You are on page 1of 265

เอกสารประกอบการฝึ ก

หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ


สาขา การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ด้ วยระบบวงจรไฟฟ้า
(รหัสหลักสู ตร 3520014150301)

โดย
นายบุญส่ ง ศักดิศรี

ขอประเมินเพือแต่ งตังให้ ดาํ รงตําแหน่ ง


ครูฝึกฝี มือแรงงาน ระดับ 3

ศูนย์ พฒ
ั นาฝี มือแรงงานจังหวัดยโสธร
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

คํานํา

ในสมัย ปั จจุบนั การฝึ กอาชี พให้กบั กําลังแรงงานถื อว่ามีความสําคัญเป็ นอย่างมาก ซึ งอี กสิ ง
หนึ งที จะขาดไม่ได้และมีความสําคัญอย่างยิ ง นันก็คือ หลักสู ตรและเอกสารประกอบการฝึ ก จะต้องมีการ
ปรับปรุ งและพัฒนาให้ทนั สมัยและทันต่อการพัฒนาของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ งการดําเนิ นการฝึ กอาชี พของ
กรมพัฒ นาฝี มื อ แรงงาน จะดํา เนิ น การได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสอดคล้ อ งกับ ความต้อ งการของ
ตลาดแรงงาน กระผมจึ งได้จดั ทําเอกสารประกอบการฝึ กหลัก สู ตรการฝึ กยกระดับฝี มื อ สาขาการควบคุ ม
มอเตอร์ ไ ฟฟ้ า 3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า ซึ ง การจัดทํา เอกสารนี ขึ นมาก็ เพื อนํา มาใช้ป ระกอบการฝึ ก
หลักสู ตรดังกล่าวของการพัฒนากําลังแรงงานต่อไป

การดําเนิ นการจัดทําเอกสารประกอบการฝึ กเล่มนี ได้รับความอนุ เคราะห์ในการให้คาํ ปรึ กษา


ด้านรู ปแบบและข้อมูลในการจัดทําจากท่านผูอ้ าํ นวยการฯ และเจ้าหน้าที ของศูนย์พฒั นาฝี มือแรงงานจังหวัด
ยโสธร ซึ งผูจ้ ดั ทําขอขอบพระคุณมา ณ ทีนี

บุญส่ ง ศักดิศรี
กันยายน 2555

สารบัญ

หน้ า
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ฉ
สารบัญตาราง ฎ
บทที 1 บทนํา 1
บทที 2 การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส ด้ วยระบบวงจรไฟฟ้า 3
ความปลอดภัยในการทํางาน 3
ใบเตรี ยมการสอน 3
ใบข้อมูล 4
ใบทดสอบ 19
ทฤษฎีไฟฟ้า 21
ใบเตรี ยมการสอน 21
ใบข้อมูล 22
ใบทดสอบ 35
การอ่ าน – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า 38
ใบเตรี ยมการสอน 38
ใบข้อมูล 39
ใบทดสอบ 60
ใบงานที 1 62
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 63
ใบทดสอบ 64
ใบให้คะแนน 65
ใบงานที 2 66
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 67
ใบทดสอบ 68
ใบให้คะแนน 69

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า 70
ใบเตรี ยมการสอน 70
ใบข้อมูล 71
ใบทดสอบ 104
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส 107
ใบเตรี ยมการสอน 107
ใบข้อมูล 108
ใบทดสอบ 118
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยระบบธรรมดา 120
ใบเตรี ยมการสอน 120
ใบข้อมูล การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบธรรมดา 121
ใบทดสอบ 124
ใบงานที 1 125
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 126
ใบทดสอบ 129
ใบให้คะแนน 130
ใบข้อมูล การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส 131
ใบทดสอบ 133
ใบงานที 2 134
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 135
ใบทดสอบ 138
ใบให้คะแนน 139
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ 140
ใบเตรี ยมการสอน 140
ใบข้อมูล การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ 141
ใบทดสอบ 143
ใบงานที 1 144
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 145

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
ใบทดสอบ 147
ใบให้คะแนน 149
ใบข้อมูล การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ 150
ใบทดสอบ 154
ใบงานที 2 155
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 156
ใบทดสอบ 158
ใบให้คะแนน 163
ใบข้อมูล การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ทาํ งานเรี ยงตามลําดับ 164
ใบงานที 3 165
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 166
ใบทดสอบ 168
ใบให้คะแนน 171
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบควบคุม 172
ใบเตรี ยมการสอน 172
ใบข้อมูล การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบควบคุม 173
ใบทดสอบ 179
ใบงานที 1 181
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 182
ใบทดสอบ 184
ใบให้คะแนน 187
ใบงานที 2 188
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 189
ใบทดสอบ 191
ใบให้คะแนน 194
การเริมเดินหมุนมอเตอร์ 3 เฟส โดยวิธีลดแรงดัน 195
ใบเตรี ยมการสอน 195
ใบข้อมูล 196
ใบทดสอบ 202

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
ใบงานที 1 204
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 205
ใบทดสอบ 207
ใบให้คะแนน 209
ใบงานที 2 210
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 211
ใบทดสอบ 213
ใบให้คะแนน 215
ใบงานที 3 216
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 217
ใบทดสอบ 219
ใบให้คะแนน 221
ใบงานที 4 222
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 223
ใบทดสอบ 225
ใบให้คะแนน 227
ใบงานที 5 228
ใบขันตอนการปฏิบตั ิงาน 230
ใบทดสอบ 232
ใบให้คะแนน 235
การวัดผลและประเมินผล 236
ใบเตรี ยมการสอน 236
ใบทดสอบภาคทฤษฎี 237
สรุ ปผลการฝึ ก 246
บรรณานุกรม 247
ภาคผนวก 248

สารบัญตาราง
หน้ า
ตารางที 1.1 ตารางเปรี ยบเทียบขนาดและกระแสไฟฟ้ าที มีผลต่อร่ างกายมนุษย์ 12
ตารางที 3.1 ตัวอย่างชื อสถาบันทีกาํ หนดมาตรฐาน 40
ตารางที 3.2 ตัวอย่างสัญลักษณ์และเครื องหมายบนอุปกรณ์ไฟฟ้ า 40
ตารางที 3.3 ดัชนีแสดงค่ามาตรฐานการป้ องกันตามมาตรฐาน IEC และ มอก. 42
ตารางที 3.4 ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703 46
ตารางที 3.5 ตัวอย่างสัญลักษณ์ท ัวไป 52
ตารางที 3.6 อักษรเขียนกํากับขัวของมอเตอร์ ตามมาตรฐาน DIN 42 401 53
ตารางที 4.1 ตารางบอกขนาดกระแสและสี เครื องหมายของฟิ วส์ 78

สารบัญภาพ
หน้ า
ภาพที 1.1 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส 2 สาย 5
ภาพที 1.2 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส 4 สาย 5
ภาพที 1.3 อันตรายจากไฟฟ้ าแรงดันสู ง 9
ภาพที 1.4 มีวสั ดุอืนไปสัมผัสสายไฟฟ้ า 9
ภาพที 1.5 เกิดแรงดันเกินในสายไฟฟ้ า หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ า 10
ภาพที 1.6 ฉนวนไฟฟ้ าชํารุ ด หรื อเสื อมสภาพ 10
ภาพที 1.7 อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูด 13
ภาพที 1.8 ถอดปลักหรื อสับคัทเอาท์ลง 14
ภาพที 1.9 ใช้วตั ถุที ไม่เป็ นสื อไฟฟ้ าเขียสายไฟฟ้ าให้หลุดจากตัวผูท้ ีถูกไฟดูด 14
ภาพที 1.10 การช่วยเหลือผูท้ ีถูกไฟฟ้ าดูดในบริ เวณทีมีนาํ ขัง 15
ภาพที 1.11 จับตัวให้นอนหงายราบบนพืนแข็ง 15
ภาพที 1.12 กดหน้าผากผูป้ ่ วยให้แหงนขึน 16
ภาพที 1.13 บีบจมูกผูป้ ่ วยให้แน่น แล้วเป่ าลมหายใจเข้าปอดผูป้ ่ วย 16
ภาพที 1.14 การคลําชีพจรทีคอหรื อทีขอ้ มือของผูป้ ่ วย 17
ภาพที 1.15 วิธีการนวดหัวใจและเป่ าปากของผูป้ ่ วย 17
ภาพที 1.16 วิธีการปฐมพยาบาลกรณี ผปู ้ ่ วยไม่หายใจ 18
ภาพที 2.1 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส 2 สาย 23
ภาพที 2.2 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส 4 สาย 24
ภาพที 2.3 ยอร์ จ ซี มอน โอห์ม นักฟิ สิ กส์ชาวเยอรมัน 27
ภาพที 2.4 การเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ า ความต้านทานและแรงดันไฟฟ้ า 28
ภาพที 2.5 เปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างการไหลของกระแสไฟฟ้ ากับนําประปา 28
ภาพที 2.6 แสดงทิศทางการไหลของไฟฟ้ ากระแสตรง 30
ภาพที 2.7 แสดงทิศทางการไหลของไฟฟ้ ากระแสสลับ 31
ภาพที 2.8 แสดงทิศทางการไหลของไฟฟ้ ากระแสสลับ 33
ภาพที 2.9 แสดงการเปรี ยบเทียบแรงม้า 34
ภาพที 3.1 แสดงเครื องหมายมาตรฐานทัวไป 43
ภาพที 3.2 แสดงเครื องหมายมาตรฐานบังคับ 43
ภาพที 3.3 แสดงเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย 44
ภาพที 3.4 แสดงเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ งแวดล้อม 44

สารบัญภาพ (ต่ อ)
หน้ า
ภาพที 3.5 แสดงเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้าใจกันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้ า 45
ภาพที 3.6 ลักษณะของแบบงานจริ ง 55
ภาพที 3.7 แสดงลักษณะของแบบวงจรกําลัง 56
ภาพที 3.8 แสดงลักษณะของแบบวงจรควบคุม 57
ภาพที 3.9 แสดงลักษณะของแบบวงจรกําลัง 58
ภาพที 3.10 แสดงลักษณะของแบบวงจรประกอบการติดตัง 59
ภาพที 4.1 โมลเคสเซอร์ กิตเบรกเกอร์ 71
ภาพที 4.2 แอร์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 72
ภาพที 4.3 มินิเอเจอร์ ร์เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 72
ภาพที 4.4 การตัดวงจรของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบทํางานด้วยความร้อน 73
ภาพที 4.5 การตัดวงจรของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบทํางานด้วยอํานาจแม่เหล็ก 74
ภาพที 4.6 การตัดวงจรของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบทํางานด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 74
ภาพที 4.7 กราฟแสดงค่ากระแสทีไหลผ่านฟิ วส์ในช่วงเวลาต่างๆ ของการเริ มเดินมอเตอร์ 76
ภาพที 4.8 แสดงโครงสร้างภายในของฟิ วส์ชนิดหน่วงเวลา 76
ภาพที 4.9 รู ปร่ างลักษณะต่าง ๆ ของฟิ วส์ 77
ภาพที 4.10 แสดงส่ วนประกอบของฟิ วส์ 77
ภาพที 4.11 แสดงการต่อฟิ วส์ป้องกันวงจรกําลัง 78
ภาพที 4.12 การต่อฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุม 79
ภาพที 4.13 ส่ วนประกอบของฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุม 79
ภาพที 4.14 ส่ วนประกอบภายในของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ 80
ภาพที 4.15 แกนเหล็กรู ปตัว E ชุดที 1 และเชดเดดริ ง 80
ภาพที 4.16 แกนเหล็กรู ปตัว E ชุดที 2 และคอนแทค 81
ภาพที 4.17 ขดลวด 81
ภาพที 4.18 ส่ วนประกอบภายนอกและสัญลักษณ์ของ Main Contact 82
ภาพที 4.19 ส่ วนประกอบภายนอกและสัญลักษณ์ของ Auxiliary Contact 83
ภาพที 4.20 ลักษณะการทํางานของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ 84
ภาพที 4.21 หมายเลขกํากับขัวคอนแทคของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ 84
ภาพที 4.22 ตารางแสดงการใช้งานรี เลย์ในการเขียนแบบ 87

สารบัญภาพ (ต่ อ)
หน้ า
ภาพที 4.23 รี เลย์ช่วยแบบต่างๆ 88
ภาพที 4.24 สัญลักษณ์ของรี เลย์ทีมีคอนแทค NC 2 ตัว และ NO 2 ตัว 88
ภาพที 4.25 มีคอนแทค NC 2 ตัว, NO 2 ตัว และมีคอนแทค NC ทีตอ้ งรอให้คอนแทค NO
ต่อวงจรก่อน แล้วคอนแทค NC อีก 2 อันถึงจะจากออก 89
ภาพที 4.26 ไดอะแกรมส่ วนประกอบของรี เลย์ 89
ภาพที 4.27 รี เลย์ใช้งานทัวไป 90
ภาพที 4.28 เพาว์เวอร์ รีเลย์ 90
ภาพที 4.29 แลทชิงรี เลย์ 90
ภาพที 4.30 แรทเชทรี เลย์ 91
ภาพที 4.31 สเตปปิ งรี เลย์ 91
ภาพที 4.32 โครงสร้างภายนอกของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ 93
ภาพที 4.33 สัญลักษณ์ของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ทีใช้ในการเขียนแบบวงจร 93
ภาพที 4.34 โครงสร้างภายในของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ 94
ภาพที 4.35 แสดงปุ่ มปรับตังกระแสทริ ปของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ 94
ภาพที 4.36 สวิทช์ปุ่มกดแบบต่างๆ 95
ภาพที 4.37 โครงสร้างภายนอกของสวิทช์ปุ่มกด 95
ภาพที 4.38 สัญลักษณ์ของสวิทช์ปุ่มกดแบบต่างๆ 96
ภาพที 4.39 สวิทช์ปุ่มกดแบบธรรมดา 96
ภาพที 4.40 สวิทช์ปุ่มกดทีใช้ในการเริ มเดิม (Start) และหยุดหมุน (Stop) มอเตอร์ 97
ภาพที 4.41 สวิทช์ปุ่มกดฉุ กเฉิ น 97
ภาพที 4.42 สวิทช์ปุ่มกดทีมีหลอดสัญญาณติดอยู่ 97
ภาพที 4.43 สวิทช์ปุ่มกดทีใช้เท้าเหยียบ 98
ภาพที 4.44 สวิทช์จาํ กัดระยะ 98
ภาพที 4.45 สัญลักษณ์ของสวิทช์จาํ กัดระยะ 98
ภาพที 4.46 สวิทช์ความดันแบบต่างๆ 99
ภาพที 4.47 สัญลักษณ์ของสวิทช์เลือกหรื อสวิทช์ลูกศร 99
ภาพที 4.48 สวิทช์เลือกแบบต่างๆ 99

สารบัญภาพ (ต่ อ)
หน้ า
ภาพที 4.49 สวิทช์โยกแบบต่างๆ 100
ภาพที 4.50 โซลีนอยด์วาล์ว 100
ภาพที 4.51 สัญลักษณ์ของตัวตังเวลาแบบต่างๆ 100
ภาพที 4.52 ตัวตังเวลาแบบดิจิตอล 101
ภาพที 4.53 ตัวตังเวลาแบบสตาร์ – เดลต้า 101
ภาพที 4.54 ตัวตังเวลาแบบทวิน 102
ภาพที 4.55 ตัวตังเวลาแบบโซลิดสเตท 102
ภาพที 4.56 ตัวตังเวลาแบบ 24 ชัวโมง/สัปดาห์ 102
ภาพที 4.57 ตัวตังเวลาแบบอะนาล็อก 102
ภาพที 4.58 ตัวอย่างการเขียนแบบการต่อสายไฟย่อยของมอเตอร์ 103
ภาพที 4.59 ลักษณะการต่อสายป้ องกัน 103
ภาพที 5.1 อินดักชันมอเตอร์ 3 เฟส 108
ภาพที 5.2 แสดงโรเตอร์ หรื อส่ วนหมุนของอินดักชันมอเตอร์ 109
ภาพที 5.3 แสดงสเตเตอร์ หรื อส่ วนนิ งของอินดักชันมอเตอร์ 109
ภาพที 5.4 แสดงส่ วนประกอบทังหมดของอินดักชันมอเตอร์ 110
ภาพที 5.5 แสดงทิศทางการหมุนของโรเตอร์ 111
ภาพที 5.6 แสดงหลักการเบืองต้นของอินดักชันมอเตอร์ 111
ภาพที 5.7 แสดงซิ งโครนัสมอเตอร์ 112
ภาพที 5.8 แสดงโรเตอร์ หรื อส่ วนหมุนของซิ นโครนัสมอเตอร์ 112
ภาพที 5.9 แสดงสเตเตอร์ หรื อส่ วนนิ งของซิ นโครนัสมอเตอร์ 113
ภาพที 5.10 แสดงหลักการเบืองต้นของซิ งโครนัสมอเตอร์ 113
ภาพที 5.11 แสดงตัวอย่าง Name plate ของมอเตอร์ 114
ภาพที 5.12 การต่อขัวของมอเตอร์ ทีแรงดันระดับต่างๆ ในระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 114
ภาพที 5.13 การต่อขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส 220/380 V แบบสตาร์ 115
ภาพที 5.14 การต่อขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส 380/660 V แบบเดลต้า 115
ภาพที 5.15 แสดงการต่อขัวมอเตอร์ ไม่ถูกต้อง 116
ภาพที 5.16 แสดงการต่อแหล่งจ่ายไฟไม่ถูกต้อง 116
ภาพที 6.1 การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ ทตรง (Direct Start) ด้วยอินเตอร์ รัพเตอร์ สวิทช์ 121
ภาพที 6.2 การสตาร์ ทมอเตอร์ ดว้ ยสวิทช์ป้องกันมอเตอร์ 122

