feeder โหลดการใชงานจริง(kVA) เผื่อโหลดไว 25 เปอรเซ็นต(kVA)
1.หอศิลปวัฒนธรรมภาค 1416.64 1770.80
ตะวันออก(1)
2.ประตูโรงเรียนสาธิต 122.85 153.57
3.ประตูดานหลังมหาวิทยาลัย 155.55 194.43
4.ทางเขาบานพักหลัง 144.25 180.31
มหาวิทยาลัย
5.สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล 178.30 222.87
(4.1,4.2)
6.สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล 468.39 585.48
(4.3,4.4,4.5)
7.อาคารทานผูห ญิง(8) 597.23 746.54
8.คณะแพทยศาสตร(6) 210.05 262.56
9.หอพักแพทยชาย(7) 75.95 94.93
รวม 3,369.20 4,211.50
ตาราง 3.4 เปนตารางแสดงโหลดการใชงานจริงคิดเวลาการใชงานประมาณที่ 50 เปอรเซ็นต หรือ 12 ชม. ที่ได
จากการนําคาหนวยรวมการใชไฟฟาจากตารางที่ 3.3 มาคํานวณ และทําการคิดเผื่อโหลดไว 25 เปอรเซ็นต ซึง่
จะเห็นวา Feeder ที่ 1 มีโหลดการใชงานที่คอ นขางสูงแตกตางจาก Feeder อื่น ๆ

การนําคาโหลดใชงานจริงแตละลูกของหมอแปลง มาคํานวณหาคาเปอรเซ็นตการใชงานของหมอ
แปลงแตละลูก ประมาณชวงเวลาใชงาน 50 เปอรเซ็นต (12 ชม.)

ตัวอยาง 3.2 การคํานวณหาเปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลง


จากสูตร P= หนวยการใชงานไฟฟา (kWh)/เวลา(hr)
หมอแปลงของ ตึก ภปร. มีขนาด 1000 kVA มีโหลดการใชงานจริง
มีหนวยการใชไฟฟาใน 1 ป 54,454.28 (kWh)/month
ประมาณเวลาการใชงาน 50 เปอรเซ็นต หริอ 12 ชั่วโมง
คิดเวลา 1 เดือนมี 30 วัน ประมาณเวลาการใช 30 x 12 = 360 hr/month
จะได P = 54,454.28 / 360
P = 151.26 kW
จากสมการที่
66

Power Factor มีคา 0.8


ได VA = 151.26/0.8
ไดโหลดการใชงานจริง 189.07 kVA
คิดเผื่อโหลด 25 เปอรเซ็นต = 189.07 x 1.25
ไดโหลดการใชงานจริง 236.34 kVA
ไดเปอรเซ็นตการใชงานจริง 236.34/1000
ได = 0.236
จะไดเปอรเซ็นตการทํางานของหมอแปลง ตึก ภปร.ได 24 เปอรเซ็นต เพื่อนําไปใชคํานวณและยุบรวม
หมอแปลงเพื่อหาขนาดของ Unit Substation
จากตัวอยางการคํานวณ ไดเปอรเซ็นตการทํางานของหมอแปลงตามตาราง 3.5

ตารางที่ 3.5 เปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลงแตละลูกคิดการใชงานที่ 50 เปอรเซ็นต (12 ชม.)


สถานที่ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็นการใชงาน
สนามเปตอง 100 13
สนามตะกรอ 500 15
อาคารภาควิชาคณิตศาสตร 500 4
โรงเพาะเลี้ยงสัตว 250 10
วิทยาลัยการขนสงโลจิสติกส 160 29
วิทยาศาสตรการกีฬา 630,630,250,630 4,5,5,4
หอสมุด 1250 5
ศิลปกรรมศาสตร 160,1,000 6,13
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร 1,250,1,250 17,23
อาคารเรียนรวม 2 1,000 45
คณะมนุษยศาสตร 630 20
คณะเภสัช 500 25
โรงแรมเทาทอง 800 25
สนามฟุตบอลโรงแรมเทาทอง 100 15
ศูนยกิจการนิสติ 400 12
ชมรมพุทธ 1,000 22
อาคารโภชนาการ 400 25
หอ14 315 28
หอ50 630 20
67

(ตอ) ตารางที่ 3.5 เปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลงแตละลูกคิดการใชงานที่ 50 เปอรเซ็นต (12 ชม.)


สถานที่ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็นการใชงาน
หอ 15 630,315 28,33
เทาทอง2A 630 18
เทาทอง2B 630 41
เทาทอง3A 630 44
เทาทอง3B 630 42
เทาทอง4 1000 41
วิทยาศาสตรการกีฬา 50 15
อาคารพักอาศัย1 100,1000 9,12
อาคารพักอาศัยA 315 12
อาคารพักอาศัยC 315 11
ตึกศิลปวัฒนธรรม 1,000 20
ศูนยศิลปะ 160 50
ตึกเฉลิมพระเกียรติ์ 315,800 41,47
สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล 1,000,1,000,1,000,630,315 23,19,18,27,21
ภปร. 1,000 24
คณะการเงินและการลงทุน ประเทศ 250 15
ตึกธํารง 1,250 20
ตึกประยูร 1,000 23
คณะวิทยาศาสตร 500,100 50,15
เทคโนโลยีสารสนเทศ 160 10
ตึกเคมี 500 13
ตึกฟสิกส 500 24
Centrllab 1,600 3
วิทยศาสตรชวี ภาพ 1,000 40
หอสมุด 250 10
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล1 160,800 9,3
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล2 800 3
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล3 800 3
คณะการจัดการและการทองเที่ยว 160,160,3500 15,10,4
68

(ตอ) ตารางที่ 3.5 เปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลงแตละลูกคิดการใชงานที่ 50 เปอรเซ็นต (12 ชม.)


สถานที่ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็นการใชงาน
วิศวกรรมไฟฟา 500 6
วิศวกรรมอุตสาหการ 315 7
วิศวกรรมเครือ่ งกล 500 13
วิศวกรรมเคมี 500 23
ตึกเกษม 1,000 31
สาธิตอาคาร 4 315 23
IEP 1,000 27
หอสมุดสาธิต 315 25
อาคาร50ป 1,000 14
หอประชุมสาธิต 315 25
คณะศึกษาศาสตร 1000 25
หอพักนานาชาติ 1,250,630 20,25
วิทาลัยนานาชาติ 1,000 13
สํานักคอม 1,000 25
อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 พระรอบชนม 315 15
พรร
คณะพยาบาลศาสตร 500 11
หอพยาบาล 1,000 8
คณะสหเวชศาสตร 1,250 14
คณะสาธารสุขศาสตร 1,000 13
อาคารทานผูหญิงประภาศรี 1,000 27
หอพักแพทย 250,315 32,30
คณะแพทยศาสตร 2,000 38
รวบรวมขอมูลหนวยรวมการใชไฟฟาจริงของหมอแปลงภายในมหาวิทยาลัยบูรพา เฉลี่ยภายใน 1 ป
69

3.5 สํารวจและวิเคราะหแบบการวางแนวสายไฟฟาในลักษณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยบูรพา


ภายในมหาวิทยาลัยบูรพามีการวางแนวสายไฟฟาในลักษณะของระบบเหนือหัวและใตดินเขาดวยกัน
ในหัวขอนี้จึงออกสํารวจถึงระบบไฟฟาและแนวสายไฟภายในมหาวิทยาลัยบูรพารูปแบบตาง ๆ ดังปรากฏในรูป
ที่ 3.6 ซึ่งมีการแบงระบบเหนือหัวและระบบใตดินอยางชัดเจนตามแนวสายไฟฟาที่แสดงใหเห็น
70
71

3.6 การแบงและออกแบบ Feeder ใหมภายในมหาวิทยาลัยบูรพา


ทําการแบง Feeder ใหม ภายในมหาวิทยาลัยบูรพาเพื่อใหเหมาะสมกับการออกแบบระบบไฟฟาใต
ดิน โดยใชการแบงเบาภาระจาก Feeder ที่ 1 เฉลี่ยโหลดในแตละ Feeder ใหสมดุล เพื่อความมีเสถียรภาพ
ของระบบในการจายโหลด โดยในการแบง Feeder ภายในมหาวิทยาลัยบูรพานั้น จะคํานึงถึงไลนเดิมของ
ระบบไฟฟาและ Feeder 4,5,6,7,8,9 ที่รับไฟฟามาจากการไฟฟาโดยตรงซึ่งคงไวที่ระบบได เพื่อลดคาใชจายใน
การออกแบบระบบไฟฟาใตดินดังรูปที่ 3.7 เมื่อมีการออกแบบระบบไฟฟาใตดิน จําเปนตองมีแบงแยก Feeder
ใหชัดเจน เพราะเมื่อเกิดความขัดของตอระบบไฟฟา Feeder ใด Feeder หนึ่ง จะไมเกิดผลกระทบตอ Feeder
อื่น ๆ ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา และเนื่องจากระบบไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา มีโหลดหมอแปลงรวม
ทั้งสิ้น 62,060 kVA แตมีขนาดการใชงานจริงเพียงแค 4,212 kVA โดยคํานวณจากการใชงานจริง และพิจารณา
หม อ แปลงที่ Feeder แต ล ะ Feeder และรวมหม อ แปลงใน Feeder นั้ น เข า ด ว ยกั น หลั ก เกณฑ ป ริ ม าณ
กําลังไฟฟาของผูขอใชบริการที่จายหรือรับจากระบบโครงขายไฟฟาในระบบจําหนาย 22 kV ไมเกิน 8.0 เมกะ
วัตต / วงจร (ระเบียบการไฟฟาสวนภูมิภาควาดวยขอกําหนดการเชื่อมตอระบบโครงขายไฟฟา 2551)
72
73

ตารางที่ 3.6 Feeder ที่ 1 (สีมวง จากรูปที่ 3.7)


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA)
ตึกศิลปวัฒนธรรม 1 1,000
ตึกเฉลิมพระเกียรติ์ 2 315,800
ศูนยศิลปะ 1 160
คณะการเงินและการ 1 250
ลงทุน ประเทศ
ภปร. 1 1,000
คณะเภสัชศาสตร 1 500
ตึกธํารง 1 1,250
ตึกประยูร 1 1,000
อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 1 315
พระรอบชนมพรร
คณะสาธารณสุขศาสตร 1 1,000
คณะวิทยาศาสตร 2 500,100
คณะเทคโนโลยี 1 160
สารสนเทศ
ตึกเคมี 1 500
ตึกฟสิกส 1 500
Centrllab 1 1600
หอสมุด 1 250
วิทยาศาสชีวภาพ 1 1000
วิทยาลัยการขนสงโลจิ 1 160
สติกส
อาคารภาควิชา 1 500
คณิตศาสตร
โรงเพาะเลี้ยงสัตว 1 250
วิทยาศาสตรการกีฬา 4 630,630,250,630
หอสมุด 1 1250
รวม 27 16,500
74

ตาราง 3.7 Feeder ที่ 2 (สีแดง จากรูปที่ 3.7)


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA)
หอประชุมสาธิต 1 315
อาคารฉลองราช 50 ป 1 1000
คณะศึกษาศาสตร 1 1000
สาธิตอาคาร 4 1 315
IEP 1 1000
หอประชุมสาธิต 1 315
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร 2 1250,1250
คณะมนุษยศาสตร 1 630
อาคารเรียนรวม 2 1 1000
คณะศิลปกรรมศาสตร 2 160,1000
หอพักนานาชาติ 2 1250,630
วิทยาลัยนานาชาติ 1 1000
สํานักคอมพิวเตอร 1 1000
คณะพยาบาลศาสตร 1 500
หอพักพยาบาลศาสตร 1 1,000
คณะสหเวชศาสตร 1 1,250
รวม 19 15865

ตาราง 3.8 Feeder ที่ 3 (สีแดง จากรูปที่ 3.7)


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA)
โรงแรมเทาทอง 1 800
สนามฟุตบอล 1 100
ศูนยกิจการนิสติ 1 400
ชมรมพุทธศาสนา 1 1,000
อาคารโภชนาการ 1 400
หอ14 1 315
หอ50 1 630
หอ 15 2 630,315
เทาทอง2A 1 630
75

(ตอ) ตาราง 3.8 Feeder ที่ 3 (สีแดง จากรูปที่ 3.7)


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA)
เทาทอง2A 1 630
เทาทอง2B 1 630
เทาทอง3A 1 630
เทาทอง3B 1 630
เทาทอง4 1 1,000
คณะวิทยาศาสตรการกีฬา 1 50
สนามเปตอง 1 100
สนามตะกรอ 1 500
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล1 2 160,800
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล2 1 800
อาคารเสนาะอุนานุกูล3 1 800
คณะการจัดการและการ 3 160,160,3,500
ทองเที่ยว
วิศวกรรมไฟฟา 1 500
วิศวกรรมอุตสาหการ 1 315
วิศวกรรมเครือ่ งกล 1 500
วิศวกรรมเคมี 1 500
ตึกเกษม 1 1000
รวม 29 17955
76

3.7 การยุบรวมหมอแปลงขนาดหมอแปลงเพื่อการออกแบบ Unit Substation


จาการหาคาเปอรเซ็นตการใชงานของหมอแปลงแตละลูก เปนการนําคาโหลดที่ใชจริงของหมอ
แปลงแตละลูกที่ไดมาคํานวนหาคาเปอรเซ็นตการใชงาน เพื่อการยุบรวมหมอแปลงสําหรับการออกแบบ
Unit Substation

ตาราง 3.9 พิกัดกระแสแรงต่ําหมอแปลง 3 เฟส


kVA ระบบ 3 φ ดาน 400 v
เปอรเซ็นตของกระแสโหลด
80 100
50 58 72
100 115 144
160 185 231
250 284 355
315 364 455
400 461 577
500 568 710
630 728 910
800 919 1143
1000 1153 1442
1250 1437 1797
1600 1665 2308
2000 2306 2884
3500 4027 5036