สารบัญภาพ (ต่ อ)
หน้ า
ภาพที 6.3 การสตาร์ ทมอเตอร์ ดว้ ยคัทเอาท์ 123
ภาพที 6.4 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์
หมุนตามเข็มนาฬิกา 131
ภาพที 6.5 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์
หมุนทวนเข็มนาฬิกา 131
ภาพที 6.6 แสดงลักษณะการทํางานของดรัมหรื อแคมสวิทช์ 132
ภาพที 7.1 สัญลักษณ์และวงจรการใช้งานของสวิทช์สปริ งดันกลับ 141
ภาพที 7.2 สัญลักษณ์และวงจรการใช้งานของสวิทช์ปุ่มกด 142
ภาพที 7.3 วงจรไฟกําลังการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส 150
ภาพที 7.4 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบใช้ MAINTAINED CONTACT SWITCH 151
ภาพที 7.5 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING แบบที 1 152
ภาพที 7.6 วงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING แบบที 2 153
ภาพที 8.1 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์
หมุนตามเข็มนาฬิกา 173
ภาพที 8.2 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์
หมุนทวนเข็มนาฬิกา 173
ภาพที 8.3 แสดงลักษณะการทํางานของดรัมหรื อแคมสวิทช์ 174
ภาพที 8.4 วงจรจ่ายไฟกําลังการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส 175
ภาพที 8.5 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบใช้ MAINTAINED CONTACT SWITCH 176
ภาพที 8.6 วงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING 177
ภาพที 9.1 การต่อวงจรจ่ายไฟกําลังการสตาร์ ทสตาร์ – เดลต้า แบบ Full Load 198
ภาพที 9.2 การต่อวงจรจ่ายไฟกําลังการสตาร์ ทสตาร์ – เดลต้า แบบ Half Load 199
ภาพที 9.3 สวิทช์ปุ่มกด 199
ภาพที 9.4 คาร์ ทริ คฟิ วส์ 200
ภาพที 9.5 โอเวอร์ โหลดรี เลย์ 200
ภาพที 9.6 แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 201
ภาพที 9.7 มอเตอร์ 3 เฟส 201
บทที 1 บทนํา
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 1
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
บทนํา หัวข้ อวิชา บทนํา
งานย่ อยที - เวลา - ชัวโมง

บทนํา
การควบคุ มมอเตอร์ หมายถึ ง การให้มอเตอร์ ทาํ งานตามคําสั ง เช่ น การเริ มเดิ นมอเตอร์ การหยุด
มอเตอร์ การกลับทางหมุนมอเตอร์ การควบคุมความเร็ วรอบของมอเตอร์ การควบคุมมอเตอร์ ให้ทาํ งานเรี ยง
ตามลําดับ ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน เป็ นต้น

เอกสารเล่มนี จดั ทําขึนเพือใช้ในการฝึ กอบรมทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิในการฝึ กอบรมฝี มือให้กบั


แรงงานและบุคคลทัวไปทีสนใจ และใช้เป็ นเอกสารประกอบการฝึ กหลักสู ตรการฝึ กยกระดับฝี มือ กลุ่มอาชี พ
ช่างไฟฟ้ า สาขาการควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า (รหัสหลักสู ตร 3520014150301) ซึ ง
ประกอบด้วยหัวข้อวิชาต่างๆ ดังนี
- ความปลอดภัยในการทํางาน
- ทฤษฎีไฟฟ้ า
- การอ่านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้ า
- อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
- หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส
- การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบธรรมดา
- การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
- การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
- การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลดแรงดัน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 2
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
บทนํา หัวข้ อวิชา บทนํา
งานย่ อยที - เวลา - ชัวโมง

หั ว ข้อ วิ ช าเหล่ า นี นั บ ว่ า เป็ นองค์ ป ระกอบสํ า คัญ ที จ ะช่ ว ยให้ ก ารดํา เนิ น การฝึ กเป็ นไปอย่ า งมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ อี ก ทัง ยัง เป็ นประโยชน์ ต่ อ ผู ้ที ป ฏิ บ ัติ ง านเกี ย วกับ การควบคุ ม มอเตอร์ ไ ฟฟ้ าในโรงงาน
อุ ต สาหกรรม และผูท้ ี ส นใจในวิช าแขนงนี ไ ด้นํา เอกสารไปศึ ก ษาด้วยตนเองเป็ นการเพิ ม พูน ความรู ้ แ ละ
ประสบการณ์ทีเป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิงานในหน้าที และความก้าวหน้าของผูป้ ฏิบตั ิงาน ซึ งใบงานต่างๆ
ที รวบรวมไว้ในเอกสารเล่ มนี สามารถนําไปประยุกต์ใช้กบั ชุ ดฝึ กอื นๆ ซึ งเป็ นวัสดุ – อุ ปกรณ์ การฝึ กชนิ ด
เดียวกันได้ เพราะหลักการและวิธีการทํางาน วิธีก ารใช้งานจะเหมือนกันและสามารถใช้แทนกันได้ ถึงแม้จะ
เป็ นการผลิตจากคนละบริ ษทั ฯ ซึ งมีจาํ หน่ายในท้องตลาดทัวไป

หลักการและเหตุผล
เพือให้การฝึ กมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล การจัดทําเอกสารเล่มนี มีวตั ถุประสงค์ ดังนี
- ใช้เป็ นเอกสารประกอบการฝึ กหลักสู ตรการฝึ กยกระดับฝี มือ สาขาการควบคุ มมอเตอร์
ไฟฟ้ า 3 เฟสด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า เพื อเผยแพร่ ให้สถาบันภาคฯ/ศูนย์พฒั นาฝี มือแรงงาน
จังหวัด
- ให้ผรู ้ ับการฝึ กและผูท้ ีนาํ ไปศึกษาสามารถปฏิบตั ิงานการควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟสด้วย
ระบบวงจรไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้อง
- ใช้เป็ นเอกสารประกอบการฝึ กเพือให้ผทู ้ ีนาํ ไปศึกษามีพืนฐานในการนําความรู ้ไปพัฒนาสู่
การฝึ กฝี มือในการศึกษาเทคโนโลยีชนั สู งต่อไป เช่น PLC หรื อสมาร์ ทรี เลย์
เอกสารประกอบการฝึ กนี จะทํา ให้กิจกรรมการฝึ กตามรายวิช าที กาํ หนดในหลัก สู ตรนี มีม าตรฐาน
เดียวกัน และเกิ ดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูท้ ี นาํ ไปศึกษา ผูท้ าํ หน้าที ฝึก รวมทังผูท้ ีปฏิบตั ิงานเกี ยวกับการควบคุ ม
มอเตอร์ และผูท้ ีมีส่วนเกียวข้อง
บทที 2 การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยระบบวงจรไฟฟ้า
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 3
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถปฏิบตั ิงานเกี ยวกับการใช้ไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัยจากทัง
ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย และระบบไฟฟ้ า 1 เฟส 2 สาย
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถตรวจสอบระบบความปลอดภัยเกี ยวกับงานควบคุมมอเตอร์ ได้ถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถช่วยเหลือและปฐมพยาบาลผูถ้ ูก ไฟฟ้ าดูดได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
วิธีการสอน :
บรรยาย
หัวข้ อสํ าคัญ :
- ความปลอดภัยเกียวกับระบบไฟฟ้ าแรงตํา 3 เฟส 4 สาย
- การตรวจสอบระบบความปลอดภัยเบืองต้นของการทํางานเกี ยวกับงานควบคุมมอเตอร์
- การปฐมพยาบาลผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูด
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
การมอบหมายงาน : ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้
การวัดผล :
ถาม – ตอบ และตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยน
หนังสื ออ้ างอิง :
เอมอร คชเสนี. (2 ตุลาคม 2551 13:22 น.). การช่ วยเหลือผู้ทถี ูกไฟดูดอย่ างถูกวิธ.ี [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.iurban.in.th/highlight/ems1130/. (วันทีคน้ ข้อมูล : 5 กันยายน 2555).
Syutana@ratree.psu.ac.th. ระบบการจ่ ายแรงดันไฟฟ้าให้ แก่ ผ้ ใู ช้ ไฟในปัจจุบันของการไฟฟ้าฯ.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http:// homepage.eng.psu.ac.th/adm/akarn/electric-basic.htm . (วันทีคน้ ข้อมูล : 21 มิถุนายน 2555).
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 4
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

ความปลอดภัยในการทํางาน
ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินมีความสําคัญอย่างยิง โดยเฉพาะท่านทีทาํ งานเกี ยวกับระบบ
ไฟฟ้ าทังทีเกียวข้องโดยตรงและทางอ้อม โดยช่ วงที เป็ นหน้าฝนซึ งมีความชื นในอากาศสู ง การทํางานใกล้สาย
ไฟฟ้ าแรงสู งต้องเพิมความระมัดระวังเพิมขึน ทําอย่างไรจึงจะไม่ถูกไฟฟ้ าดูด
การใช้ประโยชน์จากไฟฟ้ าต้องใช้อย่างระมัดระวัง ต้องเรี ยนรู ้วิธีการใช้การป้ องกันการเลือกใช้
เครื องใช้ไฟฟ้ าทีมีคุณภาพ และใช้อย่างถูกวิธีเป็ นการช่วยลดอันตรายจากไฟฟ้ ามิใช่เกิดจากการใช้ไฟฟ้ าแต่
เพียงอย่างเดียว บุคคลทัวไปหรื อผูป้ ระกอบอาชีพอืน ก็อาจเกิดอันตรายได้เช่นกัน ไม่วา่ จะเป็ นผูท้ าํ งานก่อสร้าง
การติดตังเสาอากาศโทรทัศน์ และการใช้ยานพาหนะเป็ นต้น ในบทนี มีจุดประสงค์ให้ผใู ้ ช้ไฟฟ้ าทัวไปรวมทัง
ผูป้ ฏิบตั ิงานอืนทีไม่เกียวข้องกับไฟฟ้ าโดยตรง แต่ตอ้ งเกี ยวข้องหรื อปฏิ บตั ิงานใกล้สายไฟฟ้ าได้ตระหนักถึ ง
อันตราย และทราบถึ งแนวทางป้ องกันอันตราย อันจะเป็ นประโยชน์โดยตรงต่อชี วิตและทรัพย์สิน รวมทัง
สามารถลดปั ญหาไฟฟ้ าดับได้ อีกด้วย
ดังนันจึงทําความรู ้จกั กับไฟฟ้ าก่อนการใช้ไฟฟ้ าทังๆ ทีไม่เคยเห็นไฟฟ้ า จะเคยก็เพียงแต่เห็นผล
ทีเกิ ดจากการทํางานของไฟฟ้ า ไฟฟ้ าเกิ ดจากการเคลื อนทีของอิ เล็กตรอน โดยไหลผ่านสิ งที เรี ยกว่า"ตัวนํา
ไฟฟ้ า" เช่ น สายไฟฟ้ าเป็ นต้น หลัก การที สํ า คัญ คื อ ต้อ งมี แ หล่ ง กํา เนิ ด ไฟฟ้ า ไฟฟ้ าจะเคลื อ นที อ อกจาก
แหล่งกําเนิดไหลไปตามสายไฟฟ้ าอาจผ่านเครื องใช้ไฟฟ้ าหรื อไม่ก็ได้และต้องกลับมาที แหล่งกําเนิ ดเดิมอีกครัง
เรี ยกว่า "ครบวงจร" จึงอาจกล่าวอย่างง่ายๆ ได้วา่ ไฟฟ้ าจะไหลครบวงจรได้ท ังกรณี ไฟฟ้ าดูด และกรณี ไฟฟ้ า
ช้อตทัง 2 กรณี เกิดขึนได้เพราะไฟฟ้ าไหลครบวงจรนันเอง แบตเตอรี รถยนต์จะมีขวั ให้ต่อสายไฟฟ้ าอยูส่ อง
ขัวไฟฟ้ าจะไหลจากขัวหนึงไปตามสายไฟฟ้ า โดยไหลผ่านอุปกรณ์เครื องใช้ไฟฟ้ า เช่นหลอดไฟฟ้ าและกลับมา
ครบวงจรที อีกขัวหนึ งของแบตเตอรี เราสามารถหยุดการไหลของกระแสไฟฟ้ าได้ โดยการทําให้วงจรไฟฟ้ า
ขาด เช่น การใส่ สวิตซ์เพือเปิ ด - ปิ ดวงจรหรื อโดยการใส่ ฉนวนไฟฟ้ าทีมีค่าความต้านทานสู ง เพือหยุดการไหล
ของกระแสไฟฟ้ า จากหลักการนีจะนําไปสู่ แนวทางการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ าได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 5
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

ระบบการจ่ ายแรงดันไฟฟ้าให้ แก่ ผ้ ใู ช้ ไฟฟ้าในปัจจุบันของการไฟฟ้าฯ มีอยู่ 2 ระบบ คือ


1. ระบบแรงดันไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส 2 สาย ( Single phase ) คือ การจ่ายแรงดันไฟฟ้ าขนาดพิกดั
220 -240 โวลต์ ระบบนี เหมาะสําหรับบ้านพักอาศัยที ตอ้ งการใช้กระแสไฟจํานวนไม่มาก (แต่ไม่เกิ น 100
แอมป์ ) ระบบนีมีการติดตังสายไฟสําหรับการใช้งานเพียง 2 เส้น คือ สายเส้นทีมีกระแสไฟ (สาย Line หรื อ
“L”) และสายเส้นทีไม่มีกระแสไฟฟ้ า หรื อสายเส้นศูนย์ (สาย Nuetron หรื อ "N”)

ภาพที 1.1 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส 2 สาย(Single phase)

2. ระบบแรงดันไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส 4 สาย (Three phase ) คือ การจ่ายแรงดันไฟฟ้ าขนาดพิกดั


380 - 400 โวลต์ ระบบนี เหมาะสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมที ตอ้ งการใช้กระแสไฟฟ้ าจํานวนมากตังแต่ 100
แอมป์ ขึนไป และมีเครื องใช้ไฟฟ้ าหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าทีตอ้ งการต่อสายไฟฟ้ าใช้งาน 4 เส้น ระบบนี มีการติดตัง
สายไฟฟ้ าสําหรับใช้งาน 4 เส้น โดยมีสายไฟฟ้ าทีมีกระแสไฟ 3 เส้น คือ สาย Line 1, สาย Line 2 และ
สาย Line 3 สายเส้นที 4 เป็ นสายเส้นทีไม่มีกระแสไฟฟ้ า หรื อสายเส้นศูนย์ (สาย Neutron หรื อ "N “)

ภาพที 1.2 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส 4 สาย(Three phase)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 6
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

การต่อสายไฟไปใช้งานทัง 2 รู ปแบบ จะเห็นได้วา่ ในระบบ 3 เฟส 4 สายนันสามารถต่อไฟใช้


งานให้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ าได้ทงั 2 ประเภท คือ ทังประเภททีตอ้ งการใช้แรงดันไฟฟ้ าขนาด 380 โวลต์ และ
220 โวลต์ได้ในเวลาเดียวกัน (ตามภาพที 2.2) แต่ในระบบ 1 เฟส 2 สายนัน สามารถต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ าใช้
งานได้เพียงขนาดแรงดันไฟฟ้ า 220 โวลต์เพียงอย่างเดียวเท่านัน เมือทราบถึงพืนฐานของระบบแรงดันไฟฟ้ า
เพือการต่อใช้งานไปพอสังเขปแล้ว ต่อไปก็เป็ นขันตอนการติดตังระบบไฟฟ้ าใช้งาน

การตรวจสอบเพือความปลอดภัยเบืองต้ นเกียวกับงานควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า


กฎแห่ งความปลอดภัยทางไฟฟ้ า อาจแบ่งขอบเขตได้ตามประเภทของการปฏิบตั ิงานทางไฟฟ้ า
ซึ งทางคณะกรรมการป้ องกันอุบตั ิภยั แห่ งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี (National safety council of Thailand) ได้
แบ่งการปฏิบตั ิเพือความปลอดภัยทางไฟฟ้ า หรื อการป้ องกันอุบตั ิภยั ทางไฟฟ้ าเอาไว้ 3 ขันตอน คือ
1. ขันตอนการติดตัง (Installation)
2. ขันตอนการปฏิบตั ิงาน (Operation)
3. ขันตอนการบํารุ งรักษา (Maintenance)

1. การป้องกันอุบัติภัยทางด้ านการติดตังไฟฟ้า
การติดตังไฟฟ้ าไม่วา่ จะเป็ นภายในหรื อนอกอาคาร ระบบแสงสว่างหรื อระบบกําลัง หลักสําคัญ คือ
ต้องปฏิบตั ิตามกฎของการเดินสายและติดตังไฟฟ้ าทีออกโดย การไฟฟ้ านครหลวง หรื อการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค
และอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีใช้ตอ้ งเป็ นอุปกรณ์ทีมีมาตรฐานรับรองเชื อถือได้
ตัวอย่างของการปฏิบตั ิเพือความปลอดภัยในการติดตังไฟฟ้ าดังนี
1. อุปปกรณ์ไฟฟ้ าทุกชนิ ด ควรมีการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมจากกระทรวงอุตสาหกรรมโดย
สังเกตได้จากเครื องหมายมาตรฐานอุตสาหกรรม
2. เวลาติดตังไฟฟ้ าจะต้องมีป้ายแจ้งอันตรายในเขตที มีส่วนสายไฟฟ้ าทีเปิ ดเปลื อยอยู่ เช่น ตาม
ตูค้ วบคุมไฟฟ้ า (control board) ป้ ายดังกล่าวต้องมีขนาดใหญ่พอให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานสังเกตเห็น
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 7
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

3. การเดินสายไฟ เช่น ในโรงงาน ควรเดินตามรหัสสี (code) ทีกาํ หนดไว้เป็ นมาตรฐาน และชนิดของ


สายไฟก็ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของโรงงาน
4. ด้านหน้าและด้านหลังตูส้ วิตช์บอร์ ด หรื อตูค้ วบคุมควรมีไฟส่ องสว่าง
5. สวิตช์ ฟิ วส์ และอุปกรณ์ต่างๆ ทีประกอบในตูส้ วิตช์บอร์ ด ต้องมีประตูเปิ ดปิ ดได้ตลอดเวลาและ
ควรทาสี ให้สะดุดตา เช่น สี แดง สี ส้ม และมีขอ้ ความเตือนอันตราย
6. สายไฟเข้าลวดความร้อน(heater) หรื อเตารี ดควรเป็ นแบบมีฉนวนกันความร้อนหุ ม้ ด้วย เช่น ฉนวน
แร่ ใยหิ น (asbestos)
7. ควรต่อสายดินทีโครงทีเป็ นโลหะของเครื องใช้ไฟฟ้ าทุกชนิด เพือป้ องกันกระแสไฟฟ้ ารัว
2. การป้องกันอุบัติภัยทางด้ านการปฏิบัติงานไฟฟ้า
การปฏิ บตั ิงานไฟฟ้ า หมายถึ ง การปฏิ บตั ิ อย่างมีความปลอดภัยในระหว่างการปฏิ บตั ิ งานเกี ยวกับ
ไฟฟ้ า ก่ อนเริ ม ต้นทํา งานจะต้องตรวจสอบแผงวงจรและป้ ายแขวนให้แน่ ใ จว่า อุ ป กรณ์ ที จะทํา การซ่ อ ม
บํารุ งรักษาได้ปลดไฟออกแล้ว และขณะปฏิ บตั ิการต้องมี ผคู ้ วบคุ มเพื อไม่ให้ผูห้ นึ งผูใ้ ดสับสวิตช์จ่ายไฟเข้า
อุปกรณ์อีก บริ เวณทีปฏิบตั ิงานควรมีผา้ ยางหรื อพรมยางคลุมเพื อป้ องกันไฟฟ้ าดูด ในระหว่างปฏิบตั ิงานจะต้อง
มีผปู ้ ฏิบตั ิงานอย่างน้อย 2 คน ถึงแม้วา่ งานนันใช้เพียงคนเดียว เพือช่วยเหลือในกรณี ฉุกเฉิ น และผูป้ ฏิบตั ิงานไม่
ควรสวมใส่ วตั ถุ ทีเป็ นสื อไฟฟ้ าทุกชนิ ด เช่น แหวน สร้ อย หัวเข็มขัดโลหะ ฯลฯ ซึ งจะเป็ นทางเดิ นของ
กระแสไฟฟ้ าได้ดี และอาจเกิดอันตรายกับผูป้ ฏิบตั ิงานได้
หลักโดยทัวไปเมือปฏิบัติงานเกียวกับไฟฟ้า
1. อย่าใช้เครื องมือไฟฟ้ าหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ า ขณะทีมือเปี ยก หรื อยืนอยูบ่ นพืนทีเปี ยก
2. ก่อนทํางานกับอุปกรณ์ไฟฟ้ า จะต้องถือว่า อุปกรณ์ทุกชิ นมีไฟอยูจ่ นกว่าจะได้ดาํ เนิ นการทดสอบ
แล้วว่าอุปกรณ์เหล่านันไม่มีไฟ
3. ถ้าจําเป็ นต้องปฏิบตั ิงานในที ๆ ไม่อาจตัดไฟออกได้โดยสิ นเชิ ง จะต้องกันเขตหรื อวิธีการใดๆ ที
จะป้ องกันไม่ให้ผอู ้ ืนเข้าใกล้ได้ ขอบเขตปฏิบตั ิงานต้องกะให้เพียงพอที ผปู ้ ฏิบตั ิงานหนีภยั ออกได้ง่าย
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 8
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง
4. ถ้าผูป้ ฏิบตั ิงานและงานอยูช่ ่วงหนึ ง เช่น พักเทียง เมือกลับมาทําต่อต้องตรวจสอบ สวิตช์ตดั
ตอน หรื อเซอร์ กิตเบรคเกอร์ (Circuit Breaker) หรื อเครื องหมายต่างๆ ทีทาํ ไว้ก่อนจะปฏิบตั ิงานต่อไป
5. ถ้าจะต้องใช้ถุงมือยางกันไฟฟ้ า ต้องตรวจสอบก่อนทุกครั งว่ามีรูรัวหรื อไม่ และถ้าจะต้อง
ปฏิบตั ิงานกับส่ วนทีแหลมคมของสายไฟ ก็ตอ้ งสวมถุงมือหนังสวมทับ

3. การป้องกันอุบัติภัยทางด้ านการซ่ อมบํารุ งรักษาไฟฟ้า


ผูท้ าํ หน้าทีซ่อมบํารุ งไฟฟ้ า จะต้องมีความรู ้เกี ยวกับไฟฟ้ า ช่างสังเกตและรอบคอบ ในระบบไฟฟ้ า
ทีมีการใช้งานอย่างสมําเสมอ เช่น ในโรงงานอุตสาหกรรม หรื อในบ้านพักอาศัย ควรมีการตรวจอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ต่างๆ เป็ นประจํา มีตารางการซ่ อมบํารุ งไฟฟ้ าที กาํ หนดระยะเวลาแน่นอน มีการตรวจและเปลี ยนอุปกรณ์ ที
ชํารุ ดเสี ยหาย โดยการบํารุ งรักษาทุกครั งผูป้ ฏิ บตั ิจะต้องเตรี ยมพร้อม และใช้เครื องมือทุกชนิ ดให้ถูกต้องกับ
ประเภทของงาน ด้ามจับเครื องมือทุกชิ นจะต้องมีฉนวนหุ ้มมิดชิ ด ขณะปฏิ บตั ิการซ่ อมบํารุ งไฟฟ้ าต้องแจ้งให้
ผูร้ ่ วมงานคนอื นๆ รู ้ท ัวกัน โดยอาจติดป้ ายซ่ อมบํารุ งให้เด่นชัด และกําหนดระยะเวลาที แน่ นอน ถ้ามีการ
เปลี ยนแปลงใดๆ ในงานที ได้กาํ หนดไว้แล้วให้แจ้งผูร้ ่ วมงานใหม่ทุกครั งและทีสําคัญ คือ อย่ าปฏิบัติงานคน
เดียวข้ อแนะนําในการบํารุ งรักษาไฟฟ้า
1. ผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องเป็ นช่างชํานาญงาน เข้าใจด้านไฟฟ้ าดีพอ
2. ใช้อะไหล่ทีเชือถือได้ และทดสอบอุปกรณ์ไฟฟ้ าด้วยเครื องมือ อย่าใช้มือแตะ
3. ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องเข้าใจวงจรไฟฟ้ าและเครื องมือทีใช้ซ่อมจะต้องมีดา้ มจับเป็ นฉนวน
4. หัวหน้างานต้อ งคอยควบคุ ม ให้ ผูป้ ฏิ บ ัติงานทําตามแผนงานที ก ําหนดไว้ และต้อ งบัง คับ ให้
ผูป้ ฏิบตั ิงานใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย เช่น ถุงมือยาง, ปลอกฉนวนสาย, หมวกนิรภัย, แว่นตากันกระแทก, เข็ม
ขัดนิรภัย ฯลฯ
5. ก่อนเข้าปฏิบตั ิงานจะต้องป้ องกันไม่ให้อุปกรณ์ที จะซ่ อมมีไฟโดยปลดสวิตช์ ฟิ วส์ (Fuse) หรื อ
ยกคัทเอาท์ออกจากวงจรจ่ายไฟ และมีป้ายห้ามแขวนไว้ ก่อนปฏิบตั ิงานผูค้ วบคุมควรตรวจอีกครังหนึง
6. เมือมีการเปลียนฟิ วส์ อย่าใช้ฟิวส์ใหญ่เกินกําลังสาย อย่าใช้ลวดทองแดงแทนฟิ วส์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 9
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง
อันตรายจากไฟฟ้าเกิดได้ อย่ างไร
ไฟฟ้ าก่อให้เกิดอันตรายได้ทงั ต่อชีวติ และทรัพย์สิน อันตรายจากไฟฟ้ าเกิดได้ 2 สาเหตุ คือ
1. ไฟฟ้ าช้อต (Short Circuit) หรื อเรี ยกอีกอย่างว่าไฟฟ้ าลัดวงจร คือ กระแสไฟฟ้ าไหลครบ
วงจร โดยไม่ผา่ นเครื องใช้ไฟฟ้ า (Load)
2. ไฟฟ้ าดูด (Electric Shock) คือการทีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่ างกาย การเรี ยกไฟฟ้ าดูดจะ
เป็ นการเรี ยกจากอาการเมื อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่ างกาย จะเกิดอาการเกร็ งของกล้ามเนื อจนไม่สามารถสะบัด
ให้หลุดออกมาได้ จึงเรี ยกว่า "ไฟฟ้ าดูด" ผลของไฟฟ้ าดูดอาจทําให้เสี ยชีวติ หรื อพิการเลยก็เป็ นได้
เนื องจากไฟฟ้ าช้อตและไฟฟ้ าดูด มีสาเหตุของการเกิ ดที แตกต่างกัน วิธีการป้ องกันจึงแตกต่าง
กันด้วย สาเหตุของไฟฟ้ าลัดวงจรมีหลายสาเหตุ พอสรุ ปสาเหตุส่วนใหญ่ที ทาํ ให้เกิดไฟฟ้ าลัดวงจรได้ คือ
- ไฟฟ้ าในวงจรเดี ยวกัน แต่ต่างเฟสกัน (คนละเส้ น) สัมผัสกัน กรณี นี มกั เกิ ดในระบบ
ไฟฟ้ าแรงสู งทีสายไฟฟ้ าหรื อตัวนําใช้เป็ นสายเปลือย

ภาพที 1.3 อันตรายจากไฟฟ้ าแรงดันสู ง (High Voltage)


- มีสิงก่อสร้าง ต้นไม้ หรื ออืนๆ ไปสัมผัสสายไฟฟ้ า

ภาพที 1.4 มีวสั ดุอืนไปสัมผัสสายไฟฟ้ า


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 10
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

- เกิดแรงดันเกินในสายไฟฟ้ า หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ าจึงสามารถทะลุผา่ นฉนวน


ได้ (เนืองจากฉนวนไฟฟ้ ามีความสามารถในการทนแรงดันไฟฟ้ าได้ไม่เหมาะสมกับแรงดันไฟฟ้ าที ใช้งาน)

ภาพที 1.5 เกิดแรงดันเกินในสายไฟฟ้ า หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ า

- ฉนวนไฟฟ้ าชํารุ ด หรื อเสื อมสภาพ

ภาพที 1.6 ฉนวนไฟฟ้ าชํารุ ด หรื อเสื อมสภาพ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 11
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

ไฟฟ้ าลัดวงจรเกิดได้ทงั ในระบบไฟฟ้ าแรงสู งและแรงตํา ลักษณะของการเกิดและความเสี ยหายก็


จะแตกต่างกันไฟฟ้ าลัดวงจรเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ
1. กระแสไฟฟ้ าไหลมากระหว่างสายไฟสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากฉนวนของสายไฟฟ้ าชํารุ ดหรื อ
จากการสัมผัสกันโดยบังเอิญ ผลจากไฟฟ้ าลัดวงจรจะทําให้มีกระแสไฟฟ้ าไหลมากและทําให้มีความร้อนสู ง
นอกจากนียงั มีประกายไฟอีกด้วย
2. กระแสไฟฟ้ าไหลลงดิน หรื อเรี ยกว่า "ไฟฟ้ าลัดวงจรลงดิน" อาจเกิดจากการที สายไฟฟ้ าขาด
หรื อหลุดทีจุดต่อแล้วไปสัมผัสกับดิน หรื อสัมผัสกับส่ วนทีเป็ นโลหะซึ งต่ออยูก่ บั ดิน ฉนวนชํารุ ด หรื อเกิดจาก
ทีมีตวั นําเปลือย เช่น บัสบาร์ วางอยูบ่ นฉนวนรอบรับบัสบาร์ และฉนวนเกิดชํารุ ดหรื อสกปรก ลักษณะเช่นนี
จะทําให้มีกระแสไฟฟ้ าไหลลงดิน

ผลของไฟฟ้าช้ อต
ผลจากที มีก ระแสไฟฟ้ าไหลในปริ มาณสู งและมี ค วามร้ อนสู ง จะส่ งผลให้เครื องใช้ไฟฟ้ าและ
อุปกรณ์ชาํ รุ ดเสี ยหาย สายไฟฟ้ าอาจร้อนจนหลอมละลายได้ ถ้าเลือกอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินได้เหมาะสม
จะป้ องกันอันตรายได้ หรื อถ้าป้ องกันไม่ได้ทงั หมดก็ลดความเสี ยหายลงได้มาก ประกายไฟทีเกิดจากกระแสไฟฟ้ าลัดวงจร
อาจเป็ นสาเหตุให้เกิ ดเพลิงไหม้ได้ การป้ องกันไม่ให้เกิดกระแสไฟฟ้ าลัดวงจรคือ การดูแลเครื องใช้และอุปกรณ์ไฟฟ้ า
โดยเฉพาะสายไฟฟ้ าให้อยู่ในสภาพดี และไม่ใ ช้เครื องใช้ไ ฟฟ้ ามากเกิ นกว่าที ส ายไฟฟ้ าจะทนได้ อย่าให้
ของแข็งกระแทกสายไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ าจนชํารุ ดและไม่ควรเอาวัสดุไวไฟไว้ใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้ า

ผลของไฟฟ้าดูดต่ อร่ างกายมนุษย์


กระแสไฟฟ้ าจะไหลผ่านร่ างกายได้สูง หากร่ างกายเปี ยกชื นจะมีความต้านทานตํา เมือเกิดไฟฟ้ า
ดูดจึงมีอนั ตรายสู ง ดังนันขณะทีร่างกายเปี ยกขึนจึงไม่ควรสัมผัสอุปกรณ์เครื องใช้ไฟฟ้ า อันตรายจากไฟฟ้ าดูด
มีผลต่อมนุ ษย์แตกต่างกันไปตามขนาดกระแสไฟฟ้ าและสุ ขภาพร่ างกายของบุคคล ได้มีการศึกษาวิเคราะห์ผล
ของกระแสไฟฟ้ าทีมีต่อร่ างกายมนุษย์โดยใช้ค่าเฉลีย ค่าทีได้แตกต่างกันออกไปตามมาตรฐานการทดสอบตัวอย่างผล
ของกระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านร่ างการมนุ ษย์ไม่ได้ใช้เวลาเป็ นตัวแปรในการทดลอง ขนาดและอาการมี ดัง ตาราง
ที 1.1
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 12
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