ตัวอยาง 3.3 การยุบรวมหมอแปลง


ศูนยศิลปะ มีหมอแปลงขนาด 165 kVA ใชงานที่ 50 เปอรเซ็นต
คณะการเงินและการลงทุนระหวางประเทศ 250 kVA ใชงานที่ 15 เปอรเซ็นต
หมอแปลงขนาด 160 kVA มีพิกัดกระแสที่ 231 ที่ 100 เปอรเซ็นต
หมอแปลงขนาด 250 kVA มีพิกัดกระแสที่ 355 ที่ 100 เปอรเซ็นต
หมอแปลงลูกใดที่มีขนาดต่ํากวา 20 เปอรเซ็นต จะคิดคาที่ 20 เปอรเซ็นต
จะได หมอแปลงขนาด 160 kVA ใชงานที่ 50 เปอรเซ็นต มีพิกัดกระแส 115 A
หมอแปลงขนาด 250 kVA ใชงานที่ 20 เปอรเซ็นต มีพิกัดกระแสที่ 71 A
77

รวมหมอแปลง 2 ลูก มีพิกัดกระแสใชงาน 186 A


คิดเพื่อขยายโหลด 25 เปอรเซ็นต 232.5 A
เลือกขนาดหมอแปลงจากตารางที่ 3.16
เพื่อใหมีพิกดั กระแสที่ 80 เปอรเซ็นต ไมนอยกวา 232.5 A
จะไดหมอแปลงขนาด 250 kVA

3.7.1 การออกแบบ Unit Substation หลังการยุบรวมหมอแปลงไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา


จากตางรางที่ 3.7,3.8.3.9 สามารถคํานวนหาขนาด Unit Substation จากการยุบหมอแปลงจาก
ตัวอยางที่ 3.3
จะไดจํานวน Unit Substation ทัง้ หมด 12 ลูก (รูป 3.8,3.9) และหมอแปลงลูกใดที่มีขนาดต่ํากวา
20 เปอรเซ็นต จะคิดคาที่ 20

ตารางที่ 3.10 ตารางการยุบรวมหมอแปลงและเปลี่ยนเปน Unit substation


Feeder ขนาด Unit Substation (kVA) จํานวน(ลูก)
1 630 2
1000 2
2 1000 2
1600 2
3 1000 3
1600 1
รวม 12
78
79
80

3.7.2 การออกแบบระบบไฟฟาใน Feeder ที่ 1 (ดังรายละเอียดในรูปที่ 3.10)

ตารางที่ 3.11 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสใชงานจริงของหมอแปลงใน Feeder ที่ 1


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็นการใช พิกัดกระแส พิกัดกระแส
แปลง (kVA) งาน ที่ 100 ใชงานจริง
เปอรเซ็นต
ตึกศิลปวัฒนธรรม 1 1,000 20 1442 288.4
ตึกเฉลิมพระเกียรติ์ 2 315,800 41,47 455,1143 186,537
ศูนยศิลปะ 1 160 50 231 115
คณะการเงินและการ 1 250 15 355 53
ลงทุน ประเทศ
ภปร. 1 1,000 24 1442 346
คณะเภสัชศาสตร 1 500 25 710 177
ตึกธํารง 1 1,250 20 1797 359.4
ตึกประยูร 1 1,000 23 1442 331
อาคารเฉลิมพระเกียรติ 1 315 15 455 69
6 พระรอบ
คณะสาธารณสุข 1 1,000 13 1442 187
ศาสตร
คณะวิทยาศาสตร 2 500,100 50,15 710,144 355,22
คณะเทคโนโลยี 1 160 10 231 23
สารสนเทศ
ตึกเคมี 1 500 13 710 92
ตึกฟสิกส 1 500 24 710 170.4
Centrllab 1 1600 3 2308 69.24
หอสมุด 1 250 10 355 35
วิทยาศาสชีวภาพ 1 1000 40 1442 576
วิทยาลัยการขนสงโลจิ 1 160 29 231 67
สติกส
อาคารภาควิชา 1 500 4 710 28
คณิตศาสตร
โรงเพาะเลี้ยงสัตว 1 250 10 355 35
81

(ตอ) ตารางที่ 3.11 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสใชงานจริงของหมอแปลงใน Feeder ที่ 1


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็นการใช พิกัดกระแส พิกัดกระแส
แปลง (kVA) งาน ที่ 100 ใชงานจริง
เปอรเซ็นต
วิทยาศาสตรการกีฬา 4 630,630,250,63 4,5,5,4 910,910 36,45,17,3
0 ,355,910 6
หอสมุด 1 1250 5 1797 89
รวม 27 16,500 18.53
ใน Feeder ที่ 1 เปนการรวมกันทัง้ ในระบบไฟฟาแบบเหนือหัวภายในปจจุบันของมหาวิทยาลัยบูรพากับระบบ
ไฟฟาใตดินที่ออกแบบใหม พิจารณาจากตําแหนงหมอแปลงและคาการใชงานจริง รวมถึงเปอรเซ็นตการใชงาน
จริง เพื่อนํามาออกแบบ Unit Substation

ตารางที่ 3.12 การออกแบบ Unit Substation และการยุบตําแหนงหมอแปลงไฟฟาใน Feeder ที่ 1


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA) เปลี่ยนรูปเปน Unit
Substation
ตึกศิลปวัฒนธรรม 1 1000 ไมเปลี่ยน
ตึกเฉลิมพระเกียรติ์ 2 315,800
ศูนยศิลปะ 1 160
คณะการเงินและการ 1 250
ลงทุน ประเทศ
ภปร. 1 1,000
คณะเภสัชศาสตร 1 500
วิทยาลัยการขนสงโลจิ 1 160 เลือก Unit Substation
สติกส ขนาด 630 KVA
อาคารภาควิชา 1 500
คณิตศาสตร
โรงเพาะเลี้ยงสัตว 1 250
วิทยาศาสตรการกีฬา 4 630,630,250,630
Central lab 1 1600 เลือก Unit Substation
หอสมุด 1 250 ขนาด 1000 KVA
วิทยาศาสชีวภาพ 1 1000
หอสมุด 1 1250
82

(ตอ) ตารางที่ 3.12 การออกแบบ Unit Substation และการยุบตําแหนงหมอแปลงไฟฟาใน Feeder ที่ 1


คณะวิทยาศาสตร 2 500,100 เลือก Unit Substation
คณะเทคโนโลยี 1 160 ขนาด 630 KVA
สารสนเทศ
อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 1 315
พระรอบชนมพรร
คณะสาธารณสุขศาสตร 1 1,000
ตึกธํารง 1 1,250 เลือก Unit Substation
ตึกประยูร 1 1,000 ขนาด 1000 KVA
ตึกเคมี 1 500
ตึกฟสิกส 1 500
ใน Feeder ที่ 1 มี Unit substation ทั้งสิ้น 4 ลูก แบงเปน 1,000 kVA จํานวน 2 ลูก และ 630 kVA จํานวน
2 ลูก
83
84

3.7.3 การออกแบบระบบไฟฟาใน Feeder ที่ 2 (ดังรายละเอียดในรูปที่ 3.11)

ตารางที่ 3.13 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสใชงานจริงของหมอแปลงใน Feeder ที่ 2


สถานที่ตงั้ หมอ จํานวนหมอ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็นการ พิกัดกระแสที่ พิกัดกระแส
แปลง แปลง (kVA) ใชงาน 100 ใชงานจริง
เปอรเซ็นต
หอประชุมสาธิต 1 315 25 455 114
อาคารฉลองราช 1 1000 14 1442 201
50 ป
คณะศึกษาศาสตร 1 1000 25 1442 360
สาธิตอาคาร 4 1 315 23 455 105
IEP 1 1000 27 1442 390
หอประชุมสาธิต 1 315 25 455 114
วิทยาลัย 2 1250,1250 17,23 1797,1797 305,413
พาณิชยศาสตร
คณะมนุษยศาสตร 1 630 20 910 182
อาคารเรียนรวม 2 1 1000 45 1442 648
คณะศิลปกรรม 2 160,1000 6,13 231,1442 14,187
ศาสตร
หอพักนานาชาติ 2 1250,630 20,25 1797,910 360,227
วิทยาลัย 1 1000 13 1442 187
นานาชาติ
สํานัก 1 1000 15 1442 216
คอมพิวเตอร
คณะพยาบาล 1 500 11 710 78
ศาสตร
หอพักพยาบาล 1 1,000 8 1442 115
ศาสตร
คณะสหเวช 1 1,250 14 1797 251
ศาสตร
85

ใน Feeder ที่ 2 เปนการรวมกันทั้งในระบบไฟฟาแบบเหนือหัวภายในปจจุบันของมหาวิทยาลัยบูรพา


กับระบบไฟฟาใตดินที่ออกแบบใหม พิจารณาจากตําแหนงหมอแปลงและคาการใชงานจริง รวมถึงเปอรเซ็นต
การใชงานจริง เพื่อนํามาออกแบบ Unit Substation

ตารางที่ 3.14 การออกแบบ Unit Substation และการยุบตําแหนงหมอแปลงไฟฟาใน Feeder ที่ 2


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA) เปลี่ยนรูปเปน Unit
Substation
หอประชุมสาธิต 1 315 เลือก Unit Substation
อาคารฉลองราช 50 ป 1 1000 ขนาด 1000 KVA
IEP 1 1000
สาธิตอาคาร 4 1 315
หอประชุมสาธิต 1 315
.วิทยาลัยพาณิชยศาสตร 2 1250,1250
คณะมนุษยศาสตร 1 630 เลือก Unit Substation
อาคารเรียนรวม 2 1 1000 ขนาด 1600 KVA
คณะศิลปกรรมศาสตร 2 160,1000
คณะศึกษาศาสตร 1 1000 เลือก Unit Substation
หอพักนานาชาติ 2 1250,630 ขนาด 1600 KVA
วิทยาลัยนานาชาติ 1 1000
สํานักคอมพิวเตอร 1 1000 เลือก Unit Substation
คณะพยาบาลศาสตร 1 500 ขนาด 1000 KVA
หอพักพยาบาลศาสตร 1 1,000
คณะสหเวชศาสตร 1 1,250
ใน Feeder ที่ 2 มี Unit substation ทั้งสิ้น 4 ลูก แบงเปน 1,600 kVA จํานวน 3 ลูก และ 1.000 kVA
จํานวน 2 ลูก
86
87

3.7.4 การออกแบบระบบไฟฟาใน Feeder ที่ 3 (ดังรายละเอียดในรูปที่ 3.12)

ตารางที่ 3.15 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสใชงานจริงของหมอแปลงใน Feeder ที่ 3


สถานที่ตงั้ หมอ จํานวนหมอ ขนาดหมอแปลง เปอรเซ็น พิกัดกระแสที่ พิกัดกระแส
แปลง แปลง (kVA) การใชงาน 100 เปอรเซ็นต ใชงานจริง
โรงแรมเทาทอง 1 800 25 1143 285.75
สนามฟุตบอล 1 100 15 144 21.6
โรงแรม
ศูนยกิจการนิสติ 1 400 12 577 69
ชมรมพุทธศาสนา 1 1,000 22 1442 317
อาคารโภชนาการ 1 400 25 577 145
หอ14 1 315 28 455 127.4
หอ50 1 630 20 910 182
หอ 15 2 630,315 28,33 910,455 255,150
เทาทอง2A 1 630 18 910 164
เทาทอง2B 1 630 41 910 373
.เทาทอง3A 1 630 44 910 400
เทาทอง3B 1 630 42 910 382
เทาทอง4 1 1,000 41 1442 591
คณะวิทยาศาสตร 1 50 15 72 11
การกีฬา
.สนามเปตอง 1 100 13 144 18.72
สนามตะกรอ 1 500 15 710 106
อาคารชุดเสนาะอุ 2 160,800 9,3 231,1142 21,35
นานุกูล1
อาคารชุดเสนาะอุ 1 800 3 1142 34.26
นานุกูล2
อาคารชุดเสนาะอุ 1 800 3 1142 34.26
นานุกูล3
คณะการจัดการและ 3 160,160,3,500 15,10,4 231,231,5036 34,23,201
การทองเที่ยว
วิศวกรรมไฟฟา 1 500 6 710 42
88

(ตอ) ตารางที่ 3.15 ขนาดหมอแปลงและพิกัดกระแสใชงานจริงของหมอแปลงใน Feeder ที่ 3


.วิศวกรรมอุตสา 1 315 7 455 32
หการ
.วิศวกรรมเครื่องกล 1 500 13 710 92
วิศวกรรมเคมี 1 500 23 710 163
ตึกเกษม 1 1000 31 1442 447
ใน Feeder ที่ 3 เปนการรวมกันทั้งในระบบไฟฟาแบบเหนือหัวภายในปจจุบันของมหาวิทยาลัยบูรพา
กั บ ระบบไฟฟ า ใต ดิ น ที่ อ อกแบบใหม อี ก ทั้ ง ยั ง คํ า นึ ง ถึ ง ประมาณแสงสว า งที่ เ พี ย งพอรอบสวนนั น ทนาการ
พิจารณาจากตําแหนงหมอแปลงและคาการใชงานจริง รวมถึงเปอรเซ็นตการใชงานจริง เพื่อนํามาออกแบบ
Unit

ตารางที่ 3.16 การออกแบบ Unit Substation และการยุบตําแหนงหมอแปลงไฟฟาใน Feeder ที่ 3


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA) เปลี่ยนรูปเปน Unit
Substation
โรงแรมเทาทอง 1 800 เลือก Unit Substation
สนามฟุตบอลโรงแรม 1 100 ขนาด 1000 KVA
ศูนยกิจการนิสติ 1 400
ชมรมพุทธศาสนา 1 1,000
อาคารโภชนาการ 1 400
หอ14 1 315 เลือก Unit Substation
หอ50 1 630 ขนาด 1000 KVA
หอ 15 2 630,315
เทาทอง2A 1 630
เทาทอง2B 1 630 เลือก Unit Substation
เทาทอง3A 1 630 ขนาด 1600 KVA
เทาทอง3B 1 630
เทาทอง4 1 1,000
คณะวิทยาศาสตรการ 1 50
กีฬา
สนามเปตอง 1 100 เลือก Unit Substation
สนามตะกรอ 1 500 ขนาด 1000 KVA
89

(ตอ) ตารางที่ 3.16 การออกแบบ Unit Substation และการยุบตําแหนงหมอแปลงไฟฟาใน Feeder ที่ 3


สถานที่ตงั้ หมอแปลง จํานวนหมอแปลง ขนาดหมอแปลง (kVA) เปลี่ยนรูปเปน Unit
Substation
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล 2 160,800
1
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล 1 800
2
อาคารชุดเสนาะอุนานุกูล 1 800
3
คณะการจัดการและการ 3 160,160,3,500 ยุบรวมเปนหมอแปลง
ทองเที่ยว ขนาด 1000 KVA
วิศวกรรมไฟฟา 1 500
วิศวกรรมอุตสาหการ 1 315
วิศวกรรมเครือ่ งกล 1 500 ไมเปลี่ยน
วิศวกรรมเคมี 1 500
ตึกเกษม 1 1000
ใน Feeder ที่ 3 มี Unit substation ทั้งสิ้น 4 ลูก แบงเปน 1,600 kVA จํานวน 1 ลูก และ 1.000 kVA
จํานวน 3 ลูก

*หมอแปลงลูกใดที่มีขนาดต่ํากวา 20 เปอเซ็นต คิดคาที่ 20 เปอรเซ็นต


90
91

3.8 การออกแบบขนาดสายไฟฟาของระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
การออกแบบขนาดสายไฟฟาของระบบสายไฟฟาใตดิน จะแยกเปน 3 Feeder หลัก ๆ โดยตองรวม
ขนาดหมอแปลงภายใน Feeder นั้น ๆ และเพื่ออถึงอนาคต ซึ่งอาจมีการเพิ่มของจํานวนหมอแปลงเพื่อให
เพียงพอสําหรับการใชงานในอนาคตอีกทั้งยังตองคํานวนขนาดสายไฟฟาใตดินแรงต่ําของหมอแปลงแตละลูกที่
เขาไปยัง CABLE RISER POLE ขางชายคาตัวอาคารอีกดวย โดยการคํานวณสามารถดูจากตัวอยางที่ 3.4 และ
ตารางที่ 2.6 และ 2.8 นอกจากนี้ถาโหลด 3 เฟสสมดุล มีขนาดมากกวา 40% ของโหลดทั้งหมดอาจใชขนาด
สายนิวทรัลเทากับประมาณ 50% ของสายเฟสได (Half Neutral) เนื่องจากสายไฟฟาขนาดประมาณ 50%
โดยทั่วไปสามารถนํากระแสไดถึงประมาณ 60% โดยในสวนหัวขอการออกแบบขนาดสายไฟฟาของระบบไฟฟา
ใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จะคํานึงถึงระยะการใชงานจริงของความยาวสายไฟฟา โดยที่จะคํานวณ
ระยะทางถึงอาคารที่ใชงานรวมถึง Unit Substation หรือ หมอแปลงที่ตองมีสายไฟฟาแรงสูงเขาถึง
สําหรับการหาขนาดสายไฟฟาแรงต่ําเพื่อเขาอาคารของ Unit Substation ระบบ 3 เฟสจะมี 4 สายใน
ระบบ ประกอบดวยสาย LINE 3 เสน และสายนิวตรอน 1 เสน มีแรงดันไฟฟาระหวางสาย LINE กับ นิวตรอน
380 - 400 โวลต และแรงดันระหวางสาย LINE กับ Neutral 220 – 230 โวลต ความถี่ 50 Hz โดยคิดจาก
ตัวอยาง 3.4 เชนเดียวกัน แตเปลี่ยนจากแรงดันไฟฟา 22 kV เปน 400 และดูจากตารางที่ 2.6 แตการไฟฟา
สวนภูมิภาคแนะนําใชเคเบิลใตดินที่การไฟฟาสวนภูมิภาคใชอยู เพื่อประโยชนในการบํารุงรักษาไดแกขนาด
50,120,240 และ 400 mm2 (กฟภ.จัดหาสายเคเบิลตามสเปคเลขที่ R-777/2539 สําหรับสาย 22 kV)
*หมายเหตุ
การไฟฟาสวนภูมิภาคแนะนําใชเคเบิลใตดินที่การไฟฟาสวนภูมิภาคใชอยู เพื่อประโยชนในการบํารุงรักษาไดแก
ขนาด 50, 70,240 และ 400 mm2
ตัวอยาง 3.4 การออกแบบสายไฟฟาของระบบไฟฟาแรงสูงใตดิน
ระบบไฟฟา Feeder มีขนาดหมอแปลง 5880 kVA
S
จากสมการที่ IL =
3V
S คือขนาดของหมอแปลง (kVA)
V คือแรงดันไฟฟา(22kV)
5880
IL =
3 x 22
I L = 154.31
จากสมการที่ โหลดตอเนื่องจะเผื่อพิกัดอีก 25 เปอรเซ็นต
I C ≥ I L × 1.25
I C = 192.89

เลือกขนาดสาย XLPE เพื่อใชงานในระบบไฟฟาใตดิน จากตารางที่ 2.8


92

จะไดสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอทิลีน (XLPE) ขนาด 3 x 70 mm2(218)


*หมายเหตุ
การไฟฟาสวนภูมิภาคแนะนําใชเคเบิลใตดินที่การไฟฟาสวนภูมิภาคใชอยู เพื่อประโยชนในการบํารุงรักษาไดแก
ขนาด 50 , 240 และ 400 mm2 ซึ่งรับกระแสไดสูงสุด 150,400 และ 600 A ตามลําดับ

3.8.1 การออกแบบขนาดสายไฟของระบบไฟฟาใตดินใน Feeder ที่ 1


พิจารณาหาคิดคาขนาดสายไฟฟาของ Feeder ที่ 1 ซึ่งภายใน Feeder ที่ 1 จะเปน Feeder ที่ผสม
รวมลักษณะการทํางานของหมอแปลงและ Unit Substation เขาไวดว ยกัน โดยตองพิจารณารวมขนาดหมอ
แปลงที่อยูใ น Feeder ที่ 1 เพือ่ หาขนาดของสายไฟฟาใตดินแรงสูงและคํานึงถึง ขนาดของ Unit Substation
เพื่อหาขนาดสายไฟฟาใตดินแรงต่ําจากตารางที่ 3.20
จากตัวอยางที่ 3.4 สามารถคิดกระแสได 85.55 A จากที่ โหลดตอเนื่องจะเผื่อพิกัดอีก 25 เปอรเซ็นต ได
106.94 และเลือกหาขนาดสายไฟฟาแรงสูง XLPE ของ Feeder ที่ 1 จากตารางที่ 2.8 ได จะไดสายไฟฟา
ทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอทิลีน (XLPE) ขนาด 35 mm2 (149) แตเลือกใช ขนาด 70 mm เพื่อให
สอดคลองกับขนาดสายไฟ ใน Feeder อื่น ๆ

ตารางที่ 3.17 ขนาดหมอแปลง Unit Substation และสายไฟฟาที่ออกแบบใน Feeder ที่ 1 (รูป 3.13 )

ขนาดของ ขนาดของสายแรงต่ําเขาสู
สายแรงสูงที่ อาคาร
ลําดับ สี สถานที่ ขนาด Unit ใชภายใน (mm2)
Substation Feeder
(mm2)
1 เขียว วิทยาลัยการขนสงโลจิสติกส 630 2(3 x 400,1 x 240)
2 ชมพู หนาหอสมุด 1000 2(3 x 70) 3(3 x 400,1 x 240)
3 เทา central laboratory 630 2(3 x 400,1 x 240)
4 เหลือง คณะวิทยาศาสตร 1000 3(3 x 400,1 x 240)

จากการคํานวณหาขนาดสายไฟของ Feeder ที่ 1 และความยาวตามแนวสายแรงสูงใช ขนาดสาย


ไฟฟาแรงสูง XLPE 3 x 70 จํานวน 6,114 เมตร ในสวนของสายแรงต่ําเขาสูอ าคารใช XLPE ขนาด 400 และ
240 ขนาด 12,633 เมตรและ 4,211 ตามลําดับ
93
94

3.8.2 การออกแบบขนาดสายไฟของระบบไฟฟาใตดินใน Feeder ที่ 2


ในตัวอยางที่ 3.4 และพิจารณาสามารถคิดกระแสได 136.46 A จากที่ โหลดตอเนื่องจะเผื่อพิกัดอีก
25 เปอรเซ็นต ได 170.58 และเลือกหาขนาดสายไฟฟาแรงสูง XLPE ของ Feeder ที่ 2 จากตารางที่ 2.8 ได
จะไดสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอทิลีน (XLPE) ขนาด 50 mm2 (178) เลือกใช ขนาด 70 mm
เพื่อใหสอดคลองกับขนาดสายไฟ ใน Feeder อื่น ๆ

ตารางที่ 3.18 ขนาดหมอแปลง Unit Substation และสายไฟฟาที่ออกแบบใน Feeder ที่ 2 (รูป 3.14 )
ขนาดของ ขนาดของสายแรงต่ํา
สายแรงสูง เขาสูอาคาร
ลําดับ สี สถานที่ ขนาด Unit ที่ใชภายใน (mm2)
Substation Feeder
(mm2)
1 ฟา โรงเรียนสาธิตพิบูลบําเพ็ญ 1000 3(3 x 400,1 x 240)
2 แดง คณะพาณิชยศาสตร 1600 2(3 x 70) 5(3 x 400,1 x 240)
3 น้ําเงิน คณะศิลปกรรม 1600 5(3 x 400,1 x 240)
4 มวง หนาคณะนานาชาติ 1000 3(3 x 400,1 x 240)
จากการคํานวณหาขนาดสายไฟของ Feeder ที่ 2 และความยาวตามแนวสายแรงสูงใช ขนาดสาย
ไฟฟาแรงสูง XLPE 3 x 70 จํานวน 5,700 เมตร ในสวนของสายแรงต่ําเขาสูอ าคารใช XLPE ขนาด 400 และ
240 ขนาด 15,396 เมตรและ 5,132 ตามลําดับ
95
96

3.8.3 การออกแบบขนาดสายไฟของระบบไฟฟาใตดินใน Feeder ที่ 3


ในตั ว อย า งที่ 3.4 สามารถคิ ด กระแสได 120.71 A จากที่ โหลดต อ เนื่ อ งจะเผื่ อ พิ กั ด อี ก 25
เปอรเซ็นต ได 150.89 และเลือกหาขนาดสายไฟฟาแรงสูง XLPE ของ Feeder ที่ 3 จากตารางที่ 2.8 ได จะได
สายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอทิลีน (XLPE) ขนาด 70 mm2 (218)
แตเนื่องจาก Feeder 3 มีการผสมรวมระหวางระบบไฟฟาแบบเกาของมหาวิทยาลัยและระบบไฟฟาใตดินซึ่ง
พิจารณาบริเวณคณะวิศวกรรมศาสตร จะคงไวซึ่งระบบเดิม เนื่องจากเปนจุดอับสายตา และเปนระบบไฟฟาใต
ดินของมหาวิทยาลัยบูรพาอยู จึงพิจารณาลากสาย Power line หรือสายแรงสูงจากตน Feeder ที่ 3 หลัง
มหาวิทยาลัยผานระบบไฟฟาใตดินเขาหมอแปลงตามปกติ

ตารางที่ 3.19 ขนาดหมอแปลง Unit Substation และสายไฟฟาที่ออกแบบใน Feeder ที่ 3 (รูป 3.15 )
ลําดับ สี สถานที่ ขนาด Unit ขนาดของ ขนาดของสายแรง
Substation สายแรงสูง ต่ําเขาสูอาคาร
ที่ใชภายใน (mm2)
Feeder
(mm2)
1 น้ําตาล บริเวณหนาคณะวิทยาศาสตรการ 1600 5(3 x 400,1 x
ออน กีฬา 240)
2 เขียว หนาหอพัก 1000 2(3 x 70) 3(3 x 400,1 x
240)
3 ฟาออน บริเวณ 3 แยกหนาหอเทาทอง 1000 3(3 x 400,1 x
240)
4 น้ําตาล หลังมหาวิทยาลัย 1000 3(3 x 400,1 x
เขม 240)
จากการคํานวณหาขนาดสายไฟของ Feeder ที่ 3 และความยาวตามแนวสายแรงสูงใช ขนาดสาย
ไฟฟาแรงสูง XLPE 3 x 70 จํานวน 6,840 เมตร ในสวนของสายแรงต่ําเขาสูอ าคารใช XLPE ขนาด 400 และ
240 ขนาด 15,711 เมตรและ 5,237 ตามลําดับ
97
98