ขนาดกระแส อาการทีเกิดขึน
500 mA ไม่รู้สึก
1A รู ้สึกถึงกระแสไฟฟ้ า
1-3 A รู ้สึกถึงกระแสไฟฟ้ า แต่ไม่เจ็บปวด
3-10 A รู ้สึกถึงความเจ็บปวด
สู งกว่า 10 A รู ้สึกถึงการเกร็ งของกล้ามเนื อ
สู งกว่า 30 A รู ้สึกถึงความขัดข้องของระบบหายใจ
สู งกว่า 75 A รู ้สึกถึงความขัดข้องของหัวใจ
สู งกว่า 250 A เกิดความขัดข้องของกล้ามเนื อหัวใจ

ตารางที 1.1 ตารางเปรี ยบเทียบขนาดและกระแสไฟฟ้ าที มีผลต่อร่ างกายมนุษย์

ปัจจัยของความรุ นแรงจากไฟฟ้าดูด
กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านร่ างกายเป็ นปั จจัยหนึ งของอันตรายเท่านัน ความจริ งแล้วตัวแปรทีสําคัญที
มีผลต่อความรุ นแรงมี 3 อย่าง คือ
1. ปริ มาณกระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านถ้าปริ มาณกระแสที ไหลผ่านร่ างกายสู งอันตรายก็จะสู งตาม
ไปด้วย ไฟฟ้ าแรงสู งจะทําให้กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านร่ างกายมีปริ มาณสู ง อันตรายจึงสู งกว่าไฟฟ้ าแรงตํา
2. ระยะเวลาทีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่ างกาย หากเวลานาน อันตรายก็จะสู งตามไปด้วย
3. เส้นทางทีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่ างกาย ดังนันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ าจะสู ง ถ้าเส้นทาง
การไหลของกระแสไฟฟ้ าผ่านหัวใจ
ไฟฟ้าดูดป้องกันได้
หลักพืนฐานของการป้ องกันอันตรายจากไฟดู ด คือการไม่สัมผัสส่ วนที มีไฟฟ้ า สําหรับผูท้ ี มี
ความรู ้ เรื องไฟฟ้ าก็จะต้องมีวิธีการ และใช้อุปกรณ์ ป้องกันที เหมาะสมในการใช้เครื องใช้ไฟฟ้ าเมือเรามีความ
จําเป็ นต้องสัมผัส ขณะทีเปลือกของเครื องใช้ไฟฟ้ ามีไฟอยู่ การป้ องกันที ดีคือการมีระบบสายดิ น หรื อเรี ยกว่า
การต่อเครื องใช้ไฟฟ้ าลงดิน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 13
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

การใช้เครื องตัดไฟฟ้ ารั ว จะสามารถป้ องกันอันตรายจากไฟดู ดได้เช่ นกัน แต่ ในการใช้งาน


จะต้องมันใจว่าเครื องตัดไฟรัวทํางานเป็ นปกติตามที ได้ออกแบบไว้เนื องจากเครื องตัดไฟรัวเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ า
เช่นกันอาจชํารุ ดได้ ในการใช้งานจึงต้องมีการทดสอบเป็ นประจําตามที ผผู ้ ลิตแนะนํา เครื องตัดไฟรัวจึงใช้เป็ น
อุปกรณ์ป้องกันเสริ มเท่านัน ในการใช้งานจําเป็ นต้องมีระบบสายดินด้วย จึงจะมั นใจได้วา่ ปลอดภัย และถ้าจะ
ให้การป้ องกันสมบูรณ์ยิงขึนก็คือการใช้งานร่ วมกันทังระบบสายดินและเครื องตัดไฟรัว

การช่ วยเหลือผู้ทีถูกไฟฟ้าดูด
ผูท้ ีจะช่ วยเหลื อผูท้ ี ประสบอันตรายจากไฟฟ้ าต้องรู ้ จกั วิธีที ถูกต้องในการช่ วยเหลื อ และต้องมี
ความรอบคอบ มีสติทีม ันคง ต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของตนเองด้วยเพราะถ้าเกิดพลาดพลังอาจทําให้ผทู ้ ีจะ
เข้าไปทําการช่ วยเหลื อได้รับอันตรายตามไปด้วย หรื ออาจทําให้ถึงกับเสี ยชี วิตได้ ซึ งในการช่ วยเหลื อให้ถือ
หลักปฏิบตั ิ ดังนี
1. อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผูท้ ี ติดอยู่กบั กระแสไฟฟ้ า เพราะจะทําให้ผทู ้ ี เข้าไปช่ วยเหลื อถูก
กระแสไฟฟ้ าดูดด้วย

ภาพที 1.7 อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูด


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 14
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

2. หากผูท้ ีถูกไฟดูดยังติดอยูก่ บั สายไฟ ให้ถอดปลักหรื อสับคัทเอาท์ลง เพือตัดแหล่งจ่ายไฟ

ภาพที 1.8 ถอดปลักหรื อสับคัทเอาท์ลง

3. ใช้ว ตั ถุ ที เ ป็ นฉนวน ไม่ เ ป็ นสื อไฟฟ้ า เช่ น ไม้แ ห้ ง ๆ สายยางพลาสติ ก แห้ ง ๆ หรื อ
หนังสื อพิมพ์ทีมว้ นเป็ นแท่ง เขียสายไฟฟ้ าให้หลุดจากตัวผูท้ ี ถูกไฟดูด หรื ออาจใช้เชื อกหรื อผ้าแห้งๆ คล้องดึง
ผูท้ ีถูกไฟฟ้ าดูดออกมา

ภาพที 1.9 ใช้วตั ถุที ไม่เป็ นสื อไฟฟ้ าเขียสายไฟให้หลุดจากตัวผูท้ ีถูกไฟดูด


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 15
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง
4. ถ้าเป็ นบริ เวณที มีนาํ ขังให้ใช้วตั ถุ ที ไม่เป็ นสื อไฟฟ้ าเขียสายไฟฟ้ าออกก่อนและทําการปฐม
พยาบาลเบืองต้น ก่อนนําส่ งโรงพยาบาล

ภาพที 1.10 การช่วยเหลือผูท้ ีถูกไฟดูดในบริ เวณทีมีนาํ ขัง


การปฐมพยาบาลผู้ทีถูกไฟฟ้าดูด
เมือได้ทาํ การช่วยเหลือผูป้ ระสบอันตรายมาได้แล้วจะด้วยวิธีใดก็ตาม หากปรากฏว่าผูเ้ คราะห์ร้าย
ทีช่วยออกมานันหมดสติไม่รู้สึกตัว หัวใจหยุดเต้น และไม่หายใจ ซึ งสังเกตได้จากอาการที เกิดขึนดังนี คือ ริ ม
ฝี ปากเขียว สี หน้าซี ดเขียวคลํา ทรวงอกเคลือนไหวน้อยมากหรื อไม่เคลื อนไหว ชี พจรบริ เวณคอเต้นช้าและเบา
มาก ถ้าหัวใจหยุดเต้นจะคลําชี พจรไม่พบ ม่านตาขยายค้างไม่หดเล็กลง หมดสติไม่รู้สึกตัว ต้องรี บทําการปฐม
พยาบาลทันที เพือให้ปอดและหัวใจทํางาน โดยวิธีการผายปอดด้วยการให้ลมทางปาก หรื อที เรี ยกว่า “เป่ าปาก”
ร่ วมกับการนวดหัวใจก่อนนําผูป้ ่ วยส่ งแพทย์
ขันตอนการปฐมพยาบาลผู้ทีถูกไฟฟ้าดูด
1. เขย่าตัวผูป้ ่ วยดูวา่ ยังมีหมดสติอยูห่ รื อไม่ และจับตัวให้นอนหงายราบบนพื นแข็ง

ภาพที 1.11 จับตัวให้นอนหงายราบบนพืนแข็ง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 16
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

2. ตรวจดูวา่ ผูป้ ่ วยยังหายใจอยูห่ รื อไม่และหากไม่หายใจ ถ้าหากหยุดหายใจต้องเป่ าปาก ให้ใช้


มือกดหน้าผากผูป้ ่ วยให้แหงนขึนและใช้มืออีกข้างหนึ งดันคางผูป้ ่ วยขึน

ภาพที 1.12 กดหน้าผากผูป้ ่ วยให้แหงนขึน

3. ให้เอานิ วชี กบั นิ วหัวแม่มือบีบจมูกผูป้ ่ วยให้แน่ น แล้วเป่ าลมหายใจเข้าปอดผูป้ ่ วยเต็มที 2


ครัง แล้วปล่อยให้ลมออก

ภาพที 1.13 บีบจมูกผูป้ ่ วยให้แน่น แล้วเป่ าลมหายใจเข้าปอดผูป้ ่ วย


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 17
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง
4. ถ้าหัวใจหยุดเต้น ต้องนวดหัวใจ ตรวจการเต้นของหัวใจผูป้ ่ วย โดยการคลําชีพจรทีคอหรื อที
ข้อมือของผูป้ ่ วยประมาณ 5 วินาที

ภาพที 1.14 การคลําชีพจรทีคอหรื อทีขอ้ มือของผูป้ ่ วย


5. ใช้ 2 นิ ววางเหนื อตําแหน่งลิ นปี วางส้นมือถัดจากตําแหน่งนิ วทังสอง ประสานมือซ้อนกัน
แล้วโน้มตัวเข้าหาผูป้ ่ วย เหยียดแขนทังสองข้างให้ตรงแล้วกดให้ตรงตําแหน่ง อัตราการนวดหัวใจ 30 ครัง
ต่อการเป่ าปาก 2 ครัง

ภาพที 1.15 วิธีการนวดหัวใจและเป่ าปากของผูป้ ่ วย


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 18
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

6. หากผูป้ ่ วยไม่หายใจและหัวใจหยุดเต้น ให้เป่ าปาก 2 ครัง สลับกับการนวดหัวใจ 30 ครัง


เท่ากับ 1 ชุด เป่ าปากสลับกับการนวดหัวใจครบ 4 ชุด ให้ประเมินอาการของผูป้ ่ วย 1 ครัง โดยการจับชีพจร

ภาพที 1.16 วิธีการปฐมพยาบาลกรณี ผปู ้ ่ วยไม่หายใจ

*** การปฐมพยาบาลต้ องทําทันทีทีช่วยผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูดออกมาและควรนําผู้ป่วยส่ งโรงพยาบาล ขณะนํา


ผู้ป่วยส่ งโรงพยาบาล จะต้ องทําการปฐมพยาบาลตามขันตอนดังกล่ าวตลอดเวลาจนกระทังถึงมือแพทย์ ***
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 19
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลอดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.5 คะแนน)


1. ข้อใดคือความหมายของไฟฟ้ าช้อต
ก. ส่ วนใดส่ วนหนึงของร่ างกายสัมผัสกับวงจรไฟฟ้ า ข. ฟิ วส์ขาดเพราะไฟฟ้ าช้อต
ค. กระแสไฟฟ้ าครบวงจรโดยไม่ผา่ นเครื องใช้ไฟฟ้ า ง. เบรกเกอร์ ตดั เพราะไฟฟ้ าช้อต
2. ข้อใดคือความหมายของไฟฟ้ าดูด
ก. ส่ วนใดส่ วนหนึงของร่ างกายสัมผัสกับวงจรไฟฟ้ า ข. ฟิ วส์ขาดเพราะไฟฟ้ าดูด
ค. กระแสไฟฟ้ าครบวงจรโดยไม่ผา่ นเครื องใช้ไฟฟ้ า ง. เบรกเกอร์ ตดั เพราะไฟฟ้ าดูด
3. ผลจากไฟฟ้ าลัดวงจรจะทําให้กระแสไฟฟ้ าในวงจรเป็ นแบบใด
ก. กระแสไฟฟ้ าไหลน้อยลง ข. กระแสไฟฟ้ าไหลปกติ
ค. กระแสไฟฟ้ าไม่ไหลเลย ง. กระแสไฟฟ้ าไหลมาก
4. กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านร่ างกายจนทําให้รู้สึกถึงความเจ็บปวดได้มีประปริ มาณกี แอมแปร์
ก. 1 ข. 1 - 3
ค. 3 - 10 ง. มากกว่า 10
5. ข้อใดไม่ใช่ขนั ตอนในการปฏิบตั ิเพือความปลอดภัยทางไฟฟ้ า
ก. ขันตอนการติดตัง ข. ขันตอนการปฏิบตั ิงาน
ค. ขันตอนการใช้งาน ง. ขันตอนการบํารุ งรักษา

6. ถ้าผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูดหัวใจหยุดเต้น จะทําการตรวจการเต้นของหัวใจโดยวิธีใด


ก. คลําชีพจร ข. ใช้หูแนบทีหวั ใจเพือฟังเสี ยง
ค. สังเกตการเปิ ดของเปลือกตา ง. ใช้มือคลําทีจมูก

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 20
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ความปลอดภัยในการทํางาน หัวข้ อวิชา ความปลดภัยในการทํางาน
งานย่ อยที 1 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

7. การช่วยเหลือผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูดวิธีใดไม่ถูกต้อง


ก. ตัดแหล่งจ่ายไฟโดยเร็ ว ข. ใช้ผา้ แห้งคล้องแล้วดึงผูถ้ ูกกระแสไฟฟ้ าดูดออก
ค. ใช้วสั ดุทีเป็ นฉนวนไฟฟ้ าเขียสายไฟฟ้ าออก ง. ใช้มือเปล่าจับแล้วดึงออกโดยเร็ ว

8. ข้อใดทีไม่เป็ นสื อไฟฟ้ า


ก. ท่อเหล็กเดินสายไฟฟ้ า ข. ท่อ พี วี ซี
ค. อลูมิเนียม ง. เหล็กเส้นก่อสร้าง
9. การตรวจชีพจรของผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูดทําโดยวิธีใด
ก. คลําทีหน้าท้อง ข. คลําทีขอ้ เท้า
ค. คลําทีคอหรื อข้อมือ ง. คลําทีหวั ใจ
10. การปฐมพยาบาลผูท้ ีถูกกระแสไฟฟ้ าดูดจนหมดสติทาํ โดยวิธีใด
ก. ให้ดมยาดมหรื อยาหม่อง ข. กรอกปากด้วยเหล้าให้เลือดไหลเวียนดีขึน
ค. ให้ลมหายใจทางปากหรื อเป่ าปาก ง. นวดทัวตัวเพือให้กล้ามเนือคลายตัว

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 21
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3: 0 ชั วโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายการต่อใช้งานไฟฟ้ าแรงแรงตําระบบ 3 เฟส 4 สาย และระบบ
1 เฟส 2 สาย ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถคํานวณหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้ าจากกฎของโอห์มได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายความหมายของหน่วยวัดปริ มาณทางไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอน : บรรยาย
หัวข้ อสํ าคัญ : - ระบบไฟฟ้ าแรงตํา 3 เฟส 4 สาย และระบบ 1 เฟส 2 สาย
- หน่วยวัดทางไฟฟ้ า
- กฎของโอห์ม
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
การมอบหมายงาน : ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้
การวัดผล :
ถาม – ตอบ และตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยน
หนังสื ออ้ างอิง :
Syutana@ratree.psu.ac.th. ระบบการจ่ ายแรงดันไฟฟ้าให้ แก่ ผ้ ใู ช้ ไฟในปัจจุบันของการไฟฟ้าฯ.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http:// homepage.eng.psu.ac.th/adm/akarn/electric-basic.htm . (วันทีคน้ ข้อมูล : 21 มิถุนายน 2555).
นายวัชรพงษ์ ยงไสว. กฏของโอห์ มและหน่ วยวัดทางไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric8.htm. (วัน ที ค ้น ข้อ มู ล : 21
มิถุนายน 2555).
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 22
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

ความรู้ พืนฐานเรืองระบบไฟฟ้า
1. มาตรฐานการออกแบบและติดตังระบบไฟฟ้า
มาตรฐานการออกแบบและติดตังระบบไฟฟ้ า มีความสําคัญยิง ทังนี เพือความปลอดภัย คงทน
ถาวร และเพือยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ ไฟฟ้ าต่างๆ ทีใช้อยูใ่ นระบบให้ยาวนานยิงขึน การติดตังระบบ
ไฟฟ้ า มีมาตรฐานกําหนดที แน่ นอน และมีหลายหน่ วยงาน เช่ น กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน สมาคม
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) การไฟฟ้ านครหลวง การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค
และหน่ วยงานจากต่างประเทศที ประเทศไทยนํามายึดถื อ เช่ น National Electric Code (NEC) American
National Standard Institute (ANSI) International Electrotechnical Commission (IEC) เป็ นต้น และหน่วยงาน
ทีรับรองมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ คือ สํานักผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม ทีรู้จกั กันในชือ มอก.

2. ศัพท์ เฉพาะ หรือคําจํากัดความ ด้ านระบบไฟฟ้า ทีควรรู้


2.1 ระบบไฟฟ้ าแรงสู ง คือ ระบบไฟฟ้ าทีมีแรงดันไฟฟ้ าเกิน 1,000 โวลต์
2.2 ระบบไฟฟ้ าแรงตํา คือ ระบบไฟฟ้ าทีมีแรงดันไฟฟ้ าไม่เกิน 1,000 โวลต์
2.3 โวลต์ (Volt) คือ หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้ า
2.4 แอมแปร์ (Amp) คือ หน่วยวัดกระแสไฟฟ้ า
2.5 วัตต์ (Watt) คือ หน่วยของกําลังไฟฟ้ าทีใช้จริ ง
2.6 หน่วย (Unit) คือ หน่วยของกําลังไฟฟ้ าทีใช้ต่อชัวโมง มีอุปกรณ์ทีใช้วดั คือ กิโลวัตต์ฮาว
เออร์ มิเตอร์ (Kwh)

3. ระบบการส่ งจ่ ายกําลังไฟฟ้า


หน่ วยงานทีรับผิดชอบด้านการผลิ ตและจําหน่ ายไฟฟ้ าในปั จจุบนั คือ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ ง
ประเทศไทย การไฟฟ้ านครหลวง การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค โดยการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต เป็ นผูผ้ ลิตไฟฟ้ าให้การไฟฟ้ า
นครหลวง และการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคไปจําหน่ าย การไฟฟ้ านครหลวง จะจําหน่ ายไฟฟ้ าให้ กทม. และ
ปริ มณฑล ส่ วนการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคจะจําหน่ายไฟฟ้ าให้กบั ต่างจังหวัดของทุกภาคในประเทศ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 23
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

ระบบไฟฟ้ าในภาคใต้ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตจะผลิตไฟฟ้ าที โรงไฟฟ้ า แล้วแปลงแรงดันไฟฟ้ าให้สูง


ถึง 230 กิโลโวลต์ (KV.) แล้วส่ งไปตามเมืองต่างๆ เข้าทีสถานี ไฟฟ้ าย่อย ของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค สถานี
ไฟฟ้ าย่อยจะปรับลดแรงดันไฟฟ้ าเหลือ 33 กิโลโวลต์ แล้วจ่ายเข้าในตัวเมือง และผูใ้ ช้ไฟฟ้ าต้องติดตังหม้อ
แปลง เพือลดแรงดันไฟฟ้ าให้เป็ นแรงตํา เพือนํามาใช้งานต่อไป

ระบบการจ่ ายแรงดันไฟฟ้าให้ แก่ ผ้ ใู ช้ ไฟในปัจจุบันของการไฟฟ้าฯ มีอยู่ 2 ระบบ คือ


1. ระบบแรงดันไฟฟ้าแบบ 1 เฟส 2 สาย (Single phase) ระบบแรงดันไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส 2
สาย คือการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าขนาดพิกดั 220 - 240 โวลต์ ระบบนีเหมาะสําหรับบ้านพักอาศัยทีตอ้ งการใช้กระแสไฟฟ้ า
จํานวนไม่มาก(แต่ไม่เกิน 100 แอมป์ ) ระบบนีมีการติดตังสายไฟฟ้ าสําหรับการใช้งานเพียง 2 เส้น คือ สายเส้นทีมี
กระแสไฟ (สาย Line หรื อ L) และสายเส้นทีไม่มีกระแสไฟฟ้ าหรื อสายเส้นศูนย์(สาย Neutron หรื อ N)

ภาพที 2.1 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส 2 สาย(Single phase)

2. ระบบแรงดันไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 4 สาย (Three phase) คือ การจ่ายแรงดันไฟฟ้ าขนาดพิกดั


380 - 400 โวลต์ ระบบนี เหมาะสําหรับบ้านพักอาศัยขนาดใหญ่ หรื อโรงงานอุตสาหกรรมที ตอ้ งการใช้
กระแสไฟฟ้ าจํานวนมากตังแต่ 100 แอมป์ ขึนไป และมีเครื องใช้ไฟฟ้ าหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าทีตอ้ งการต่อ
สายไฟฟ้ าใช้งาน 4 เส้น ระบบนีมีการติดตังสายไฟสําหรับใช้งาน 4 เส้น (ในขนาดทีเท่ากัน) โดยมีสายไฟ
ทีมีกระแสไฟฟ้ า 3 เส้น คือ สาย Line 1, สาย Line 2 และสาย Line 3 สายเส้นที 4 เป็ นสายเส้นทีไม่มี
กระแสไฟฟ้ า หรื อสายเส้นศูนย์ (สาย Neutron หรื อ N)
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 24
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

ภาพที 2.2 ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส 4 สาย(Three phase)

จากภาพการต่อสายไฟไปใช้งานทัง 2 ระบบ จะเห็นได้วา่ ในระบบ 3 เฟส 4 สายนันสามารถ


ต่อไฟฟ้ าใช้งานให้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ าได้ทงั 2 ประเภท คือ ทังประเภททีตอ้ งการใช้แรงดันไฟฟ้ าขนาด 380
โวลต์ และ 220 โวลต์ ได้ในเวลาเดียวกัน (ตามภาพที 2.2) แต่ในระบบ 1 เฟส 2 สาย สามารถต่อ
อุปกรณ์ไฟฟ้ าใช้งานได้เพียงขนาดแรงดันไฟฟ้ า 220 โวลต์ เพียงอย่างเดียวเท่านัน
4. เพาเวอร์ แฟคเตอร์ (Power Factor)
คือ อัตราส่ วนระหว่างกําลังไฟฟ้ าทีใช้จริ ง (วัตต์) กับกําลังไฟฟ้ าปรากฏ หรื อกําลังไฟฟ้ าเสมือน
(VA) ซึ งค่าทีดีทีสุด คือ มีอตั ราส่ วนที เท่ากัน จะมีค่าเป็ นหนึ ง แต่ในทางเป็ นจริ งไม่สามารถทําได้ ซึ งค่า
Power Factor เปลียนแปลงไปตามการใช้ LOAD ซึ ง Load ทางไฟฟ้ ามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
4.1 Load ประเภท Resistive หรื อความต้านจะมีค่า Power Factor เป็ นหนึ ง ได้แก่ หลอด
ไฟฟ้ าแบบไส้ เตารี ดไฟฟ้ า หม้อหุ งข้าว เครื องทํานําอุ่น เป็ นต้น ถ้าหน่วยงานหรื อองค์กรมี Load ประเภทนี
เป็ นจํานวนมาก ก็ไม่จาํ เป็ นทีจะต้องปรับปรุ งค่า Power Factor
4.2 Load ประเภท Inductive หรื อความเหนี ยวนําจะมีค่า Power Factor ไม่เป็ นหนึ ง ได้แก่
เครื องใช้ ไฟฟ้ าที ใ ช้ ข ดลวด เช่ น มอเตอร์ บัล ลาสท์ ข องหลอดฟลู ออเรสเซนต์ หลอดแกสดิ ส ชาร์ จ
เครื องปรับอากาศ เป็ นต้น จะเห็นได้วา่ หน่วยงานหรื อองค์กรส่ วนใหญ่จะหลีกเลียง Load ประเภทนีไม่ได้ และมี
เป็ นจํานวนมากซึ งจะทําให้ค่า Power Factor ไม่เป็ นหนึ ง และ Load ประเภทนี จะทําให้ค่า Power Factor ล้า
หลัง (Lagging) จําเป็ นทีจะต้องปรับปรุ งค่า Power Factor โดยการนํา Load ประเภทให้ค่า Power Factor
นําหน้า (Leading) มาต่อเข้าในวงจรไฟฟ้ าของระบบ เช่น การต่อชุด Capacitor Bank เข้าไปในชุดควบคุมไฟฟ้ า
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้าที 25
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

4.3 Load ประเภท Capacitive หรื อ Load ทีมีตวั เก็บประจุ (Capacitor) เป็ นองค์ประกอบ
Load ประเภทนี จะมีใช้นอ้ ยมาก จะมีค่า Power Factor ไม่เป็ นหนึ ง Load ประเภทนี จะทําให้ค่า Power
Factor นําหน้า (Leading) คือ กระแสจะนําหน้าแรงดัน จึงนิ ยมนํา Load ประเภทนี มาปรับปรุ งค่า Power
Factor ของระบบทีมีค่า Power Factor ล้าหลัง เพือให้ค่า Power Factor มีค่าใกล้เคียงหนึ ง

ข้ อดี ของการปรับปรุ ง ค่ า Power Factor


- กระแสไฟฟ้ าทีไหลในวงจรไฟฟ้ าลดลง
- หม้อแปลง และสายเมนไฟฟ้ า สามารถรับ Load เพิมได้มากขึน
- ลดกําลังงานสู ญเสี ยในสายไฟฟ้ าลง
- ลดแรงดันไฟฟ้ าตก
- เพิมประสิ ทธิ ภาพระบบไฟฟ้ าทังระบบ

5. หม้ อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ ไฟฟ้ า สําหรับแปลงแรงดันไฟฟ้ าให้สูงขึ น หรื อตําลง เพือให้
เหมาะสมกับงานที จะใช้ งานบางอย่างต้องการใช้แรงดันสู ง เช่ น การส่ งพลังงานไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ ามายัง
สถานี ย่อย ต้องใช้หม้อแปลงแรงไฟฟ้ าแรงสู ง แต่การใช้ในบ้านเรื อน หรื อโรงงานต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้ า
แรงดันตํา ซึ งหม้อแปลงมีหลายชนิด หลายขนาด เลือกใช้ตามความเหมาะสมของงาน

6. ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า
6.1 MDB. (Main distribution board) เป็ นตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้ าหลัก มี Main Circuit Breaker
เพือตัดต่อวงจรไฟฟ้ าทังหมดของอาคาร
6.2 SDB (Sub distribution board) เป็ นตูค้ วบคุมย่อย จ่ายกระแสไฟฟ้ าไปตามตู ้ PB หรื อ Load
Center หลายๆ ตูข้ ึนอยูก่ บั ขนาดของอาคาร
6.3 PB ( Panel board) หรื อ Load Center เป็ นแผง Circuit breaker ทีควบคุ มการจ่าย
กระแสไฟฟ้ าให้กบั เครื องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ มีหลายขนาดขึนอยูก่ บั จํานวนของ Load
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 26
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง
7. การต่ อลงดิน
การต่ อลงดิน คือ การใช้ตวั นําทางไฟฟ้ าต่อเข้ากับ วงจรไฟฟ้ า หรื อบริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าต่อเข้ากับพื น
โลกอย่างมันคง ถาวร การต่อลงดินมีวตั ถุประสงค์เพือลดอันตรายทีอาจจะเกิดกับบุคคล และลดความเสี ยหาย
ทีอาจจะเกิดกับเครื องใช้ไฟฟ้ าและระบบไฟฟ้ า
หน้ าทีหลักของสายดิน มีอยู่ 2 ประการ คือ
1. เมือเกิดแรงดันเกิน จะจํากัดแรงดันไฟฟ้ าของวงจร ไม่ให้สูงจนอาจทําให้เครื องใช้ไฟฟ้ า
เสี ยหาย และลดแรงดันไฟฟ้ าทีอาจเกิดขึนทีเครื องอุปกรณ์ไฟฟ้ า หรื อส่ วนประกอบ เนื องจากการรัว หรื อการ
เหนียวนํา เพือลดอันตรายจากบุคคลทีไปสัมผัส
2. เมือเกิดกระแสไฟฟ้ารั วลงดิน จะช่วยลดความเสี ยหายของเครื องอุปกรณ์ไฟฟ้ า หรื อระบบ
ไฟฟ้ า การต่อลงดินทีถูกต้องจะช่วยให้เครื องมือหรื ออุปกรณ์ป้องกันทํางานได้ตามที ออกแบบไว้
ชนิดของการต่ อลงดิน มีอยู่ด้วยกัน 3 แบบ คือ
1. การต่อลงดินของระบบไฟฟ้ า (System Grounding)
2. การต่อลงดินของเครื องอุปกรณ์ไฟฟ้ า (Equipment Grounding)
3. การต่อลงดินของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า (Lightning Grounding)
8. ระบบป้องกันฟ้าผ่ า
เป็ นระบบที ต้องมี ใ นระบบไฟฟ้ า โดยมาตรฐานการติ ดตัง เป็ นตัว บัง คับ ประเทศไทยใช้
มาตรฐานของ IEC เป็ นหลัก ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าจะประกอบด้วย ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร และ
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายในอาคาร ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า มีวตั ถุ ประสงค์เพื อป้ องกันความเสี ยหายต่างๆ ที จะเกิ ด
ขึนกับระบบไฟฟ้ า และบริ ภณั ฑ์ต่างๆ อันเนืองมาจากฟ้ าผ่า
9. อุปกรณ์ ตัดตอน หรืออุปกรณ์ ปลดวงจร
มีหน้าที ตด
ั วงจรไฟฟ้ าออกเมื อไม่ตอ้ งการให้มีกระไฟฟ้ าไหลในระบบ เช่ น การซ่ อมแซม และเพื อ
ป้ องกันอันตรายต่อระบบ เนื องมาจากการใช้กระแสไฟฟ้ าเกินพิกดั หรื อเกิดการลัดวงจร ปั จจุบนั ที ใช้ส่วน
ใหญ่ คือ ฟิ วส์ และเซอร์ กิตเบรกเกอร์ (CB) แต่การใช้งานและการออกแบบติดตังต้องใช้ขนาดและรู ปแบบที
เหมาะสมกับงาน เช่น การเลือกขนาด CB สู งเกินไป เมือเกิดปั ญหาหรื อกระแสไหลเกินพิกดั ของสายจะทําให้
ไม่ตดั วงจรและเกิดความเสี ยหายเกิดขึน เช่น สายไหม้ หรื ออันตรายต่อหม้อแปลงไฟฟ้ า เป็ นต้น
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 27
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง
10. กฎของโอห์ มและหน่ วยวัดทางไฟฟ้า
กฎของโอห์ ม
ในวงจรไฟฟ้ าใดๆ จะประกอบด้วยส่ วนสําคัญ 3 ส่ วน คือแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ า ตัวนํา
ไฟฟ้ าและตัวต้านทานหรื ออุ ปกรณ์ ไฟฟ้ าที จะต่อเข้าไปในวงจรไฟฟ้ า ดังนันความสําคัญของวงจรที จะต้อง
คํานึ งถึ งเมื อมี การต่อวงจรไฟฟ้ าใดๆ เกิ ดขึ น ทําอย่างไรจะไม่ให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเข้าไปในวงจรมาก
เกิ นไปซึ งจะทําให้อุปกรณ์ ไฟฟ้ าชํารุ ดเสี ยหายหรื อวงจรไหม้เสี ยหายได้ ยอร์ จ ซี มอน โอห์ม นักฟิ สิ กส์ ชาว
เยอรมัน ให้ความสําคัญของวงจรไฟฟ้ า และสรุ ปเป็ นกฎออกมาดังนี คือ

ภาพที 2.3 ยอร์ จ ซี มอน โอห์ม นักฟิ สิ กส์ชาวเยอรมัน

1. ในวงจรใดๆ กระแสไฟฟ้ าทีไหลในวงจรนันจะเป็ นปฏิภาคโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้ า

2. ในวงจรใดๆ กระแสไฟฟ้ าทีไหลในวงจรนันจะเป็ นปฏิภาคโดยกลับกับความต้านทานไฟฟ้ า

เมือรวมความสัมพันธ์ทงั 2 เข้าด้วยกัน และเมือ K เป็ นค่าคงทีของตัวนําไฟฟ้ า จะได้สูตร

เพราะว่า K มีค่าเท่ากับ 1
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 28
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