3.9 การออกแบบทอรอยสายไฟฟาใตดิน
การออกแบบทอรอยสายไฟฟาใตดินแรงสูง เลือกใชสายไฟฟาใตดิน หุมฉนวนครอสลิงคโพลีเอทิลีน
(XLPE) ขนาด 240 และ 400 mm2 จากตารางที่ 3.16 ตามมาตรฐาน กฟภ.จึงเลือกทอรอยสาย HDPE
แบบ PN6.3 ขนาด 160 mm
กรณีกอสรางแบบ DUCT BANK ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน โดยขนาดเสน
ผานศูนยกลางภายในของทอตองไมนอยกวา 140 มม.
ในการกอสรางกรรมวิธีแบบ DUCT BANK นั้นระดับตั้งฝงทอรอยสายไฟฟาแรงสูงลึกกวา 0.9 เมตร
และสําหรับการฝงทอรอยสายไฟฟาแรงต่ําจากระดับดินกรณีกอสรางผานถนนตองฝงลึกกวา 1.07 เมตรโดย
ปฏิบัติตามตารางที่ 2.12 สําหรับระดับการฝงทอรอยสายเคเบิลใตดิน สําหรับการเลือกขนาดและชนิดของทอ
รอยสายเคเบิลใตดินสามารถดูจากตารางที่ 2.17 ได
คําแนะนําการจัดเตรียมทอ(สํารอง)รอยสายใตดินทั้งแรงสูงและแรงต่ํา
1) ทอรอยสายใตดินแรงสูง:
- ขนาดของทอเสนผานศูนยกลางภายในทอไมนอยกวา 125 มิลลิเมตร
2) ทอรอยสายใตดินแรงต่ํา:
- ขนาดของทอขึ้นอยูกับจํานวนและขนาดของสายทีใ่ ช โดยคํานวณจากขนาดพื้นที่หนาตัดรวมของสายเทียบกับ
ขนาดพื้นที่หนาตัดของทอโดยเมื่อคิดเปนเปอรเซ็นตแลวจะตองมีคาไมมากกวา 40 หากติดตั้งใน Duct bank
ทอที่ใชควรจะมีขนาดเทากันทั้งหมด
ดังนั้นการออกแบบหาขนาดทอรอยสายเคเบิลใตดินจากหลังการออกแบบขนาดสายเคเบิลใตดินแรง
สูงและแรงต่ําโดยสามารถดูไดจากตารางที่ 2.17 โดยสามารถหาไดจากการคํานวณขางตน และพิจารณาจาก
การกอสราง DUCT BANK ที่ทอควรจะใชขนาดเทากันทัง้ หมด จึงไดขนาดทอรอยสาย HDPE PN6.3 ขนาดเสน
ผานศูนยกลาง 160 mm สามารถดูการตอของทอไดจาก (สามารถดูรายละเอียดจาดรูปที่ 3.16)

ตารางที่ 3.20 ความลึกของทอรอยสาย


ประเภททอรอย มี หรือ ไมมีแผน ความลึกนอยทีส่ ุดในการฝง(มม.)
สายและประเภท ปดคอนกรีต ใตดื้นดินทั่วไป ใตบริเวณทางเทา ใตถนน
ดานบน
HDPEแบบแรงต่ํา มี 300 300 600
ไมมี 450 450 -
HDPEแบบแรงสูง มี 900 900 900
ไมมี - - -
99
100

3.10 การออกแบบการกอสรางชนิด DUCT BANK ของระบบสายไฟฟาใตดิน


การออกแบบระบบไฟฟาใตดนิ ภายในมหาวิทยาลัยบูรพาออกแบบโดยใชวธิ ีการกอสรางแบบ Duct
Bank สําหรับวิธีการ Duct Back เปนวิธใี ชกับงานกอสรางในระบบจําหนายและระบบสงลักษณะการกอสราง
แบบใชทอ HDPE (High Density Polyethylene) แลวหุมทับดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึง่ เปนการปองกันจาก
ผลกระทบทางกล (Mechanical Protection) ใชกับสายเคเบิลใต ( รูป 3.17, 3.18, 3.19)
สําหรับการกอสรางดวยวิธีแบบ DUCT BANK นั้น ระดับหลัง DUCT BANK ตองฝงลึกอยางนอย
0.90 เมตรจากระดับดิน และกรณีกอ สรางผานถนนตองฝงลึกอยางนอย 1.07 เมตรโดยปฏิบตั ิตามขอกําหนด
แบบเลขที่ SA1-015/31015 (การประกอบเลขที่ 7141)
ควรคํานึงถึงอนาคต ในกรณีที่ความตองการ การใชไฟฟาเพิ่มขึน้ และเพื่อการบํารุงรักษา แตในบาง
ลักษณะ การกอสรางแบบ Duct Bank บางครั้งอาจไมจําเปนตองเพื่อทอ Spare

ตารางที่ 3.21 ตารางแนะนําจํานวนทอสํารอง


จํานวนทอที่ใชงาน 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
จํานวนทอที่สํารอง 1 1 2 1 2 2 2 3 2 4 3 2 4 3
จํานวนทอที่กอ สราง 3 4 6 6 8 9 10 12 12 15 15 15 18 18

3.10.1 การออกแบบ DUCT BACK ในแตละ Feeder


การออกแบบ Duct Back ในแตละ Feeder จะพิจารณาถึง จํานวนวงจรสายไฟที่เลือกใช ในการวิง่
เขาหาอาคารทีใ่ ชงาน รวมถึง Unit Substation และ หมอแปลงที่ตองมีสายไฟฟาผาน โดยสามารถ นําขอมูล
จาก ตาราง 3.24 ถึง 3.26 ที่เปนการออกแบบขนาดสายไฟฟาแตละ Feeder มาใชงานได

ตารางที่ 3.22 ขนาด DUCT BACK ใน Feeder ทั้ง ตาง ๆ


Feeder ขนาด DUCT BANK (เมตร)
2X4 2X3 2X2 2X1
1 938 846
2 437 230 1271
3 815 901
รวม 437 1984 3018
101

DUCT BANK แบบ 2 x 2


ในการออกแบบเลือก DUCT BANK ชนิด 2 x 2 ทัง้ หมด 3,018 เมตร โดยเลือกออกแบบไปที่
จุดสิ้นสุดสายไฟ หรือจุดเขา CABLE RISER POLE ขึ้นอาคาร ไมตอไปยังตําแหนงอื่น ๆ รวมไปถึงโคมไฟเพือ่
สองสวางในทางเดิน เพราะการกอสราง DUCT BANK ชนิดนี้ คอนขางจะมีขนาดเล็กและมีระบบไมซับซอน
DUCT BANK แบบ 2 x 3
ในการออกแบบเลือก DUCT BANK ชนิด 2 x 3 ทั้งหมด 1,984 เมตร โดยเลือกออกแบบโดยวิเคราะห
จาก Unit Substation เพื่อกระจายระบบไฟฟาแรงสูงไปที่หมอแปลงและไฟฟาแรงต่ําใตดินเขาภายในอาคาร
หลาย ๆ อาคาร
DUCT BANK แบบ 2 x 4
ในการออกแบบเลือก DUCT BANK ชนิด 2 x 4 ทัง้ หมด 437 เมตร โดยเลือกออกแบบโดยวิเคราะห
จากระบบสายสงไฟฟาแรงสูงใตดิน เพื่อกระจายไปยัง Unit Substation ในจุดตาง ๆ รวมถึงในกรณีที่มกี าร
เดินทอรอยสายจํานวนมาก
*****หากติดตั้งใน DUCT BANK ทอทีใ่ ชควรจะมีขนาดเทากันทั้งหมด จํานวนทอสํารอง ขึ้นอยูกับลักษณะ
พื้นที่ทตี่ ิดตัง้ 2 ลักษณะ คือ ติดตั้งใตผิวจราจร ใหเตรียมทอสํารองตามตารางในรูป แตหากติดตัง้ ใตทางเทา ไม
จําเปนตองมีทอสํารอง
102
103
104
105

3.11 การออกแบบเสาตนขึ้นหัวสายเคเบิล Cable Riser Pole


เสาตนขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน จะเปนจุดที่สิ้นสุดของการกอสรางแบบระบบเคเบิลใตดิน เพื่อที่จะ
ตอเชื่อมเขากับสายไฟฟาระบบเหนือดิน โดยการติดตั้ง Cable Riser Pole จะใชจํานวน 1 ชุด หรือ 2 ชุด คือ
หากกอสรางระบบเคเบิลใตดินเพื่อ รับไฟจากสถานีไฟฟา และไปเชื่อมตอกับระบบเหนือดิน ก็จะใช Cable
Riser Pole จํานวน 1 ชุด โดยในแตละชุดเปนตําแหนงการเปลี่ยนจากสายไฟฟาระบบเหนือดินเปนระบบใตดิน
หรือในกรณีสายเคเบิลใตดินดินแรงต่ําเขากับระบบจําหนายแรงต่ําที่เมนชายคาตัวอาคาร
สวนมาการกอสรางระบบเคเบิลใตดิน มักจะกอสรางภายในเขตตัวเมือง เพื่อตองการความสวย งาม
ความมั่นคงและปลอดภัยจากสิ่งแวดลอมภายนอก ดังนั้นที่ตําแหนงจุดที่สิ้นสุดของการกอสราง แบบระบบ
เคเบิลใตดิน หากทําเปนลักษณะกอสรางแบบวางพื้น (On Ground) โดยไมใชเสา จะตองกิน พื้นที่มาก และไม
เหมาะสม แตถาทําเปนลักษณะเสารับหรือที่เรียกวา Cable Riser Pole จะใชพื้นที่นอยกวา และไมกีดขวาง
และกลมกลืนกับสภาพแวดลอมมากกวา ดังนั้นปจจุบันจุดขึ้นหัวสายเคเบิลใตดิน กฟภ. จะใชเปนเสา คอร. โดย
สําหรับการติดตั้งตามแนวสาย ถาเปนระบบจําหนาย 22 และ 33 kV จะใช เปนเสา คอร. เดี่ยว
การออกแบบ CABLE RISER POLE ทั้งหมด 43 ตน แบงเปนแบบเขาตัวอาคาร 33 ตนและ แบบ
ขึ้นตนเคเบิลใตดินจํานวน 10 ตน สามาถดูรายละเอียดจากรูปที่ โดยบางจุดสามารถใชเสา คอรที่มีอยูเดิมเพื่อ
ใชเขากับเสา Cable Riser Pole(สายตนขึ้นเคเบิลใตดิน) โดยไมตองสรางใหมได
อุปกรณทใี่ ชตอสายระหวางสายเปลือยกับสายเคเบิลใตดินที่โผลพนขึ้นมาเหนือดิน จะเรียกวาหัว
เคเบิล (Termination) และเมื่อนําอุปกรณไปติดตั้งอยูบนเสาที่มีสายเคเบิลใตดินที่โผลพนขึน้ มาเหนือดิน ก็จะ
เรียกวา เสาตน Riser Pole ตามทฤษฎี สายระหวางสายเปลือยกับสายเคเบิลใตดิน หรือระหวางสายที่มี ฉนวน
มีคาไมเทากัน จําเปนจะตองติดตั้งกับดักเสิรจเพื่อปองกันไมใหฉนวนของสายเสียหายเนื่องจากแรงดัน เสิรจ
(จากฟาผา หรือจากการสับสวิตชหรืออื่น ๆ) โดยจะรักษาระดับแรงดันไวไมใหเกินกวาที่อุปกรณทนได ดังนั้นที่
เสาตน Riser Pole จะมีการติดตั้งกับดักเสิรจอยูดวย โดยดานบนกับดักเสิรจ จะตอเขากับสายตัวนํา และ
ดานลางจะตอเขากับสายตอลงดินของสายเคเบิลใตดิน และทัง้ คูจะตอเขากับสายตอลงดินของระบบ เพื่อ ตอ
เขากับหลักดินตอไป ตามที่ไดกลาวไวแลววา ที่เสาตน Riser Pole จะตองมีคาความตานทานดินที่ต่ํา ซึง่ ตาม
มาตรฐาน ระบบจําหนาย 22 & 33 kV กฟภ. จะกําหนดไวไมเกิน 5 โอหมสําหรับ (ยอมใหมีคาไมเกิน 25
โอหม สําหรับ ในพื้นที่ยากแกการทําคาความตานทานดิน)
106
107

1.Cable Riser Pole (เขาเมนชายคาตัวอาคาร รูป 3.20)

ตารางที่ 3.23 รายละเอียดขอมูลของ Cable Riser Pole(เขาเมนชายคาตัวอาคาร)


ลําดับ รายละเอียด
ที่
1 แร็ค 4 x 200 มม.แบบหลังยื่น
2 ลูกรอกแรงต่ํา มอก.227
3 คอนเนคเตอรเขาปลายสายอลูมิเนียม
4 คอนเนคเตอรชนิดบีบแบบเอช สําหรับสายเมนทองแดง กับแยกอลูมิเนียม 95-120 mm2
5 คอนเนคเตอรชนิดบีบแบบเอช สําหรับสายเมนทองแดง กับแยกอลูมิเนียม 50-95 mm2
6 กับดักเสิรจ 250-500 โวลต 2.5-5.0 กิโลแอมป
7 สายเคเบิลทองแดงหุมฉนวนและเปลือกนอกพีวีซี 1 x 55 ต.มม.
8 สายเคเบิลทองแดง ซีวี 0.6/1 เควี 1 x 185 มม.
9 PVC เทป กวาง 19 มม.
10 ทอรอยสายผนังทอหนา (RSC) ขนาด 100 มม. ยาว 3,000 มม.
11 หัวตอทางเขาสายบริการ สําหรับทอรอยสายผนังทอหนาขนาด 100 มม.
12 ทอเหล็กโคง 90 องศา สําหรับทอรอยสายผนังทอหนาขนาด 100 มม.
13 ขอตอเกลียว สําหรับทอรอยสายผนังทอขนาด 100 มม.
14 ทอพีวีซีแข็ง ขนาด ø20 x 2,500-4000 มม.
15 ฝาปดเหล็กอาบสังกะสี สําหรับทอรอยสายผนังทอขนาด 100 มม.
16 สลักเกลียว พรอมแหวนกลมและแปนเกลียว
17 สลักเกลียว
18 กราวดทําดวยเหล็กเคลือบทองแดง เสนผานศูนยกลาง 16 มม.
19 เหล็กประกบทอรอยสาย
20 เหล็กรูปรางน้ําขนาด 100 x 50 x 5 มม.
21 แผนเหล็กขนาด 40 x 110 x 5 มม.
22 จุดตอสายดินกับแผนเหล็ก เชื่อมดวยความรอน
23 จุดตอสายดินกับกราวดรอด เชื่อมดวยความรอน
24 เข็มขัดรัดทอพีวซี ีแข็ง
108