เพราะฉะนัน จะได้สูตร หรื อ


เมือ หมายถึง แปรผัน K หมายถึง ค่าคงที
ถ้าให้ความต้านทานไฟฟ้ าเท่าเดิ มต่ออยูก่ บั วงจรใดๆ แรงดันไฟฟ้ าทีเพิมขึนจะทําให้กระแสไฟฟ้ า
เพิมขึนตามความสัมพันธ์ซึงกันและกัน เช่น แรงดันไฟฟ้ า 20 โวลต์ ไฟฟ้ ากระแสตรงต่ออยูก่ บั ความต้านทาน
ไฟฟ้ า 20 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านวงจร 1 แอมแปร์ ดังภาพ (ก)

ภาพที 2.4 การเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ า ความต้านทานและแรงดันไฟฟ้ า


แต่ถา้ เปลียนเป็ นแรงดันไฟฟ้ า 40 โวลต์ กระแสไฟฟ้ าก็จะเพิมขึนตามทันที หรื อในทํานอง
เดียวกันถ้าความต้านทานไฟฟ้ าเปลี ยนแปลงไป แรงดันไฟฟ้ าคงที กระแสไฟฟ้ าจะเปลียนตามไปด้วย ดังภาพ (ข)
เราสามารถเปรี ยบเที ยบความสัมพันธ์เหล่านี กบั การไหลของนําในท่อนําประปา กล่าวคือให้
แรงดัน (E) เป็ นถังเก็บนําทีอยูใ่ นระดับสู ง ให้ความต้านทาน (R) เป็ นท่อประปา (ความต้านทานมากท่อจะมี
ขนาดเล็ก ความต้านทานน้อยท่อจะมีขนาดใหญ่) ให้กระแสไฟฟ้ า (I) เป็ นปริ มาณของนําทีเราต้องการใช้

ภาพที 2.5 เปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างการไหลของกระแสไฟฟ้ ากับนําประปา


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 29
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

การนํากฎของโอห์ มไปใช้

กระแสไฟฟ้ า (I) หน่วยวัดทีใช้ คือ แอมแปร์ (A)


แรงดันไฟฟ้ า (E) หน่วยวัดทีใช้ คือ โวลต์ (V)
ความต้านทานไฟฟ้ า (R) หน่วยวัดทีใช้ คือ โอห์ม (Ω)
11. หน่ วยวัดปริมาณทางไฟฟ้า
หน่ วยวัดไฟฟ้ าเบื องต้นที ช่างไฟฟ้ าจําเป็ นจะต้องรู ้ ไว้ ได้แก่ แรงเคลื อนไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า
ความต้านทานไฟฟ้ า กําลังไฟฟ้ า พลังงานไฟฟ้ า ความถี แรงม้า ซึ งแยกกล่าวได้ ดังนี
11.1. แรงดันไฟฟ้า (Voltage)
คือ ค่าความต่างศักย์ทางไฟฟ้ าระหว่างจุด 2 จุด เช่น สายเส้นไฟกับสายเส้นศูนย์ หรื อสายเส้น
ไฟกั บ สายเส้ น ไฟ แรงดั น ไฟฟ้ ามี ห น่ ว ยเป็ น โวลต์ (Volt) ใช้ ต ั ว ย่ อ ว่ า V แรงดั น ไฟฟ้ า 1
โวลต์ หมายถึง แรงดันทีทาํ ให้กระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ไหลผ่านเข้าไปในความต้านทาน 1 โอห์ม
แรงเคลือนไฟฟ้ า คือ แรงดันไฟฟ้ าทีเกิดจากการสะสมตัวของประจุไฟฟ้ าระหว่างจุดสองจุด ทํา
ให้อิเล็ ก ตรอนเคลื อนที จากประจุ ลบไปประจุ บวก ทํา ให้เกิ ดกระแสไฟฟ้ าไหลในวงจร หรื อแรงดันให้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทานของวงจร แรงเคลือนไฟฟ้ าเป็ นแรงเคลื อนจากแหล่งกําเนิ ดจ่ายไปยัง load
ส่ วนแรงดันไฟฟ้ า คือแรงทีตกคร่ อม (Voltage Drop) ที load แรงเคลือนไฟฟ้ า และแรงดันไฟฟ้ ามีหน่วยเป็ น
โวลต์ ใช้สัญลักษณ์เป็ น E
หน่ วยวัดค่ าของแรงดันไฟฟ้า
1,000 ไมโครโวลต์ (µV) = 1 มิลลิโวลต์ (mV)
1,000 มิลลิโวลต์ (mV) = 1 โวลต์ (V)
1,000 โวลต์ (V) = 1 กิโลโวลต์ (KV)
1,000 กิโลโวลต์ (KV) = 1 เมกกะโวลต์ (MV)
สู ตรคํานวณหาค่ าแรงดันไฟฟ้า
แรงดันไฟฟ้ า (E) = กระแสไฟฟ้ า (I) x ความต้านทานไฟฟ้ า (R) หรื อ E = I x R
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 30
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

11.2. กระแสไฟฟ้า (Current)


คือ อิเล็กตรอนที เคลื อนที จากอะตอมหนึ งไปสู่ อีกอะตอมหนึ งอย่างต่อเนื อง อิเล็กตรอนจะ
เคลื อนที จากวัตถุ ที มีประจุ ไฟฟ้ าลบ ไปยังวัตถุ ที มีป ระจุ ไ ฟฟ้ าบวก กระแสไฟฟ้ า มี หน่ วยวัดเป็ นแอมแปร์
(Ampere) ใช้ตวั ย่อว่า A กระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ คือ กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านตัวนําไฟฟ้ าสองตัวที วาง
ขนานกันมีระยะห่างกัน 1 เมตร แล้วทําให้เกิดแรงแต่ละตัวนําเท่ากับ 2 x 10-7 นิ วตันต่อเมตร สัญลักษณ์ทีใช้
แทนกระแสไฟฟ้ า คือ I
หน่ วยวัดค่ าของกระแสไฟฟ้า
1,000 ไมโครแอมแปร์ (µA) = 1 มิลลิแอมแปร์ (mA)
1,000 มิลลิแอมแปร์ (mA) = 1 แอมแปร์ (A)
1,000 แอมแปร์ (A) = 1 กิโลแอมแปร์ (KA)
1,000 กิโลแอมแปร์ (KA) = 1 เมกกะแอมแปร์ (MA)
สู ตรคํานวณหาค่ ากระแสไฟฟ้า

หรื อ

กระแสไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ


1. กระแสไฟฟ้าตรง (Direct Current) คือ ไฟฟ้ าทีมีทิศทางการไหลของอิเล็กตรอนไปใน
ทิศทางเดียวตลอด และมีการกําหนดขัวบวก ขัวลบไว้เป็ นทีแน่นอน ได้แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี

ภาพที 2.6 แสดงทิศทางการไหลของไฟฟ้ ากระแสตรง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 31
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
ยงานย่ อที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

2. กระแสไฟฟ้าสลับ (Alternating Current) คือ ไฟฟ้ าทีมีทิศทางการไหลของอิเล็กตรอนไป


ในทิศทางทีไม่แน่นอนเปลียนแปลงซําๆ กันตลอดเวลา

ภาพที 2.7 แสดงทิศทางการไหลของไฟฟ้ ากระแสสลับ

11.3 ความต้ านทานไฟฟ้า (Resistant)


คือ การต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ า ซึ งจะต้านการไหลของกระแสมากหรื อน้อยขึ นอยู่กบั
คุณสมบัติของวัตถุทีใช้ทาํ ถ้าวัตถุ มีความต้านทานมากกระแสจะผ่านได้นอ้ ย ถ้าวัตถุ มีความต้านทานน้อย
กระแสจะผ่านได้มาก ความต้านทานไฟฟ้ ามีหน่วยวัดเป็ นโอห์ม ใช้ตวั ย่อว่า Ω ความต้านทานไฟฟ้ า 1 โอห์ม
คือ ความต้านทานต่อกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ทีไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ าแล้วทําให้เกิดกําลังไฟฟ้ า 1 วัตต์
ความต้านทานไฟฟ้ า ใช้สัญลักษณ์ R

หน่ วยวัดค่ าของความต้ านทานไฟฟ้า


1,000 ไมโครโอห์ม (µΩ) = 1 มิลลิโอห์ม (mΩ)
1,000 มิลลิโอห์ม (mΩ) = 1 โอห์ม (Ω)
1,000 โอห์ม (Ω) = 1 กิโลโอห์ม (KΩ)
1,000 กิโลโอห์ม (KΩ) = 1 เมกกะโอห์ม (MΩ)
สู ตรคํานวณหาค่ าความต้ านทานไฟฟ้า

หรื อ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 32
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

11.4 กําลังไฟฟ้า (Electric Power)


กําลังไฟฟ้ า คือ อัตราการเปลี ยนแปลงพลังงาน หรื ออัตราการทํางาน มีหน่วยเป็ นวัตต์ (Watt)
ใช้อกั ษรย่อว่า W กําลังไฟฟ้ า ใช้สัญลักษณ์ P
กําลังไฟฟ้ามีด้วยกัน 3 อย่ าง คือ
1. กําลังไฟฟ้ าจริ ง มีหน่วยวัดเป็ น วัตต์ (Watt)
2. กําลังไฟฟ้ าแฝง มีหน่วยเป็ น วาร์ (VAR)
3. กําลังไฟฟ้ าปรากฏ มีหน่วยเป็ น โวลต์แอมป์ (VA)

หน่ วยวัดค่ าของกําลังไฟฟ้า


1,000 มิลลิวตั ต์ (mW) = 1 วัตต์ (W)
1,000 วัตต์ (W) = 1 กิโลวัตต์ (KW)
1,000 กิโลวัตต์ (KW) = 1 เมกกะวัตต์ (MW)
สู ตรคํานวณหาค่ ากําลังไฟฟ้า
P = EI
= I2R
=

เมือ P คือ กําลังไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น วัตต์


E คือ แรงเคลือนไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น โวลต์
I คือ กระแสไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น แอมแปร์
R คือ ความต้านทานไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น โอห์ม
11.5 พลังงานไฟฟ้า (Electrical Energy)
พลังงานไฟฟ้ า คือ กําลังไฟฟ้ าทีนาํ ไปใช้ในระยะเวลาหนึ ง พลังงานไฟฟ้ ามีหน่วยวัดเป็ น
วัตต์ -ชัวโมง หรื อยูนิต ใช้สัญลักษณ์ W พลังงานไฟฟ้ าวัดได้ดว้ ย วัตต์ฮาวเออร์ มิเตอร์ หรื อกิโลวัตต์ฮาวเออร์
มิเตอร์ (KWh Meter) ซึ งเป็ นมิเตอร์ วดั พลังงานไฟฟ้ าทีใช้ตามบ้าน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 33
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

หน่ วยวัดค่ าของพลังงานไฟฟ้า


1,000 วัตต์-ชัวโมง = 1 กิโลวัตต์-ชัวโมง
= 1 ยูนิต
สู ตรคํานวณหาค่ าพลังงานไฟฟ้า
W = Pt
= EIt
เมือ W คือ พลังงานไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น วัตต์-ชัวโมง (Wh )
P คือ กําลังไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น วัตต์ (W)
E คือ แรงเคลือนไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น โวลต์ (V)
I คือ กระแสไฟฟ้ า มีหน่วยวัดเป็ น แอมแปร์ (A)
t คือ เวลา มีหน่วยวัดเป็ น ชัวโมง (h)

11.6. ความถี (Frequency)


คือ จํานวนรอบของขดลวดวิงตัดผ่านกับสนามแม่เหล็กของเครื องกําเนิ ดไฟฟ้ ากระแสสลับต่อ
วินาที มีหน่วยเป็ น Hertz ( Hz)
1 Hz = 1 รอบ/วินาที หมายความว่าลูกคลืนจะเป็ นบวก 1 ครัง เป็ นลบ 1 ครัง ดังภาพที 2.8

ภาพที 2.8 แสดงทิศทางการไหลของไฟฟ้ ากระแสสลับ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 34
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

11.7. รอบ (Cycle)


คือ การเปลียนแปลงครบ 360 องศา ซึ งเป็ นการเปลียนแปลงค่าบวก และค่าลบได้สมบูรณ์ใน
หนึงครังของเครื องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ

11.8. แรงม้ า (Horse Power)


แรงม้า หรื อกําลังม้า เป็ นหน่วยวัดกําลังหรื ออัตราการทํางาน โดยกําหนดว่า 1 แรงม้า คือ
อัตราการทํางานได้ 550 ฟุต-ปอนด์ต่อวินาที 1 แรงม้า มีค่าเท่ากับ 745.5 วัตต์ (746 วัตต์)

ภาพที 2.9 แสดงการเปรี ยบเทียบแรงม้า


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 35
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง
คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.25 คะแนน)
1. ระบบไฟฟ้ าแรงสู ง คือ ระบบไฟฟ้ าทีมีแรงดันไฟฟ้ ากีโวลต์
ก. ไม่เกิน 1,000 โวลต์ ข. เกิน 1,000 โวลต์
ค. 1,000 โวลต์ พอดี ง. 500 โวลต์ ขึนไป
2. ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าให้แก่ผใู ้ ช้ไฟในปั จจุบนั ของการไฟฟ้ าฯ มีอยูก่ ี ระบบ อะไรบ้าง
ก. 2 ระบบ คือ 1 เฟส 2 สาย กับ 3 เฟส 3 สาย ข. 1 ระบบ คือ 3 เฟส 4 สาย
ค. 2 ระบบ คือ 1 เฟส 2 สาย กับ 3 เฟส 4 สาย ง. 1 ระบบ คือ 1 เฟส 2 สาย
3. ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย สามารถต่อใช้งานได้กีแบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ คือ 380 โวลต์ กับ 220 โวลต์ ข. 1 แบบ คือ 380 โวลต์ เท่านัน
ค. 2 แบบ คือ 380 โวลต์ กับ 660 โวลต์ ง. 1 แบบ คือ 220 โวลต์ เท่านัน
4. หม้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีใช้สาํ หรับงานแบบใด
ก. รักษาระดับแรงดันไฟฟ้ าให้คงที ข. แปลงกระแสไฟฟ้ าให้สูงขึน หรื อตําลง
ค. รักษาระดับกระแสไฟฟ้ าให้คงที ง. แปลงแรงดันไฟฟ้ าให้สูงขึน หรื อตําลง
5. ตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้ า MDB เป็ นตูค้ วบคุมประเภทใด
ก. เป็ นตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้ าทังหมด ข. เป็ นตูค้ วบคุมย่อย จ่ายกระแสไฟฟ้ าไปตามจุดใช้งาน
ค. เป็ นแผงจ่ายไฟฟ้ าใช้งานเฉพาะจุด ง. เป็ นตูค้ วบคุมประเภทโหลดเซ็นเตอร์
6. คําว่า MDB ย่อมาจากคําว่าอะไร
ก. Multi desktop board ข. Mother distribution board
ค. Main distribution board ง. Main desktop board
7. ในวงจรใดๆ ถ้ากําหนดให้แหล่งจ่ายมีแรงดันไฟฟ้ า 50 โวลต์ มีความต้านทาน 10 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าที
ไหลในวงจรมีค่าเท่าใด
ก. 5 วัตต์ ข. 5 แอมแปร์
ค. 5 ยูนิต ง. 5 โอห์ม

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 36
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

8. ในวงจรใดๆ ถ้ากําหนดให้มีกระไฟฟ้ า 50 แอมป์ ไหลผ่านความต้านทาน 4 โอห์ม แรงดันไฟฟ้ าที


แหล่งจ่ายมีค่าเท่าใด
ก. 0.08 โวลต์ ข. 12.50 โวลต์
ค. 150 โวลต์ ง. 200 โวลต์
9. หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้ าเรี ยกว่าอะไร
ก. โอห์ม ข. แอมแปร์
ค. โวลต์ ง. วัตต์
10. การเคลือนทีของอิเล็กตรอนไปในตัวนําไฟฟ้ าจากอะตอมหนึ งไปสู่ อีกอะตอมหนึ ง เรี ยกว่าอะไร
ก. การเกิดความต้านทานไฟฟ้ า ข. การเกิดแรงดันไฟฟ้ า
ค. การเกิดกําลังไฟฟ้ า ง. การเกิดกระแสไฟฟ้ า
11. อิเล็กตรอนมีทิศทางการเคลื อนทีจากประจุใด ไปสู่ ประจุใด
ก. จากประจุลบไปสู่ ประจุบวก ข. จากประจุบวกไปสู่ ประจุลบ
ค. มีทงั ลบไปบวก และบวกไปลบ ง. ถูกทุกข้อ
12. กระแสไฟฟ้ ามีกีชนิด อะไรบ้าง
ก. 2 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าลบและกระแสไฟฟ้ าบวก ข. 1 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าสลับ
ค. 2 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าตรงและกระแสไฟฟ้ าสลับ ง. 1 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าตรง
13. ความต้านทานไฟฟ้ าคืออะไร
ก. การต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ า ข. ค่าความต่างศักย์ทางไฟฟ้ าระหว่างจุดสองจุด
ค. การเคลือนทีของอิเล็กตรอน ง. อัตราการเปลียนแปลงทางไฟฟ้ า

14. 1 กิโลวัตต์ มีค่าตรงกับข้อใด


ก. 1,000 มิลลิวตั ต์ ข. 100 วัตต์
ค. 10,000 มิลลิวตั ต์ ง. 1,000 วัตต์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 37
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ทฤษฎีไฟฟ้า หัวข้ อวิชา ทฤษฎีไฟฟ้ า
งานย่ อยที 2 เวลา 3 : 0 ชั วโมง

15. พลังงานไฟฟ้ ามีหน่วยวัดเรี ยกว่าอะไร


ก. ยูนิต ข. วัตต์ - ชัวโมง
ค. กิโลวัตต์ - ชัวโมง ง. ถูกทุกข้อ
16. บ้านหลังหนึง ใช้หลอดไฟขนาด 40 วัตต์ 2 ดวง และขนาด 20 วัตต์ 2 ดวง เปิ ดใช้พร้อมกันวันละ 4
ชัวโมง เป็ นระยะเวลา 1 เดือน จงหาค่าปริ มาณการใช้ไฟฟ้ าว่าเป็ นกี หน่วย
ก. 14.4 ยูนิต ข. 14.4 กิโลวัตต์ - ชัวโมง
ค. 144 ยูนิต ง. ถูกทัง ก และ ข
17. ความถีไฟฟ้ า 50 Hertz หมายความว่าอย่างไร
ก. การทีสนามแม่เหล็กของเครื องกําเนิดไฟฟ้ าวิงตัดกับขดลวดเป็ นบวก 25 ครัง เป็ นลบ 25 ครัง
ข. การทีสนามแม่เหล็กของเครื องกําเนิดไฟฟ้ าวิงตัดกับขดลวดเป็ นบวก 50 ครัง เป็ นลบ 50 ครัง
ค. การทีสนามแม่เหล็กของเครื องกําเนิดไฟฟ้ าวิงตัดกับขดลวดเป็ นบวก 30 ครัง เป็ นลบ 20 ครัง
ง. ผิดทุกข้อ
18. 1 แรงม้า มีค่าเท่ากับกีวตั ต์
ก. 476 ข. 746
ค. 647 ง. 764

19. มอเตอร์ ตวั หนึงมีกาํ ลังไฟฟ้ าเท่ากับ 37.3 kW มีค่าเท่ากับกีแรงม้า


ก. 5 ข. 25
ค. 50 ง. 75

20. 1 แรงม้า คือ อัตราการทํางานได้กีฟุต - ปอนด์ต่อวินาที


ก. 5.5 ข. 55
ค. 550 ง. 5,500

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 38
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถบอกชือสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถสามารถอ่านแบบการควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถนําสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ต่างๆ มาเขียนแบบวงจรการควบคุมมอเตอร์
อย่างได้ถูกต้อง
วิธีการสอน : 1. บรรยาย
2. สาธิ ต
3. ดูรูปภาพ และฝึ กปฏิบตั ิจากของจริ ง
หัวข้ อสํ าคัญ : - การอ่านแบบ – เขียนแบบการควบคุมมอเตอร์
- สัญลักษณ์และความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ ในการควบคุมมอเตอร์
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
การมอบหมายงาน :
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้ และตอบคําถามในใบทดสอบ
การวัดผล :
ตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
หนังสื ออ้ างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ไพฑูรย์ ถินสู ง. การควบคุมมอเตอร์ ดว้ ยระบบวงจรไฟฟ้ า. พิมพ์ครังที กพร.1/2548. กรุ งเทพฯ :
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรู ปแบบการฝึ ก. สํานักพัฒนาผูฝ้ ึ กและเทคโนโลยีการฝึ ก.
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน, 2548.
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 39
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า


ในการออกแบบทางไฟฟ้ า นอกเหนื อจากความรู ้ในการคํานวณค่าต่างๆ ทางวิศวกรรมแล้ว ยัง
จําเป็ นจะต้องมีมาตรฐานเข้ามาเกี ยวข้องเพือใช้สําหรับอ้างอิงอีกมาก มาตรฐานทีเกียวข้องนันอาจแบ่งออกเป็ น
2 ส่ วน ดังนี

1. มาตรฐานของเครืองอุปกรณ์ ต่างๆ
มาตรฐานของเครื องอุปกรณ์ หมายถึ ง ข้อกําหนดคุ ณภาพและคุ ณสมบัติ หรื อลักษณะสมบัติ
ของเครื องอุปกรณ์ เพื อให้เกิ ดความปลอดภัยในการนําไปใช้งานและมี อายุการใช้งานยาวนาน สิ งสําคัญอี ก
ประการคือ อุปกรณ์ไฟฟ้ าบางประเภททีเป็ นชนิดเดียวกันแต่ต่างบริ ษทั ผูผ้ ลิต ต้องสามารถนํามาใช้งานแทนกัน
ได้ เพือความสะดวกในการใช้งาน เช่น ฟิ วส์ หลอดไฟฟ้ า เต้ารับ และเต้าเสี ยบ เป็ นต้น

2. มาตรฐานการติดตัง
การติดตังทางไฟฟ้ าเพือให้เกิดความปลอดภัยในการใช้งานต้องมีมาตรฐานควบคุม และเป็ นการ
ป้ องกันการเกิดความสับสนว่าการติดตังแบบใดถูกต้อง ซึ งในแต่ละประเทศได้มีความพยายามกําหนดมาตรฐาน
ของตนเองขึ นมา ไม่ว่าจะเป็ นมาตรฐานการติดตังหรื อมาตรฐานการผลิตเครื องอุปกรณ์ ไฟฟ้ าก็ตาม เพราะใน
แต่ละประเทศมาตรฐานอาจแตกต่างกันออกไป สําหรับประเทศไทยก็มีหน่วยงานที ทาํ หน้าทีกาํ หนดมาตรฐาน
เช่นกัน เช่น มาตรฐานของเครื องอุปกรณ์และเครื องใช้ต่างๆ กําหนดโดยสํานักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ส่ วนมาตรฐานการติดตังทางไฟฟ้ า จัดทําขึ นโดยสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศ
ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยยึดแนวทางของ NEC (National Electrical Code) ของประเทศสหรัฐอเมริ กา
โดยมีการเปลียนแปลงในบางส่ วนเพือให้เหมาะสมกับสภาพของประเทศไทย

ปั จ จุ บ ัน เครื อ งอุ ป กรณ์ ที ใ ช้ใ นประเทศไทยมี แ หล่ ง ผลิ ต มาจากหลายประเทศ ผูท้ ี ท าํ หน้า ที
ออกแบบหรื อตรวจสอบควรทําความรู ้จกั กับมาตรฐาน และชื อสถาบันทีกาํ หนดมาตรฐานไว้บา้ ง ดังตัวอย่างที
แสดงในตารางที 3.1
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 40
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
ตารางที 3.1 ตัวอย่างชื อสถาบันทีกาํ หนดมาตรฐาน
ชื อย่ อ ชือเต็ม
NEC National Electrical Code
ANSI American National Standard Institute
ASTM American Society for Testing and Material
NEMA National Electrical Manufacturers Association
UL Underwriter Laboratory
NFPA National Fire Protection Association Standard
IEEE Institute of Electrical and Electronics Standard
IEC International Elctrotechnical Committee
BS British Standard
DIN Deutsches Institut fur Normung e.v.
VDE Verband Deutsches Elektrotechniker e.v.
CEI Comitato Elettrotecnico Italiano
สมอ. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ตารางที 3.2 ตัวอย่างสัญลักษณ์และเครื องหมายบนอุปกรณ์ไฟฟ้ า


สั ญลักษณ์ บนอุปกรณ์ ไฟฟ้า รายละเอียด
มาตรฐานอังกฤษ (British Standard Intitute)

มาตรฐานแคนาดา (Canadian Standard Association)

มาตรฐานเยอรมัน (Deutsches Institut fur Normung e.v.)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 41
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.2 (ต่อ) ตัวอย่างสัญลักษณ์และเครื องหมายบนอุปกรณ์ไฟฟ้ า


สั ญลักษณ์ บนอุปกรณ์ ไฟฟ้า รายละเอียด

มาตรฐานนานาชาติ (International Elctrotechnical Committee)

มาตรฐานญีปุ่น (Japanese Industrial Standard)

มาตรฐานของสมาคมผูผ้ ลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ า (The National


Electrical Manufacturers Association)
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (Thai Industrial Standard
Institute)

มาตรฐานยูแอล (Underwriter Laboratory)

มาตรฐานเยอรมัน (Verband der Elektrotechnik Elektronik


Informationstechnik e.v)

มาตรฐานบางมาตรฐานจะเกี ยวข้องกับเครื องอุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น ANSI NEMA UL และ


มอก. บางมาตรฐานจะเกี ยวข้องกับการติดตัง เช่น NEC บางมาตรฐานจะเกี ยวข้องทังมาตรฐานการติดตังและ
เครื องอุปกรณ์ เช่น IEC เป็ นต้น

ดัชนีแสดงค่ ามาตรฐานการป้องกัน (Degree of Protection)


เป็ นการกําหนดค่าความสามารถในการป้ องกันการสัมผัสส่ วนที มีไฟฟ้ าทีเป็ นอันตรายต่อบุคคล
ทังจากการสัมผัสส่ วนทีมีไฟฟ้ าโดยตรงหรื อโดยการใช้วสั ดุสอดใส่ เข้าไปในเครื องอุปกรณ์ไฟฟ้ า และยังเป็ นตัว
แสดงค่าความสามารถในการป้ องกันความเสี ยหายจากของเหลวเข้าไปในตัวเครื องอุปกรณ์ไฟฟ้ าอีกด้วย การ
แสดงค่าความสามารถในการป้ องกันจะกําหนดเป็ นค่าตัวเลขหลังอักษร IP
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 42
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

ค่าความสามารถในการป้ องกัน (Index of Protection : IP) กําหนดโดยมาตรฐาน IEC 529


และ มอก. 513 กําหนดเป็ นตัวเลข 2 หรื อ 3 หลัก หลังตัวอักษร IP แต่โดยทัวไปนิ ยมกําหนดเพียง 2 หลัก
เท่านัน ความหมายของแต่ละหลักแสดงไว้ในตารางที 3.3 ซึ งมีความหมายดังนี

ตารางที 3.3 ดัชนีแสดงค่ามาตรฐานการป้ องกันตามมาตรฐาน IEC และ มอก.


รหัสตัวแรกแสดงความสามารถในการป้องกัน รหัสตัวทีสองแสดงความสามารถในการป้องกัน
รหัส
วัตถุ(ของแข็ง)เล็ดลอดเข้ าภายใน ของเหลวเข้ าไปทําความเสี ยหาย
0 ไม่มีการป้ องกัน ไม่มีการป้ องกัน
สามารถป้ องกันของแข็งทีมีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า
1 สามารถป้ องกันนําทีตกลงมาในแนวดิงได้
50 มม. ทีมากระทบไม่ให้ผา่ นลอดเข้าไปข้างในได้
สามารถป้ องกันของแข็งทีมีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า สามารถป้ องกันนําทีตกลงมาในแนวดิ งได้ และในแนวที
2
12 มม. ทีมากระทบไม่ให้ผา่ นลอดเข้าไปข้างในได้ ทํามุม 15๐ กับแนวดิงได้
สามารถป้ องกันของแข็งทีมีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า สามารถป้ องกันนําฝนที ตกลงมาในแนวทํามุม 60๐ กับ
3
2.5 มม. ทีมากระทบไม่ให้ผา่ นลอดเข้าไปข้างในได้ แนวดิงได้
สามารถป้ องกันของแข็งทีมีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า
4 สามารถป้ องกันหยดนําหรื อนําทีสาดมาจากทุกทิศทางได้
1 มม. ทีมากระทบไม่ให้ผา่ นลอดเข้าไปข้างในได้
5 สามารถป้ องกันฝุ่ นได้ สามารถป้ องกันนําทีถูกฉี ดมาตกกระทบในทุกทิศทางได้
สามารถป้ องกันความเสี ยหายทีเกิ ดจากการฉี ดนํา
6 สามารถป้ องกันฝุ่ นได้อย่างสมบูรณ์
อย่างรุ นแรงเข้ามาทุกทิศทางได้
7 สามารถป้ องกันความเสี ยหายทีเกิดจากนําท่วมได้
8 สามารถป้ องกันความเสี ยหายทีเกิดจากนําท่วมอย่างถาวรได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 43
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

เครืองหมายมาตรฐานสํ าหรับผลิตภัณฑ์
สํานัก งานมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ใ ห้การรั บรองคุ ณภาพผลิ ตภัณฑ์โดย
อนุญาตให้แสดงเครื องหมายกับผลิตภัณฑ์ทีมีคุณภาพตามมาตรฐานประเภทต่างๆ รวม 5 เครื องหมาย คือ
1. เครื องหมายมาตรฐานทัว ไป เป็ นมาตรฐานที กาํ หนดให้เพื อการรั บรองคุ ณภาพผลิ ตภัณฑ์
สามารถยืนขอใบอนุ ญาตแสดงเครื องหมายมาตรฐานได้ดว้ ยความสมัครใจ เมื อ สมอ. ได้ตรวจสอบโรงงาน
กรรมวิธี ก ารผลิ ต และทดสอบผลิ ตภัณฑ์ ว่า เป็ นไปตามเกณฑ์ที ก าํ หนดแล้ว สมอ. ก็ จะอนุ ญาตให้แสดง
เครื องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์นนั ได้

ภาพที 3.1 แสดงเครื องหมายมาตรฐานทัวไป


2. เครื องหมายมาตรฐานบังคับ เป็ นมาตรฐานทีกาํ หนดขึนเพือความปลอดภัย และเพือป้ องกัน
ความเสี ยหายทีอาจจะเกิดกับประชาชน หรื อกิจการอุตสาหกรรม หรื อเศรษฐกิจของประเทศ โดยการตราพระ
ราชกฤษฎีกากําหนดให้ผลิ ตภัณฑ์นันๆ ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานหรื อที เรี ยกว่า มาตรฐานบังคับ ซึ งผูผ้ ลิต ผู ้
จําหน่ ายและผูน้ าํ เข้า จะต้องผลิ ต จําหน่ ายและนําเข้าแต่ละผลิ ตภัณฑ์ที ได้มาตรฐานตามที สมอ. ประกาศ
กําหนดเท่านัน หากไม่ปฏิบตั ิตามจะมีความผิดทางกฎหมาย

ภาพที 3.2 แสดงเครื องหมายมาตรฐานบังคับ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 44
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

3. มาตรฐานเครืองหมายเฉพาะด้ านความปลอดภัย เป็ นมาตรฐานทีกาํ หนดขึนสําหรับผลิตภัณฑ์


บางชนิ ด ที ตอ้ งคํานึ งถึ งความปลอดภัยในการใช้งานเป็ นสําคัญ เพื อเป็ นการรับประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์และ
สร้างความมันใจในความปลอดภัยให้กบั ผูใ้ ช้งาน เช่ น ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้ า โดยผลิ ตภัณฑ์ที ผ่านการตรวจสอบ
แล้วจะแสดงเครื องหมายเฉพาะด้านความปลอดภัย ดังแสดงในภาพที 3.3

ภาพที 3.3 แสดงเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย

4. มาตรฐานเครืองหมายเฉพาะด้ านสิ งแวดล้ อม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ได้


ประกาศกํา หนดมาตรฐานด้า นสิ งแวดล้อ มขึ น มา เพื อให้ ก ารรองรั บ ผลิ ตภัณฑ์ที มี คุ ณ สมบัติใ นการรั ก ษา
สิ งแวดล้อม ตามมาตรฐานที สมอ. กําหนดขึน เครื องหมายมาตรฐานนี เป็ นทังมาตรฐานบังคับและมาตรฐาน
ทัวไป ในกรณี เป็ นมาตรฐานบังคับ กฎหมายบังคับให้ผผู ้ ลิต ผูน้ าํ เข้าและผูจ้ าํ หน่ าย จะต้องผลิ ต นําเข้าและ
จําหน่ ายเฉพาะผลิ ตภัณฑ์ที เป็ นไปตามมาตรฐานเท่านัน โดยผลิ ตภัณฑ์ที ผ่านการตรวจสอบแล้วสามารถนํา
เครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ งแวดล้อมมาแสดงทีตวั ผลิตภัณฑ์ได้ สัญลักษณ์ดงั แสดงในภาพที 3.4