หมายเหตุ
1.ใหตัดวัสดุดังกลาวออก หากสภาพหนางานไดมีการติดตัง้ อยูแ ลว
2.ใหตอสายเปนกลางและกับดักเสิรจลงดินรวมกัน โดยใชสายตอลงดินและหลักลงดินชุดเดียวกัน ใน
ทุกจุดทีก่ อสรางสายเคเบิลใตดนิ แรงต่ําตอเชื่อมที่เมนชายคาตัวอาคาร และคาความตานทานของดินแตละจุด
ตองมีคาไมเกิน 5 โอหม
3.ใหติดตั้งเซอกิตเบรกเกอร หรือสวิตซพรอมฟวสภายในตู จํานวน 1 ชุด กรณีสายเมนชายคา มีพิกัด
กระแสใชงานนอยกวาสายเคเบิลใตดินแรงต่ํา โดยตําแหนงทีต่ ิดตั้งตูใหอยูต่ํากวาสวนลางสุดของกันสาด 500
มม. และหางจากขอบผนังอาคารเขาไปไมนอ ยกวา 150 มม.
109
110
111

2.Cable Riser Pole (สายตนขึน้ เคเบิลใตดิน รูป 3.21,3.22)

ตารางที่ 3.24 รายละเอียดขอมูลของ Cable Riser Pole(สายตนขึ้นเคเบิลใตดิน)


ลําดับ รายละเอียด
ที่
1 คอนกรีตยาว 14.30 มม.
2 สลักเกลียว 16 x 350 มม.
3 สลักเกลียว 16 x 400 มม.
4 สลักเกลียว 16 x 500 มม.
5 แหวนสี่เหลี่ยมแบบ 52 x 52 x 4.5 มม. รู ø 18 มม.
6 สายอลูมิเนียมตีเกลียวอัดแนนหุมฉนวน พีวีซี 750 โวลต ขนาด 95 ต.มม.
7 สายเคเบิลใตดินทองแดง ซีวี 0.6/1 เควี 1 x 185 ต.มม.
8 แร็ค 4 x 200 มม.
9 ลูกรอกแรงต่ํา
10 กับดักเสิรจ 480 โวลต 5 กิโลแอมป
11 คอนเนคเตอรชนิดบีบแบบเอช สําหรับสายเขาอลูมิเนียม 95 ต.มม.
แยกทองแดง 50 ต.มม.
12 คอนเนคเตอรชนิดบีบแบบเอช สําหรับสายเมนทองแดง กับแยกอลูมิเนียม 95-185 mm2 กับสาย
แยกอลูมิเนียม 95-120 ต.มม.
13 คอนเนคเตอรเขาปลายสายอลูมิเนียม 95-120 ต.มม.
14 เทป พีวีซี กวาง 19 มม.
15 ตูสวิตซแรงต่ําสําหรับติดตั้งภายนอกอาคาร
16 เซอรกิตเบรกเกอรแรงต่ํา ชนิด 3 เฟส 400 โวลต 200 แอมป
17 หางปลาทองแดงชนิดบีบ สําหรับสายเคเบิลทองแดง ขนาด 185 ต.มม.
18 เหล็กรูปรางน้ํา ขนาด 125 x 65 x 6 ยาว 180 มม.
19 ยูโบลท M 12 มม. สําหรับทอรอยสายผนังทอหนา ขนาด 100 มม.
20 ทอรอยสายผนังทอหนา (RSC) ขนาด 100 มม. ยาว 3,000 มม.
21 ทอเหล็กโคง 90 องศา สําหรับทอรอยสาย ผนังทอหนา ขนาด 100 มม.
22 ขอตอเกลียว สําหรับทอรอยสาย ผนังทอหนา ขนาด 100 มม.
23 หัวตอเขาสายบริการ สําหรับตอรอยสาย ผนังทอหนา 100 มม.
112

(ตอ) ที่ 3.24 รายละเอียดขอมูลของ Cable Riser Pole(สายตนขึ้นเคเบิลใตดิน)


ลําดับ รายละเอียด
ที่
24 สายทองแดงหุมฉนวนและเปลือกนอกพีวีซี 1 x 50 ต.มม.
25 หลักดินทําดวยเคลือบทองแดง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 16 มม. ยาว 3,000 มม.
26 กราวดแคลมสําหรับทอรอยสายผนังทอหนา ขนาด 100 มม. กับสายทองแดงขนาด 50 ต.มม.
27 ทอ PVC แข็งขนาด DIA 20 x 500 มม. พรอมอุปกรณยึด
28 จุดตอสายดินกับหลักดินแบบเชื่อมความรอน
29 สลักเกลียว M 16 x 350 มม.
30 แหวนสี่เหลี่ยมแบน
31 ที่จับลูกรอก
32 ลูกรอกแรงต่ํา
33 กับดักเสิรจ 480 โวลต
34 คอนเนคเตอรเขาปลายสายอลูมิเนียม 25-35 ต.มม.
35 เทป PVC กวาง 19 มม.

หมายเหตุ
1.คาความตานทานของสายดินมีคาไมเกิน 5 โอหม
2.ตูสวิตซแรงต่าํ ทําจากเหล็กแผนหนาไมนอยกวา 2 มม. ชุบอิเล็กโทรกัลปวาไนทและพนอยางนอย 2
ชั้น ดวยสีฝุนอิพรอกซี่สีเทาชนิดภายนอกอาคารผสมโพลิเอสเตอรโดยใชกรรมวิธีอิเล็กโทรสแตติก
113
114
115

ตารางที่ 3.25 รายละเอียดขอมูลของ Cable Riser Pole(รูปที่ 3.23,3.24)


ลําดับ รายละเอียด
ที่
1 คอน คอร. สปน 120 x 120 x 3000
2 คอน คอร. สปน สําหรับเขาปลายสาย 120 x 120 x 2500
3 เหล็กประกอบคอน
4 เหล็กประกอบคอน
5 เหล็กรูปรางน้ํารับสายลอฟา
6 สลักเกลียว
7 สลักเกลียว
8 สลักเกลียว
9 สลักเกลียว
10 สลักเกลียว
11 สลักเกลียว
12 สลักเกลียว
13 สลักเกลียวตลอด
14 สลักเกลียวหวงกลม
15 สลักเกลียวหวงกลม
16 แหวนสี่เหลี่ยมแบน
17 ลูกถวยกานตรง
18 ลูกถวยแขวน
19 แผนเหล็ก
20 สวิตซตัดตอนแรงสูง 20 kV ชนิดติดตัง้ สถานี่เปลี่ยนแรงดัน
21 ลอฟา
22 หัวเคเบิลใตดินทองแดง 22 kV
23 เคเบิลใตดินทองแดง 33 kV
24 หวงรัดสาย
25 AIRSEAL COMPOUND
26 พีจี คอนเรคเตอร
27 PVC
28 สเตรนแคลป
116

(ตอ) ตารางที่ 3.25 รายละเอียดขอมูลของ Cable Riser Pole(รูปที่ 3.23,3.24)


ลําดับ รายละเอียด
ที่
29 ลาดเหล็กตีเกลียว
30 ยูแคลมป
31 ทอ PVC แข็ง
32 หลักดิน
33 ทอเหล็กกลาเคลือบสังกะสี HDPE PN6.3 พรอมอุปกรณยึดและขอตอ
34 โครงเหล็กกั้นทอรอยสาย
35 สายยึดโยงกั้นทอรอยสาย
36 สายอลูมิเนียมหุม ฉนวนแบบไมเต็มพิกัด 22 kV
37 กายติมเบิล สําหรับสายยึดโยง
38 อุปกรณติดตัง้ สวิตซตัดตอนแรงสูง

3.12 การออกแบบบอพักสายใตดิน (MANHOLE)


การออกแบบระบบไฟฟาภายในมหาวิทยาลัยบูรพา เป น การเดิ น ใต ดิ น ที่ ค อ ยข า งไม มี ค วาม
ซับซอนในการเปลี่ยนระดับคดเคี้ยวมากเกินไป อีกทั้งยังไมมีการตอแยกสายมากนัก ทําใหสามารถลดจํานวน
บอพักสาย(Manhole) ที่อาจวางไวในขณะที่สายเกิดการหักมุม ใหพิจารณาขนาดที่เหมาะสมกับจํานวนวงจร
และลักษณะการใชงานโดยพิจารณาเลือกแบบ 2T-8 หรือ 2S-2 ตามแบบมาตรฐานของกฟภ. โดยระยะหาง
ของบอพักสายใตดินไมควรเกิน 250 เมตร และการตอลงดินภายในบอพักสายจะอยูในบอพักสาย โดยคาความ
ตานทานดินที่อยูในบอพักสาย ควรมีคาไมเกิน 5 โอหม และยอมใหมีคาไมเกิน 25 โอหม
1. Type 2T - 8 ใชสําหรับเปนจุดตอแยกสายเคเบิลใตดิน และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดิบริเวณปาก
ทางหรอทางแยก โดยสามารถรับเคเบิ้ลใตดินได 12 วงจรดังรูป 3.25
2. Type 2S - 2 ใชสําหรับเปนจุดตอสายเคเบิลใตดินทางตรงของเคเบิลใตดิน บริเวณหนาสถานีไฟฟา
สามารถรับเคเบิลใตดินไดสูงสุด 12 วงจรดังรูปที่ 3.26
ซึ่งในการออกแบบระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพามีการกอสรางบอพักสาย(Manhole)
ชนิด 2T-8 จํานวน 18 บอ และ 2s-2 จํานวน 2 บอ โดยวิเคราะหถึงจุดแยกของสายไฟและระยะหางระหวาง
แตละบอ
กรณีที่กอสรางในพื้นที่เขตทางหลวงใหปฏิบัติตามขอกําหนดของกรมทางหลวงดังนี้
• ใหดานขางของบอพักสายดานที่อยูชิดเขตทางหลวงอยูหางจากแนวเขตทางหลวง 3.50 เมตร
• ใหดานบนของบอพักสายลึกจากผิวจราจรอยางนอย 3.50 เมตร ทุกกรณีไมวาระดับดินเดิมจะเปน
อยางไร
117
118
119

3.13 การติดตั้งมิเตอรแรงสูงและ RMU ภายนอกอาคารสําหรับระบบไฟฟาใตดิน


ตูไฟฟาที่ถูกออกแบบใหเปนหนวยจายไฟฟาระดับแรงดันไฟฟาขนาดปานกลางที่มีขนาด กะทัดรัดเหมาะ
ที่จะใชในสถานที่มีพื้นที่จํากัด โดยตูไฟฟานี้จายไฟฟาใหกับหมอแปลงไฟฟา และปองกันการเกิดความผิดพรอง
ในระบบไฟฟาดวยเชนกัน โดยตูควบคมไฟฟานี้มีอุปกรณ ประกอบดวย 2 สวนหลักคือสวิทชเกียร RMU (Ring
Main Unit) และสวนมาตร วัดรวมประกอบ อยูในตูครอบเหล็กเดียวกันที่มีแผนเหล็กกันแบงภายในตูใหแตละ
ส ว นแยกออกจากกั น เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด ผลกระทบที่ เ กิ ด จากความผิ ด พร อ งภายในตู ไ ฟฟ า นี้ ร วมถึ ง
ความสามารถใน การปองกนแรงดันที่เกิดจากการระเบิดและเปลวไฟที่เกิดจากการอารคไดและจะไมทํา
อั น ตราย ต อ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน และบุ ค คลใกล เ คี ย งจึ ง มี ค วามปลอดภั ย สู ง จึ ง นิ ย มใช ติ ด ตั้ ง เช น บนทางเท า ที่
สาธารณะ หมูบานและอาคารสงู เปนตน การรับไฟฟาเขาอาคาร หากอาคารตั้งอยูในเขตการจายไฟฟาใต
ดินของการไฟฟา ทางอาคารตองจัดระบบรับไฟฟาดวยระบบริงแมนยูนิต ซึ่งริงแมนยูนิตเปนสวิตซตัดตอนแรง
สูง ใชกาซ SF6 เปนตัวกลางดับอารค แทนอากาศหรือน้ํามัน
-SF6 เปนกาซเฉื่อย สามารถดับอารค ไดอยางรวดเร็วและไมติดไฟ จึงทําใหปราศจากปญหาเรื่องไฟไหม
-มีอายุการใชงานนาน และไมจําเปนตองบํารุงรักษา
สวนประกอบหลักของ Ring Main Unit
- Name Plant แผนปายสําหรับแสดงวาแตละ Feeder รับหรือจายไฟมาจากที่ใด ไปหมอแปลงตัวใด
- Switch Position Indicator for Load Break Switch เป น ตั ว แสดงตํ า แหน ง ของ Load Break ว า อยู
ตําแหนงใด
- Switch Position Indicator for the earthing Switch เปนตัวแสดงตําแหนงของ earthing Switch Gas
pressure Gauge แสดงแรงดันกาซ SF6 ที่ปจจุบันอยูในถึง
- Voltage indicator Lamp อุปกรณแสดงวาในแตละ Line ของไฟฟามีแรงดันหรือไม
120
121

3.14 การออกแบบระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
การพิ จ ารณาการออกแบบระบบไฟฟ า ใต ดิน ต อ งพิ จ ารณาถึงความคุ ม ค า ในการใช งาน ค า ใช จาย
ทัศนียภาพที่ไดรับหลังจากการกอสรางและระยะเวลาในการกอสรางในสวนนั้น ๆ ซึ่งระบบไฟฟาภายใน
มหาวิทยาลัยบูรพา มีภาระหนักที่มิเตอรของศูนยศิลปวัฒนธรรม ซึ่งแบกรับภาระถึง 41,335 kVA ในขณะที่
มิเตอรสวนอื่นรับภาระคอนขางที่จะนอย ทําใหเกิดความไมสมดุลกันของระบบ อีกทั้งยังสรางความอันตรายแก
ผูอาศัยอยูภายในมหาวิทยาลัย อีกทั้งยังบทบังทัศนียภาพความสวยงามที่มหาวิทยาลัยบูรพาพึงมี จึงมีแนว
ทางการออกแบบที่ทําใหมิเตอรแตละตัว แบงเบาภาระของมิเตอรศูนยศิลปวัฒนธรรมกระจายไปสูมิเตอร
ตําแหนงอื่น ๆ
จากรูป 3.7 การแบง Feeder ใหมของมหาวิทยาลัยบูรพา จะเห็นวา ภายใน Feeder ที่ 4,5,6,7,8,9
ของมหาวิทยาลัยบูรพา แทบไมมีความจําเปนตองกอสรางระบบไฟฟาใตดิน เพราะเปน Feeder ที่รับมาจาก
การไฟฟาโดยตรง อีกทั้งยังมีระยะทางที่สั้น ดังนั้นการออกแบบระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพา
Feeder ที่ 4,5,6,7,8,9 จะคงไวซึ่งระบบไฟฟาเดิมตามลําดับ อีกทั้งยังสามารถประหยัดงบประมาณในการ
กอสรางระบบไฟฟาใตดิน
การออกแบบระบบไฟฟาใตดินในโครงงานนี้ จะพิจารณาถึงระบบไฟฟาใน Feeder ที่ 1,2,3 ตามลําดับ
เพราะวาเปน Feeder ที่ใชงานในพื้นที่สวนกลางของมหาวิทยาลัยและมีทัศนียภาพของสายไฟฟาเหนือหัวที่ไม
สวยงาม จึงเห็นสมควรพิจารณา Feeder ดังกลาว
การออกแบบระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพาคํานึงถึงการกระจายภาระที่สมดุลกัน บริเวณที่
มีไฟทางสองสวางไมเพียงพอ โดยในการออกแบบจะคํานึงถึงการใชสอย และการลดระยะทางของสายไฟฟาเขา
ภายในอาคารตาง ๆ โดยออกแบบโดยยึดตําแหนงหมอแปลงตําแหนงเกา เพื่อใหเขาถึงอาคารตาง ๆไดสะดวก
ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการรวมหมอแปลงเพื่อการเลือก Unit Substation ในระบบไฟฟาใตดินในแตละ Feeder ซึ่ง
ในโครงงานนี้จะพิจารณาบริเวณที่กอสรางแลวเกิดประโยชนใชสอยมากที่สุดคือบริเวณใจกลางมหาลัยบูรพา
และมีการติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา(รูปที่3.28,3.29 ) รวมถึง Public distribution center ลงในระบบไฟฟา (รูป
ที่3.30) และสามารถดูรายละเอียดการออกแบบในรูปที่ 4.1
122
123
124

3.14.1 การติดตั้งตูมิเตอรแรงต่ําแบบวางบนพื้น 1 เฟส 220 โวลต (รูปที่ 3.28,3.29)


1.ตูมเิ ตอรแรงต่าํ นี้สามารถติดตัง้ ที่ผนังรั้วบาน ฝงในเสารัว้ บานหรือเสาอาคาร ของผูใ ชไฟฟา โดยมี
ความสูงสวนฐานของตูมิเตอร 400 มม.
2. ติดตั้งเซอรกติ เบรกเกอรที่สายที่เดินออกจากมิเตอร เพือ่ ปองกันการลัดวงจรของสายประธานที่เขา
บานหรืออาคารของผูใ ชไฟฟา สําหรับมาตรฐานการทดสอบ พิกัดทนกระแสขณะลัดวงจร ขนาเของเซอรกิต
เบรกเกอร และขนาดของสายประธาน
3. การตอสายทีเ่ ซอกิตเบรกเกอร อาจใชทางหรือเขาที่อุปกรณโดยตรง ทัง้ นี้ขึ้นอยูกับวิธีที่เหมาะสม
โดยจุดเขาสายจะตองแนน ไมหลวม
4. ที่ปลายทอรอยสายทุกทอภายในฐานคอนกรีตเสริมเหล็กใหลบคมออก เพื้อปองกันการบาดสาย
ขณะดึงลากสาย พรอมทั้งอุดชองวางที่ปลายทอรอยสาย
5. ดานตําแหนงรูออกของทอรอยสายประธานแรงต่ําผูใ ชไฟสามารถเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม
6. กรณีเดินแนวทอรอยสายปอนหรือสายบริการเคเบิลใตดิน ใหเดินทอโคง 90 องศา
7. คาความตานทานฉนวนของสายเคเบิล เมื่อวัดระหวางตัวนํากับผิวตูมิเตอรโดยรอบ ตองมีคาไมนอย
กวา 0.5 เมกะโอหม
8. การเดินสายไฟภายในตู ตองทําปายบอกเฟส วงจร และอื่น ๆ ที่จําเปนไวอยางถาวร
9. หากตองการแยกพื้นทีเ่ กิดฟอลอยางรวดเร็ว แนะนําใหติดตัง้ FAULT INDIACATOR เพิ่มเติมที่สาย
ปอนหรือสายบริการเคเบิลใตดนิ จํานวน 1 ชุด โดยทําตรวจจับที่ตําแหนงขอตอสายสําหรับสายเฟส และให
ติดตั้งอุปกรณแจงเตือนที่ฝนปดมิตเตอร

ตารางที่ 3.26 รายละเอียดขอมูลของการติดตั้งตูมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส


ลําดับ รายละเอียด
ที่
1 กลองคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 230 x 340 x 450 มม.
2 ฐานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 520 x 930 x 730 มม.
3 ฝนปดบอคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 500 x 500 x 80 มม.
4 กรอบเหล็กขนาด 10 x 60 x 2.5 มม. พรอมชุดบานพับ
5 ฝาปดตูมิเตอรขนาด 300 x 1,120 x 20 มม. พรอมชองดูมิเตอรตามดวยพลาสติกใสทนความรอน
6 วัตตอาวมิเตอร 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต พิกัดกระแสตามตองการ
7 แปนไมรองรับมิเตอรใสแลวขนาด 20 x 60 x 2 ซม.
8 สลักเกลียว M5 X 50 มม.
9 สายเคเบิลใตดินทองแดง ซีวี 0.6/1 เควี หรือสายเคเบิลทองแดงหุมฉนวนและเปลือกนอกพีวีซี
750 โวลต
125

(ตอ) ตารางที่ 3.26 รายละเอียดขอมูลของการติดตั้งตูมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส


ลําดับ รายละเอียด
ที่
10 สายเคเบิลทองแดงหุมฉนวนและเปลือกนอกพีวีซี 750 โวลต
11 ปายแจงเตือนอันตราย
12 ยางรองกันน้ํา
13 หมายเลขผูใชไฟ
14 ตะปูหัวกลมแบน
15 เข็มขัดรัดสายไฟ
16 ขอตอสายสําหรับเคเบิลใตดินขนาดไมเกิน 185 ตร.มม.
17 ขอตอสายสําหรับเคเบิลใตดินขนาดไมเกิน 185 ตร.มม. ชนิดกันน้ําแบบ 5 ทาง
18 กราวร็อดทําดวยเหล็กเคลือบทองแดง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 16 มม.
19 จุดตอสายดินกับกราวดร็อด แบบเชื่อมดวยความรอน

3.15 ตัวอยางการคํานวณราคากลางและการประมาณการออกแบบระบบไฟฟาใตดิน
คํานวณราคากลางโดยใชคูมือการจัดทําราคากลาง โดยคํานวณจากสมการที่ 2.3 ซึ่งเปนราคาที่ทาง
ราชการยอมรับได ไมสูงจนผูประกอบการไดกําไรมากเกินกวาที่ควรจะไดรับ

ตัวอยาง 3.5 การคํานวณการคํานวณราคากลางและการประมาณการ

ตารางที่ 3.27 ตัวอยางคาใชจายในการหาราคากลาง


แผนกงาน คาวัสดุอุปกรณ คาแรงงาน รวมเปนเงิน(บาท)
งานกอสรางระบบโยธา 32,778,155.00 16,123070.00 48,901,225.00
งานกอสรางระบบ 122,658,945.58 8,523,739.64 131,182,685.22
ไฟฟา
งานติดตัง้ เคเบิลใยแกว 3,413,392.00 3,124,630.00 6,538,22.00
นําแสง
งานติดตัง้ Industrial 525,740.00 54,600.00 580,340.00
Switch พรอมอุปกรณ
รวมเปนเงิน 159,376,232.58 27,826,039.64 187,202,272.22
ราคากลาง =[(คางานตนทุน)xคา Factor F ในชอง”รวมรูป Factor”]+คาใชจายพิเศษอื่น ๆ(ถามี)
126

กรณีงานจางเหมาในครั้งนี้เลือกใชตาราง Factor F งานกอสรางอาคาร มีเงื่อนไขดังนี้


- จายเงินลวงหนา 10 เปอรเซ็นต
- เงินประกันผลงานหัก 10 เปอรเซ็นต
- ดอกเบี้ยเงินกู 7 เปอรเซ็นต
- คาภาษีมูลคาเพิ่ม 7 เปอรเซ็นต

ตารางที่ 3.28 ตัวอยางคาใชจายในการหาราคากลางในรูป Factor จากภาคผนวกที่


คางาน (ทุน) ลานบาท รวมในรูป Factor
150 1.1158
200 1.1157

คางานตนทุนครั้งนี้เปนเงิน 187,202,272.22 บาท อยูระหวางชวงของงานตนทุนที่กําหนด ดังนั้น


คางานตนทุน A = 187,202,272.22
โดยคา A หมายถึง คางานตนทุนที่ตองการหาคา Factor F
B หมายถึง คางานขั้นตนทุนขั้นต่ําของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนตองการหาคา Factor F (คา
งานตนทุน A) อยู
C หมายถึง คางานขั้นตนทุนขั้นสูงของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนตองการหาคา Factor F (คา
งานตนทุน A) อยู
D หมายถึง คา Factor F ของคางานตนทุนขั้นต่ําของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนที่ตองการหา
คา Factor F (คางานตนทุน A) อยู
E หมายถึง คา Factor F ของคางานตนทุนขั้นสูงของชวงคางานตนทุน ที่คางานตนทุนที่ตองการหา
คา Factor F (คางานตนทุน A) อยู

A = 187.20227222
B = 150
C = 200
D = 1.1158
E = 1.1157
จากสมการที่ 2.3 หาคา Factor F ของคางานตนทุน

[( D − E ) × ( A − B )]
A= D−
(C − B )
[(1.1158 − 1.1157) × (187.202272.22 − 150)]
Ä = 1.1158 −
(200 − 150)
127

A = 1.1157

ดังนั้นคา F Factor ของคางานตนทุน A = 1.1157


ราคากลาง =[(คางานตนทุน)xคา Factor F ในชอง”รวมรูป Factor”]+คาใชจายพิเศษอื่นๆ(ถามี)
= (187,2022,272.22 x 1.1157) + 0
= 208,861,575.12 บาท
อัตราคาภาษีมูลคาเพิ่ม 7 เปอรเซ็นต = 14,620,340.00 บาท
ราคากลางรวมภาษีมูลคาเพิ่ม = 223,482,340.00 บาท
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผล

การจัดทําโครงงานเรื่องการออกแบบระบบไฟฟาใตดินภายในมหาวิทยาลัยบูรพามีวัตถุประสงค เพื่อ
วิเคราะหระบบจําหนายไฟฟาแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขต บางแสน เพื่อออกแบบระบบสายสง
ไฟฟาแรงสูงภายในมหาวิทยาลัยบูรพาเปนระบบสายสงใตดิน เพื่อประมาณการคาใชจายในการติดตัง้ ระบบสาย
สงไฟฟาแรงสูงใตดิน เพื่อเปรียบเทียบคาใชจายในการกอสรางระบบไฟฟาใตดิน มีประเด็นสรุปผลดังนี้

5.1 สรุปผลการสํารวจและออกแบบ
ผลการวิเคราะหระบบจําหนายไฟฟาแรงสูงไดสํารวจตําแหนงและมีหมอแปลงไฟฟาทั้งหมด 89 ลูก
มีกําลังไฟฟารวมทั้งสิ้น 62,060 kVA และมีจํานวน Feeder ที่ติดตั้งไวทั้งสิ้น 9 Feeder
ผลการออกแบบระบบสายสงไฟฟาไดออกแบบวงจรจายไฟฟากําลังจํานวน 3 Feeder และไดจัดทํา
แบบระบบสายไฟฟาใตดินแรงสูงและแรงต่ําประกอบดวย Cable Riser Pole จํานวน 43 ตน แบงเปนแบบ
เขาชายคาตัวอาคารดานแรงต่ํา 35 ตน และดานแรงสูง 8 ตน Unit Substation ทั้งสิ้น 12 ลูก โดยแบงเปน
Feeder ละ 4 ลูกเพื่อทําการจายไฟ ในการกอสรางเดินสายไฟในทอ Duct Bank และทอรอยสายขนาด 2 x 4
2 x 3 , 2 x 2 ระยะทาง 437 เมตร, 1,984 เมตร และ 3,018 เมตร ตามละดับ ซึ่งใชสายไฟขนาด 70 ตาราง
มิลลิเมตร , 400 ตารางมิลลิเมตร และ 240 ตารางมิลลิเมตร ระยะทาง 18,654 เมตร , 43,740 เมตร และ
14,580 เมตร ตามลําดับ
ผลการประมาณการคาใชจายในการติดตั้งระบบสายสงไฟฟาแรงสูงใตดินไดประมาณการคาใชจายใน
การกอสรางระบบไฟฟาใตดินเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 236,885,331.00 บาท สําหรับคาใชจายในการกอสราง
เฉพาะระบบไฟฟาใตดินแรงสูงเปนจํานวนเงิน 134,268,749 บาท พบวามีคาใชจายตางกัน 102,616,582.00
บาท

5.2 ปญหาทีพ่ บระหวางการทําโครงงาน


1) มีความยุง ยากในการสํารวจแนวสายไฟฟาบนดินและใตดิน ซึ่งบางจุดเขาถึงไดยาก เนือ่ งจากไมมี
เครื่องมือตรวจสอบสายไฟใตดนิ และมีระเบียบการเขาออกสถานทีข่ องหนวยงานภายใน
2) ขาดการปรับปรุงขอมูลอุปกรณของระบบจําหนายไฟฟาใหเปนปจจุบัน
3) ไมมรี ายวิชาและหองปฏิบัติการสําหรับการติดตั้งระบบไฟฟาใตดิน
158

5.3 ขอเสนอแนะ
1) หนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการปรับปรุงแบบแปลนใหเปนปจจุบัน
2) ควรนําขอมูลมาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟาแรงสูงใตดินมาบรรจุในหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟากําลัง
และควรมีหองปฏิบัติการสําหรับระบบไฟฟาใตดิน
3) จากการทําโครงงานพบวาตอไปควรศึกษาในประเด็นการผลิตพลังงานไฟฟาระบบจําหนายแรงสูง
จากเซลลแสงอาทิตยในมหาวิทยาลัยบูรพา
159

เอกสารอางอิง

กิตติพงษ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ (2549) ระบบการจายไฟฟา การตอลงดิน ระบบไฟฟาในอาคารชุด


(ออนไลน) วันทีส่ ืบคน 25 พฤษภาคม 2562. เว็บไซต
http://www.coe.or.th/coe-2/newsPic/N-20160907144240-2.pdf
การจายไฟฟาในพื้นที่สายใตดนิ การไฟฟานครหลวง
(ออนไลน) วันทีส่ ืบคน 25 พฤษภาคม 2562. เว็บไซต
http://www.iecm.co.th/Knowledge/02-cable.pdf
กองมาตรฐานระบบไฟฟา ฝายมาตรฐานและความปลอดภัย การไฟฟาสวนภูมภิ าค (2549)
คําแนะนําการกอสรางระบบเคเบิลใตดินสําหรับหมูบานจัดสรร
(ออนไลน) วันทีส่ ืบคน 25 พฤษภาคม 2562. เว็บไซต
https://www.yotathai.com/yotanews/cable-for-village
กองมาตรฐานระบบไฟฟา ฝายมาตรฐานและความปลอดภัย การไฟฟาสวนภูมภิ าค (2548) ระบบ
เคเบิลใตดิน Underground Cable System
(ออนไลน) วันทีส่ ืบคน 25 พฤษภาคม 2562. เว็บไซต
https://www.peac2eng.com/wp-content/uploads/2016/11/Book-cable-
GREEN.pdf
ประกาศราง tor งานจางเหมากอสรางปรับปรุงระบบจําหนายไฟฟาเปนเคเบิลใตดิน บริเวณถนน
พัทยากลาง
(ออนไลน) วันทีส่ ืบคน 25 พฤษภาคม 2562. เว็บไซต
https://www.pea.co.th/Webapplications/tor/ViewTOR.aspx?ID=68ae3537-
138a-4143-ae86-3ffd178bbfad
Ring Man Unit as an important part of secondary distribution substations
(ออนไลน) วันทีส่ ืบคน 25 พฤษภาคม 2562. เว็บไซต
https://electrical-engineering-portal.com/ring-main-unit-rmu-as-an-important-
part-of-secondary-distribution-substations
ภาคผนวก
161

ภาคผนวก ก
ขนาดหมอแปลงและหนวยรวมการใชไฟฟา

ตารางที่ ก.1 ขนาดหมอแปลงและหนวยรวมการใชไฟฟาเฉลีย่ ใน 12 เดือน


สถานที่ ขนาดหมอแปลง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
1. มิเตอรประธานดานหลังมหาวิทยาลัย - 44,797.33
- อาคารนวัตกรรมการจัดการและการ
ทองเที่ยว 3,500 26,560.00
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 1 800 4,636.72
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 2 800 4,412.11
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 3 800 3,988.93
2. มิเตอรประธานทางดานหนามหาวิทยาลัย - 407,993.24
- อาคารวิทยาศาสตรชีวภาพ ม.บูรพา 1000 9,0839.30
- อาคารสานักบริการวิชาการ 160 10,368.08
- ศูนยกิจกรรมนิสิตเดิม 400 10,336.17
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก A) 630 37,006.67
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก C) 630 38,018.00
- สนามกีฬากลางมหาวิทยาลัยบูรพา 500 -
- อาคารวิจัยและวิทยาศาสตรทางทะเล 315 8,276.82
- อาคารหอพักนิสิตพยาบาลศาสตร 1,000 18,087.00
- อาคารคณะพยาบาลศาสตร 500 32,363.67
- อาคารสานักงานคอมพิวเตอร 1,000 55,632.00
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 2 1,000 102,680.10
- อาคารนวัตกรรมบริการดานการจัดการ 1,000 42,064.00
- อาคารคณิตศาสตร 500 4,270.40
- หอพัก 15 315 2,3869.00
- หอพัก 50 ป 630 40,183.22
- หอพัก 50 ป เทา-ทอง 630 28,503.20
- ศูนยกิจกรรมนิสิต 1,000 48,976.20
- อาคารวิทยาลัยพาณิชยศาลตร 1,250 46,752.01
162

ตารางที่ ก.2 ขนาดหมอแปลงและหนวยรวมการใชไฟฟาเฉลีย่ ใน 12 เดือน (ตอ)


สถานที่ ขนาดหมอแปลง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- อาคารวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ 1,000 19,076.81
- คณะวิศวกรรมศาสตร 315 4,710.92
- อาคาร ภ.ป.ร. 1,000 54,454.28
- อาคารหอประชุมธารง บัวศรี 1,250 55,175.75
- อาคารคณะศิลปกรรมศาสตร 1,000 29,909.16
- อาคารการศึกษานานาชาติขนั้ พื้นฐาน 1,000 28,362.96
- อาคารวิศวกรรมไฟฟา 500 6,763.60
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเคมี 500 25,835.24
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเครื่องกล 500 14,751.10
- อาคารเกษม จาติกวณิช 1,000 70,045.78
- อาคารที่พกั บุคลากร 630 1,948.12
- อาคารคณะสาธาราณสุขศาสตร 1,000 28,532.98
- คณะพยาบาลศาสตร 500 12,159.87
- อาคารเคมี 500 14,885.09
- อาคารฟสิกส 500 27,538.13
- อาคารปฎิบัตกิ ารแปรรูปอาหาร 500 804.25
- อาคารสิรินธร 500 56,530.66
- คณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 12,50 39,213.55
- คณะวิทยาศาสตร 1,600 7,379.33
- หอพัก 14 315 20,234.85
- อาคารเรียนรวม 800 106,002.00
- อาคารหอศิลปวัฒนธรรม 160 15,006.00
- (อาคารหอสมุดกลาง) 1,250 14,300.00
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 1,000 56,224.00
- อาคารเทาทอง 2 เฟส A 630 25,684.67
- อาคารเทาทอง 2 เฟศ B 630 62,433.33
- (อาคารปฏิบัตกิ าร) 500 28,496.84
- อาคารศูนยปฏิบัติการโรงแรม 800 44,535.42
- คณะศิลปกรรมศาสตร 160 1,884.72
163

ตารางที่ ก.2 ขนาดหมอแปลงและหนวยรวมการใชไฟฟาเฉลีย่ ใน 12 เดือน (ตอ)


สถานที่ ขนาดหมอแปลง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- (อาคารโลจิสติกส) 630 6,806.00
- (อาคารรัฐศาสตร ) 630 5,734.00
- (อาคารวิทยาศาสร) 630 5,646.00
- อาคารบานพักบุคลากร 800 800 38,908.43
3. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตรทาง 945 51,350.00
ทะเล
4. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตรทาง 3,000 134,895.00
ทะเล 2
5. มิเตอรประธานหอพักคณะแพทยศาสตร 565 21,873.67
6. มิเตอรประธานคณะแพทยศาสตร 2000 172,001.67

7. มิเตอรประธานโรงพยาบาลม.บูรพา 1,000 60,493.33


8. มิเตอรประธานโรงเรียนสาธิตพิบูลบาเพ็ญ - 35,381.58
- โรงเรียนสาธิตพิบูลบาเพ็ญ 1,000 13,754.33
9. มิเตอรประธานบานพักดานหลังมหาวิยาลัย 1,730 41,542.50
รวม 52,330 970,328.33
164

ภาคผนวก ข
โหลดการใชไฟฟาและคิดเผื่อโหลด

ตารางที่ ข.1 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 100% ( 24 ชม.) และเผื่อโหลด 25%


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
1. มิเตอรประธานดานหลังมหาวิทยาลัย 77.77314525 97.21643157
- อาคารนวัตกรรมการจัดการและการ 46.11111111 57.63888889
ทองเที่ยว
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 1 8.049865451 10.06233181
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 2 7.659918981 9.574898727
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 3 6.925225694 8.656532118
2. มิเตอรประธานทางดานหนา 708.3216045 885.4020056
มหาวิทยาลัย
- อาคารวิทยาศาสตรชีวภาพ ม.บูรพา 157.7071181 197.1338976
- อาคารสานักบริการวิชาการ 18.00014468 22.50018084
- ศูนยกิจกรรมนิสิตเดิม 17.9447338 22.43091725
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก A) 64.24768519 80.30960648
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก C) 66.00347222 82.50434028
- สนามกีฬากลางมหาวิทยาลัยบูรพา
- อาคารวิจัยและวิทยาศาสตรทางทะเล 14.36947483 17.96184353
- อาคารหอพักนิสิตพยาบาลศาสตร 31.40104167 39.25130208
- อาคารคณะพยาบาลศาสตร 56.1869213 70.23365162
- อาคารสานักงานคอมพิวเตอร 96.58333333 120.7291667
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 2 178.2640625 222.8300781
- อาคารนวัตกรรมบริการดานการจัดการ 73.02777778 91.28472222
- อาคารคณิตศาสตร 7.413888889 9.267361111
- หอพัก 15 41.43923611 51.79904514
- หอพัก 50 ป 69.76253328 87.20316659
- หอพัก 50 ป เทา-ทอง 49.48472078 61.85590097
- ศูนยกิจกรรมนิสิต 85.02810185 106.2851273
- อาคารวิทยาลัยพาณิชยศาลตร 81.16668403 101.458355
165

ตารางที่ ข.1 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 100% ( 24 ชม.) และเผื่อโหลด 25% (ตอ)


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- อาคารวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ 33.11945891 41.39932364
- คณะวิศวกรรมศาสตร 8.178682002 10.2233525
- อาคาร ภ.ป.ร. 94.53867622 118.1733453
- อาคารหอประชุมธํารง บัวศรี 95.79122685 119.7390336
- อาคารคณะศิลปกรรมศาสตร 51.92562789 64.90703487
- อาคารการศึกษานานาชาติขนั้ 49.24124277 61.55155346
พื้นฐาน
- อาคารวิศวกรรมไฟฟา 11.74234954 14.67793692
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเคมี 44.85285156 56.06606445
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเครื่องกล 25.60954138 32.01192672
- อาคารเกษม จาติกวณิช 121.6072598 152.0090748
- อาคารที่พกั บุคลากร 3.382152778 4.227690972
- อาคารคณะสาธาราณสุขศาสตร 49.53642216 61.92052771
- คณะพยาบาลศาสตร 21.11088397 26.3886049
- อาคารเคมี 25.84217737 32.30272172
- อาคารฟสิกส 47.80923756 59.76154695
- อาคารปฎิบัตกิ ารแปรรูปอาหาร 1.396270255 1.745337818
- อาคารสิรินธร 98.14350984 122.6793873
- คณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัย 68.07908565 85.09885706
บูรพา
- คณะวิทยาศาสตร 12.81132957 16.01416196
- หอพัก 14 35.12995081 43.91243851
- อาคารเรียนรวม 184.03125 230.0390625
- อาคารหอศิลปวัฒนธรรม 26.05208333 32.56510417
- (อาคารหอสมุดกลาง) 24.82638889 31.03298611
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 97.61111111 122.0138889
- อาคารเทาทอง 2 เฟส A 44.59143519 55.73929398
- อาคารเทาทอง 2 เฟศ B 108.3912037 135.4890046
- (อาคารปฏิบัตกิ าร) 49.47367332 61.84209165
166

ตารางที่ ข.1 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 100% ( 24 ชม.) และเผื่อโหลด 25% (ตอ)


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- อาคารศูนยปฏิบัติการโรงแรม 77.31844039 96.64805049
- คณะศิลปกรรมศาสตร 3.272074653 4.090093316
- (อาคารโลจิสติกส) 11.81597222 14.76996528
- (อาคารรัฐศาสตร ) 9.954861111 12.44357639
- (อาคารวิทยาศาสร) 9.802083333 12.25260417
- อาคารบานพักบุคลากร 800 67.54936343 84.43670428
3. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตร 89.14930556 111.4366319
ทางทะเล
4. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตร 234.1927083 292.7408854
ทางทะเล 2
5. มิเตอรประธานหอพักคณะแพทย 37.97511574 47.46889468
ศาสตร
6. มิเตอรประธานคณะแพทยศาสตร 105.0231481 131.2789352
7. มิเตอรประธานโรงพยาบาลม.บูรพา 298.6140046 373.2675058
8. มิเตอรประธานโรงเรียนสาธิตพิบูล 61.4263614 76.78295175
บาเพ็ญ
- โรงเรียนสาธิตพิบูลบาเพ็ญ 23.87905093 29.84881366
9. มิเตอรประธานบานพักดานหลัง 72.12239583 90.15299479
มหาวิยาลัย
รวม 1,684.597789 2,105.747237
167

ตารางที่ ข.2 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 75% ( 18 ชม.) และเผื่อโหลด 25%


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
1. มิเตอรประธานดานหลังมหาวิทยาลัย 103.697527 129.6219088
- อาคารนวัตกรรมการจัดการและการ 61.48148148 76.85185185
ทองเที่ยว
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 1 10.73315394 13.41644242
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 2 10.21322531 12.76653164
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 3 9.233634259 11.54204282
2. มิเตอรประธานทางดานหนา 944.4288059 1180.536007
มหาวิทยาลัย
- อาคารวิทยาศาสตรชีวภาพ ม.บูรพา 210.2761574 262.8451968
- อาคารสานักบริการวิชาการ 24.0001929 30.00024113
- ศูนยกิจกรรมนิสิตเดิม 23.92631173 29.90788966
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก A) 85.66358025 107.0794753
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก C) 88.00462963 110.005787
- สนามกีฬากลาง
- อาคารวิจัยและวิทยาศาสตรทางทะเล 19.15929977 23.94912471
- อาคารหอพักนิสิตพยาบาลศาสตร 41.86805556 52.33506944
- อาคารคณะพยาบาลศาสตร 74.91589506 93.64486883
- อาคารสานักงานคอมพิวเตอร 128.7777778 160.9722222
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 2 237.6854167 297.1067708
- อาคารนวัตกรรมบริการดานการจัดการ 97.37037037 121.712963
- อาคารคณิตศาสตร 9.885185185 12.35648148
- หอพัก 15 55.25231481 69.06539352
- หอพัก 50 ป 93.01671103 116.2708888
- หอพัก 50 ป เทา-ทอง 65.9796277 82.47453463
- ศูนยกิจกรรมนิสิต 113.3708025 141.7135031
- อาคารวิทยาลัยพาณิชยศาลตร 108.2222454 135.2778067
- อาคารวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ 44.15927855 55.19909819
- คณะวิศวกรรมศาสตร 10.90490934 13.63113667
- อาคาร ภ.ป.ร. 126.0515683 157.5644604
168

ตารางที่ ข.2 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 75% ( 18 ชม.) และเผื่อโหลด 25% (ตอ)


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- อาคารหอประชุมธํารง บัวศรี 127.7216358 159.6520448
- อาคารคณะศิลปกรรมศาสตร 69.23417052 86.54271316
- อาคารการศึกษานานาชาติขนั้ พื้นฐาน 65.65499035 82.06873794
- อาคารวิศวกรรมไฟฟา 65.65499035 82.06873794
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเคมี 15.65646605 19.57058256
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเครื่องกล 59.80380208 74.7547526
- อาคารเกษม จาติกวณิช 34.14605517 42.68256896
- อาคารที่พกั บุคลากร 162.1430131 202.6787664
- อาคารคณะสาธาราณสุขศาสตร 66.04856289 82.56070361
- คณะพยาบาลศาสตร 28.14784529 35.18480662
- อาคารเคมี 34.4562365 43.07029562xป
- อาคารฟสิกส 63.74565008 79.6820626
- อาคารปฎิบัตกิ ารแปรรูปอาหาร 1.861693673 2.327117091
- อาคารสิรินธร 130.8580131 163.5725164
- คณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 90.7721142 113.4651427
- คณะวิทยาศาสตร 17.08177276 21.35221595
- หอพัก 14 46.83993441 58.54991802
- อาคารเรียนรวม 245.375 306.71875
- อาคารหอศิลปวัฒนธรรม 34.73611111 43.42013889
- (อาคารหอสมุดกลาง) 33.10185185 41.37731481
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 130.1481481 162.6851852
- อาคารเทาทอง 2 เฟส A 59.45524691 74.31905864
- อาคารเทาทอง 2 เฟศ B 144.5216049 180.6520062
- (อาคารปฏิบัตกิ าร) 65.96489776 82.4561222
- อาคารศูนยปฏิบัติการโรงแรม 103.0912539 128.8640673
- คณะศิลปกรรมศาสตร 4.362766204 5.453457755
- (อาคารโลจิสติกส) 15.75462963 19.69328704
- (อาคารรัฐศาสตร ) 13.27314815 16.59143519
169

ตารางที่ ข.2 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 75% ( 18 ชม.) และเผื่อโหลด 25% (ตอ)


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- (อาคารวิทยาศาสร) 13.06944444 16.33680556
- อาคารบานพักบุคลากร 90.0658179 112.5822724
3. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตร 118.8657407 148.5821759
ทางทะเล
4. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตร 312.2569444 390.3211806
ทางทะเล 2
5. มิเตอรประธานหอพักคณะแพทย 50.63348765 63.29185957
ศาสตร
6. มิเตอรประธานคณะแพทยศาสตร 140.0308642 175.0385802
7. มิเตอรประธานโรงพยาบาลม.บูรพา 398.1520062 497.6900077
8. มิเตอรประธานโรงเรียนสาธิตพิบูลบา 81.9018152 102.377269
เพ็ญ
- โรงเรียนสาธิตพิบูลบาเพ็ญ 31.83873457 39.79841821
9. มิเตอรประธานบานพักดานหลังมหาวิ 96.16319444 120.2039931
ยาลัย
รวม 2,246.130386 2,807.662982
170

ตารางที่ ข.3 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 50% ( 12 ชม.) และเผื่อโหลด 25%


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
1. มิเตอรประธานดานหลังมหาวิทยาลัย 155.5462905 194.4328631
- อาคารนวัตกรรมการจัดการและการ 92.22222222 115.2777778
ทองเที่ยว
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 1 16.0997309 20.12466363
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 2 15.31983796 19.14979745
- มหาวิทยาลัยบูรพา อาคารชุด 3 13.85045139 17.31306424
2. มิเตอรประธานทางดานหนา 1416.643209 1770.804011
มหาวิทยาลัย
- อาคารวิทยาศาสตรชีวภาพ ม.บูรพา 315.4142361 394.2677951
- อาคารสานักบริการวิชาการ 36.00028935 45.00036169
- ศูนยกิจกรรมนิสิตเดิม 35.88946759 44.86183449
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก A) 128.4953704 160.619213
- อาคารเทาทอง 3 (หอพัก C) 132.0069444 165.0086806
- สนามกีฬากลาง
- อาคารวิจัยและวิทยาศาสตรทางทะเล 28.73894965 35.92368707
- อาคารหอพักนิสิตพยาบาลศาสตร 62.80208333 78.50260417
- อาคารคณะพยาบาลศาสตร 112.3738426 140.4673032
- อาคารสานักงานคอมพิวเตอร 193.1666667 241.4583333
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 2 356.528125 445.6601563
- อาคารนวัตกรรมบริการดานการจัดการ 146.0555556 182.5694444
- อาคารคณิตศาสตร 14.82777778 18.53472222
- หอพัก 15 82.87847222 103.5980903
- หอพัก 50 ป 139.5250666 174.4063332
- หอพัก 50 ป เทา-ทอง 98.96944155 123.7118019
- ศูนยกิจกรรมนิสิต 170.0562037 212.5702546
- อาคารวิทยาลัยพาณิชยศาลตร 162.3333681 202.9167101
- อาคารวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ 66.23891782 82.79864728
- คณะวิศวกรรมศาสตร 16.357364 20.44670501
- อาคาร ภ.ป.ร. 189.0773524 236.3466905
171

ตารางที่ ข.2 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 75% ( 18 ชม.) และเผื่อโหลด 25% (ตอ)


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- อาคารหอประชุมธํารง บัวศรี 191.5824537 239.4780671
- อาคารคณะศิลปกรรมศาสตร 103.8512558 129.8140697
- อาคารการศึกษานานาชาติขนั้ พื้นฐาน 98.48248553 123.1031069
- อาคารวิศวกรรมไฟฟา 23.48469907 29.35587384
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเคมี 89.70570313 112.1321289
- อาคารปฎิบัตกิ ารวิศวกรรมเครื่องกล 51.21908275 64.02385344
- อาคารเกษม จาติกวณิช 243.2145197 304.0181496
- อาคารที่พกั บุคลากร 6.764305556 8.455381944
- อาคารคณะสาธาราณสุขศาสตร 99.07284433 123.8410554
- คณะพยาบาลศาสตร 42.22176794 52.77720992
- อาคารเคมี 51.68435475 64.60544343
- อาคารฟสิกส 95.61847512 119.5230939
- อาคารปฎิบัตกิ ารแปรรูปอาหาร 2.792540509 3.490675637
- อาคารสิรินธร 196.2870197 245.3587746
- คณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 136.1581713 170.1977141
- คณะวิทยาศาสตร 25.62265914 32.02832393
- หอพัก 14 70.25990162 87.82487703
- อาคารเรียนรวม 368.0625 460.078125
- อาคารหอศิลปวัฒนธรรม 52.10416667 65.13020833
- (อาคารหอสมุดกลาง) 49.65277778 62.06597222
- อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 195.2222222 244.0277778
- อาคารเทาทอง 2 เฟส A 89.18287037 111.478588
- อาคารเทาทอง 2 เฟศ B 216.7824074 270.9780093
- (อาคารปฏิบัตกิ าร) 98.94734664 123.6841833
- อาคารศูนยปฏิบัติการโรงแรม 154.6368808 193.296101
- คณะศิลปกรรมศาสตร 6.544149306 8.180186632
- (อาคารโลจิสติกส) 23.63194444 29.53993056
- (อาคารรัฐศาสตร ) 19.90972222 24.88715278
172

ตารางที่ ข.2 โหลดการใชไฟจริงเมื่อคิดเวลาในการไฟฟาเปน 75% ( 18 ชม.) และเผื่อโหลด 25% (ตอ)


สถานที่ โหลดการใชไฟฟาจริง(kVA) หนวยรวมการใชไฟฟาเฉลี่ยใน 1 ป
- (อาคารวิทยาศาสร) 19.60416667 24.50520833
- อาคารบานพักบุคลากร 135.0987269 168.8734086
3. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตร 178.2986111 222.8732639
ทางทะเล
4. มิเตอรประธานสถาบันวิทยาศาสตร 468.3854167 585.4817708
ทางทะเล 2
5. มิเตอรประธานหอพักคณะแพทย 75.95023148 94.93778935
ศาสตร
6. มิเตอรประธานคณะแพทยศาสตร 210.0462963 262.5578704
7. มิเตอรประธานโรงพยาบาลม.บูรพา 597.2280093 746.5350116
8. มิเตอรประธานโรงเรียนสาธิตพิบูลบา 122.8527228 153.5659035
เพ็ญ
- โรงเรียนสาธิตพิบูลบาเพ็ญ 47.75810185 59.69762731
9. มิเตอรประธานบานพักดานหลังมหาวิ 144.2447917 180.3059896
ยาลัย
รวม 3,369.195579 4,211.494473
173

ภาคผนวก ค
อุปกรณกอสรางระบบไฟฟาใตดนิ

รูปที่ ค.1 การเรียงลําดับของ DUCT BANK


174

รูปที่ ค.2 โครงสราง DUCT BANK


175

รูปที่ ค.3 โครงสราง DUCT BANK และทอรอยสาย


176

รูปที่ ค.4 Ring Man Unit สําหรับระบบไฟฟาใตดิน


177

รูปที่ ค.5 Man Hole ชนิด 2T-8


178

รูปที่ ค.6 Man Hole ชนิด 2S-2


179

รูปที่ ค.7 Cable rack และอุปกรใน Manhole


180

รูปที่ ค.8 การติดตั้งระบบแรงต่าํ เขาชายตัวอาคาร


181

รูปที่ ค.9 การติดตั้งระบบแรงต่าํ เขาชายตัวอาคาร


182

รูปที่ ค.10 การติดตั้ง Cable Riser pole แรงสูง


183

รูปที่ ค.11 Cable riser pole ในระบบแรงต่ํา


184

รูปที่ ค.12 โครงเหล็กกั้นเสา


185

รูปที่ ค.13 การตอลงดินสํารองสายเคเบิลใตดนิ


186

รูปที่ ค.14 การตอลงดินสํารองสายเคเบิลใตดนิ


187

รูปที่ ค.15 ตูมิเตอรแรงต่ํา


188

รูปที่ ค.16 ลักษณะตู Unit substation


189

รูปที่ ค.17 Single line ของ Unit Substation


190

รูปที่ ค.18 ขอตอสาย HDPE


191

ภาคผนวก ง
งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค

รูปที่ ง.1 งานจางเหมาระบบไฟฟาใตดินของ Central Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค


192

รูปที่ ง.2 งานแผนกแรงสูงดานโยธาของระบบไฟฟาใตดินของ Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค


193

รูปที่ ง.3 งานแผนกแรงสูงดานไฟฟาของระบบไฟฟาใตดินของ Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค


194

รูปที่ ง.4 งานหมอแปลงแรงสูงของระบบไฟฟาใตดินของ Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค


195

รูปที่ ง.5 งานแผนกแรงต่ําดานโยธาของระบบไฟฟาใตดินของ Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค


196

รูปที่ ง.6 งานแผนกแรงต่ําดานโยธาของระบบไฟฟาใตดินของ Pattaya โดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค


197

ภาคผนวก จ
Factor F งานกอสราง

รูปที่ จ.1 ตาราง Factor F งานกอสราง


198

รูปที่ จ.2 ตาราง Factor F งานกอสราง


199

รูปที่ จ.3 ตาราง Factor F งานกอสราง


200

รูปที่ จ.4 ตาราง Factor F งานกอสราง


201

รูปที่ จ.5 ตาราง Factor F งานกอสราง


202

รูปที่ จ.6 ตาราง Factor F งานกอสราง


203

รูปที่ จ.7 ตาราง Factor F งานกอสราง


204

รูปที่ จ.8 ตาราง Factor F งานกอสราง


205

รูปที่ จ.9 ตาราง Factor F งานกอสราง

You might also like