ภาพที 3.4 แสดงเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ งแวดล้อม


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 45
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

5. เครืองหมายมาตรฐานเฉพาะด้ านความเข้ ากันได้ ทางแม่ เหล็กไฟฟ้า


จะกล่าวว่าในปั จจุบนั เป็ นยุคของเทคโนโลยีทางด้านอิเล็กทรอนิ กส์ ก็ไม่น่าจะแปลกนัก ดังนัน
สมอ. จึงได้ประกาศกําหนดมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้า กันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้ าขึนมา เพือให้การรับรอง
ผลิ ตภัณฑ์ทีมีคุณสมบัติของความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้ าว่าเป็ นไปตามที สมอ. กําหนดขึนหรื อไม่ เช่ น
ชินส่ วนคอมพิวเตอร์ เครื องหมายมาตรฐานนี เป็ นทังมาตรฐานบังคับ และมาตรฐานทัวไป กรณี ทีเป็ นกฎหมาย
บังคับ กฎหมายบังคับให้ผูผ้ ลิ ต ผูน้ าํ เข้าและผูจ้ าํ หน่ าย จะต้องผลิ ต นําเข้าและจําหน่ ายเฉพาะผลิ ตภัณฑ์ที
เป็ นไปตามมาตรฐานเท่านัน โดยผลิ ตภัณฑ์ทีผ่านการตรวจสอบแล้วสามารถนําเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะ
ด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้ ามาแสดงที ตวั ผลิตภัณฑ์ได้ สัญลักษณ์ มีลกั ษณะเป็ นรู ปตัวเอส (S) และมี
อักษรภาษาอังกฤษคําว่า EMC อยูต่ รงกลาง ดังแสดงในภาพที 3.5

ภาพที 3.5 แสดงเครื องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้ า

สั ญลักษณ์ ทีใช้ ในการเขียนแบบงานควบคุมมอเตอร์

สัญลักษณ์ทีใช้ในการเขียนแบบงานควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ านันมีทงั ระบบควบคุมด้วยมือ (Manual)


และระบบอัตโนมัติ (Automatic) โดยใช้สวิทช์แม่เหล็กไฟฟ้ า (Magnetic Switch) ซึ งในแต่ละประเทศก็มีการ
ใช้สัญลักษณ์ทีแตกต่างกันออกไป แต่ในที นีจะกล่าวถึงสัญลักษณ์ ทีใช้ในงานควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ าของระบบ
DIN ประเทศเยอรมัน รู ปสัญลักษณ์ดงั แสดงในตารางที 3.4
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 46
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.4 ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703

สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)

คอนแทคปกติเปิ ด (Normally Open / NO)

คอนแทคปกติปิด (Normally Close / NC)

คอนแทคปรับได้ 2 ทาง

ทํางานร่ วมแกนเดียวกัน
ต่อถึงช่วงสันๆ
ช่วงเวลาทํางาน เช่น 12 ครังต่อนาที
รอเวลาเคลือนทีไปทางขวา
รอเวลาเคลือนทีไปทางซ้าย
รอเวลาเคลือนทีไปทางซ้ายและขวา
การทํางานด้วยการกด (ลักษณะทัวๆ ไป)
ทํางานด้วยการกดลง
ทํางานด้วยการดึงขึน
ทํางานด้วยการหมุน
ทํางานด้วยการผลักหรื อกด
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 47
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.4 (ต่อ)ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703

สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)


ทํางานด้วยเท้า
สามารถถอดด้ามถือออกได้
ทํางานด้วยแรงดันหรื อกด

ทํางานด้วยแรงดันหรื อกด ตัวอย่างถูกทํางานด้วย CAM ซึ ง


มี 3 ตําแหน่ง

ทํางานแบบล็อค
ทํางานแบบล็อคทางเดียว
ทํางานแบบล็อคได้สองทาง
ทํางานด้วยแรงกล (ลักษณะทัวๆ ไป)
ทํางานด้วยอุณหภูมิ
ทํางานด้วยแรงดัน (Pressure)
ทํางานด้วยลูกสู บ

สวิทช์ทีทาํ งานโดยการปลด (Disconnecting switch)

สวิทช์ทีทาํ งานโดยการตัดของฟิ วส์


(Fuse disconnecting switch)
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 48
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.4 (ต่อ)ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703


สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)
สวิทช์ทีทาํ การเปลียนทิศทาง หรื อหยุดโดยภาระ
(Load break switch)

สวิทช์ทีทาํ การเปลียนทิศทาง, หยุด หรื อปลดโดยภาระ


(Disconnecting load break switch)

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ (Circuit breaker)

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทาํ งานโดยการปลด


(Disconnecting circuit breaker)

อุปกรณ์ตดั วงจรเมือกระแสเกิน (Over current protection)


อุปกรณ์ตดั วงจรเมือกระแสตํา (Under current protection)
อุปกรณ์ตดั วงจรเมือกระแสวิงกลับทาง
อุปกรณ์ตดั วงจรเมือกระแสรัว
อุปกรณ์ตดั วงจรเมือแรงดันเกิน (Over voltage protection)
อุปกรณ์ตดั วงจรเมือแรงดันตํา (Under voltage protection)
อุปกรณ์ตดั วงจรเมือแรงดันรัว
อุปกรณ์ตดั วงจรเมือภาระเกิน (Overload)
อุปกรณ์กาํ ลังทํางาน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 49
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
ตารางที 3.4 (ต่อ)ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703
สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)
รี เลย์กาํ ลังทํางาน

ทํางานด้วยขดลวดสนามแม่เหล็ก (Coil)

คอนแทคปกติปิด รอเวลาเปิ ดของรี เลย์ตงั เวลาชนิ ดจ่ายไฟเข้า


คอยล์ตลอดเวลา

คอนแทคปกติปิดของรี เลย์ตงั เวลา รอเวลาปิ ดหลังจากตัดไฟออก

คอนแทคปกติเปิ ด รอเวลาปิ ดของรี เลย์ตงั เวลาชนิ ดจ่ายไฟเข้า


คอยล์ตลอดเวลา

คอนแทคปกติเปิ ดของรี เลย์ตงั เวลา รอเวลาเปิ ดหลังจากตัดไฟออก

คอนแทคปกติเปิ ดจะถูกดึงปิ ดเมือทํางาน

คอนแทคปกติปิดจะถูกดึงเปิ ดเมือทํางาน

สวิทช์ปิด – เปิ ดธรรมดา

สวิทช์ปิด – เปิ ดธรรมดา ลักษณะขณะถูกทํางาน


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 50
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ – เขียนแบบ
การอ่ านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.4 (ต่อ)ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703

สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)

สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)

สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch) ลักษณะขณะถูกทํางาน

สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)/(1 NC, 1 NO)

ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch)

แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ชนิด 3 ขัว

แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ชนิด 3 ขัว ขณะทํางาน

โอเวอร์ โหลดรี เลย์แบบธรรมดา

โอเวอร์ โหลดรี เลย์แบบมี RESET

รี เลย์แบบ 1 NO, 1NC


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 51
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.4 (ต่อ)ตัวอย่างสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน DIN 40713 และ DIN 40703


สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)

รี เลย์ตงั เวลา (Timer)

Latched Switch

หม้อแปลงไฟฟ้ า (Transformer)

หลอดไฟสัญญาณ (Pilot Lamp, Signal Lamp)

หวูดสัญญาณ

โวลต์มิเตอร์ (Volt meter)

แอมป์ มิเตอร์ (Amp meter)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 52
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.5 ตัวอย่างสัญลักษณ์ท ัวไป


สั ญลักษณ์ (Symbols) ความหมาย (Description)
50 Hz บอกความถีไฟฟ้ ากระแสสลับ 50 เฮิรตซ์

3/Mp 50 Hz ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส มีสายศูนย์ ความถี 50 เฮิรตซ์

แบตเตอรี

สายดิน

จุดต่อสายดิน

การต่อแบบสตาร์

การต่อแบบเดลต้า

การต่อแบบสตาร์ หรื อเดลต้า

ไดโอด

คาปาซิ เตอร์

ความต้านทาน

ขดลวดหรื อโช๊ค

ความต้านทานแบบปรับค่าได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 53
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

อักษรกํากับขัวของมอเตอร์
ในสมัยปั จจุบนั โรงงานอุตสาหกรรมใช้ไฟฟ้ าเป็ นต้นกําลังงานเกือบทั งสิ น ซึ งกําลังงานไฟฟ้ านี
ถูกเปลียนเป็ นพลังงานกลโดยการใช้มอเตอร์ และมอเตอร์ ทีนาํ มาใช้งานก็มีหลายชนิ ดแตกต่างกันออกไป เช่น
มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง เป็ นต้น
ในการควบคุ มมอเตอร์ นัน จําเป็ นอย่างยิงที จะต้องศึ กษาเพื อให้เกิ ดความเข้าใจเกี ยวกับอักษร
ต่างๆ ทีกาํ กับขัวของมอเตอร์ เพือทีจะได้นาํ ไปต่อขัวของมอเตอร์ ใช้งานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ถ้าไม่มี
ความรู ้เกียวกับตัวอักษรเหล่านีอาจทําให้เกิดความเสี ยหายขึนกับมอเตอร์ ได้ เช่น มอเตอร์ ไหม้ เป็ นต้น

ตารางที 3.6 อักษรเขียนกํากับขัวของมอเตอร์ ตามมาตรฐาน DIN 42 401

มอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส U V W U1 V1 W1


X Y Z U2 V2 W2
มอเตอร์ 3 เฟส ชนิดเปลียนความเร็ วรอบได้ Ua Va Wa 1U1 1V1 1W1
Xa Ya Za 1U2 1V2 1W2
Ub Vb Wb 2U1 2V1 2W1
Xb Yb Zb 2U2 2V2 2W2
Uc Vc Wc 3U1 3V1 3W1
Xc Yc Zc 3U2 3V2 3W2
ถ้ามีขดลวดเพิมเติม Ub Vb Wb 2U1 2V1 2W1
Xb Yb Zb 2U2 2V2 2W2
Ub1 Vb1 Wb1 2U5 2V5 2W5
Xb1 Yb1 Zb1 2U6 2V6 2W6
มอเตอร์ ไฟฟ้ า 1 เฟส U W U1 Z1
V Z U2 Z2
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 54
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ตารางที 3.6 (ต่อ)อักษรเขียนกํากับขัวของมอเตอร์ ตามมาตรฐาน DIN 42 401

สลิปริ งมอเตอร์ U V W K1 L1 M1
X Y Z K2 L2 M2
จุดสตาร์ Mp Q

มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง


Armature A, B A1 , A2
Shunt winding C, D E1 , E2
Series winding E, F D1 , D2
Commutating poles winding GW , HW B1 , B2
Compensating GK , HK C1 , C2
Separately winding I, K F1 , F2
ซิ งโครนัสมอเตอร์
ขดลวดสนามแม่เหล็กทีโรเตอร์ K- I+ F1 F2

ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส
สายเฟส R S T L1 L2 L3
สายศูนย์ สายป้ องกัน MP SL N PE
ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง
สายไฟขัวบวก P L+
สายไฟขัวลบ N L-
สายกลาง MP M
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 55
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

การเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์
แบบทีใช้ในการเขียนวงจรควบคุมมอเตอร์ ดว้ ยแมกเนติคคอนแทคเตอร์ แบ่งออกเป็ น 4 ชนิด คือ
1. แบบงานจริง (Working diagram) แบบชนิดนีจะเขียนคล้ายลักษณะการต่อวงจรงานจริ ง คือ
ส่ วนประกอบของอุปกรณ์ ทุกชนิ ด จะเขียนเป็ นชิ นเดี ยวไม่แยกออกจากกัน และสายต่างๆ จะต่อไปที จุดเข้า
สายของอุปกรณ์เท่านัน ซึ งเหมือนกับลักษณะของงานจริ ง ดังแสดงในภาพที 3.6

ภาพที 3.6 ลักษณะของแบบงานจริ ง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 56
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

2. แบบแสดงการทํางาน (Schematic diagram) เป็ นแบบแสดงการทํางาน แบ่งตามลักษณะ


วงจรได้เป็ น 2 แบบ คือ
2.1 แบบแสดงการทํางานของวงจรกําลัง (Power Circuit) แบบชนิ ดนี เป็ นการนําเอาเฉพาะส่ วน
ของวงจรกําลังมาเขียนเท่านัน ดังนันอุปกรณ์บางชินจึงตัดส่ วนทีไม่เกียวข้องออก เช่น โอเวอร์ โหลด ซึ งจะไม่
เขียนส่ วนทีเป็ นคอนแทค ทีใช้สาํ หรับส่ วนวงจรควบคุม ส่ วนสายต่างๆ ทีต่อถึงกันจะแสดงด้วยจุดต่อทึบ และ
จากจุดต่อแต่ละจุดจะลากเพียงสายเดียวเข้าจุดต่อสายของอุปกรณ์ ดังแสดงในภาพที 3.7

ภาพที 3.7 แสดงลักษณะของแบบวงจรกําลัง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 57
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

2.2 แบบแสดงการทํางานของวงจรควบคุม (Control Circuit) แบบนี ได้จากการแยกส่ วนของ


วงจรควบคุ มในแบบงานจริ งยืดออกเป็ นเส้ นตรง สายแยกต่างๆ จะเขี ยนในแนวดิ งและแนวระนาบเท่านัน
ส่ วนประกอบของอุปกรณ์ จะนํามาเขียนเฉพาะส่ วนที ใช้ในวงจรควบคุ มเท่านัน คอนแทคของรี เลย์และคอยล์
ของคอนแทคเตอร์ สามารถเขียนแยกกันอยูต่ ามส่ วนต่างๆ ของวงจรได้ โดยจะเขียนกํากับด้วยอักษรและตัวเลข
เพือให้รู้วา่ เป็ นของคอนแทคเตอร์ หรื อรี เลย์ตวั ใด ดังแสดงในภาพที 3.8

ภาพที 3.8 แสดงลักษณะของแบบวงจรควบคุม


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 58
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

3. แบบแสดงวงจรสายเดียว (One line diagram) เป็ นแบบแสดงวงจรการทํางานของวงจร


กําลังอีกแบบหนึ ง แต่เขียนวงจรด้วยสายเส้นเดียว และมีตวั เลขแสดงจํานวนสายกํากับไว้ (สําหรับวงจรมอเตอร์
ไฟฟ้ าสามเฟสทีมีจาํ นวนสายแต่ละจุดของวงจรเท่าๆ กัน คือ 3 เส้น อาจจะไม่เขียนตัวเลขกํากับไว้เลย) ผูท้ ี
ทํางานกับวงจรนี จะต้องเป็ นคนทีมีความรู ้ในเรื องของวงจรกําลังเป็ นอย่างดี ดังแสดงในภาพที 3.9

ภาพที 3.9 แสดงลักษณะของแบบวงจรกําลัง

4. แบบประกอบการติดตัง (Constructional wiring diagram) ในระบบควบคุมมอเตอร์ จะ


ประกอบด้วยแผงควบคุม ตูส้ วิทช์บอร์ ด และโหลดที ตอ้ งการควบคุม ซึ งมักจะแยกกันอยูใ่ นที ต่างกันในส่ วน
ต่างๆ เหล่านีจะเขียนแสดงรายละเอียดด้วยวงจรงานจริ ง และจะประกอบเข้าด้วยกันที แผงต่อสาย โดยใช้วงจร
สายเดียว สายทีออกจากจุดต่อสายแต่ละอันจะมีโค๊ดกํากับไว้เพือแสดงให้รู้วา่ สายนันจะไปต่อเข้ากับจุดใด เช่น
ทีแผงต่อสาย X2 จุดที 1 จะไปต่อกับจุดที 5 ของแผงต่อสาย X3 ซึ งทีจุดนี จะมีโค๊ดบอกไว้ดว้ ยว่าสายที จุดนี
ต่อมาจากจุดที 1 ของแผงต่อสาย X2 ดังแสดงในภาพที 3.10
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 59
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ภาพที 3.10 แสดงลักษณะของแบบวงจรประกอบการติดตัง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 60
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน)
1. NEMA เป็ นมาตรฐานของอะไร
ก. ญีปุ่น ข. สมาคมผูผ้ ลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ค. เยอรมัน ง. นานาชาติ
2. IP (Index of protection) คืออะไร
ก. ค่ามาตรฐานของเครื องอุปกรณ์ ข. ค่าความสามารถในการป้ องกัน
ค. ค่ามาตรฐานเฉพาะ ง. ค่ามาตรฐานทัวไป
3. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. คอนแทคช่วย ข. สวิทช์ปิด - เปิ ดธรรมดา
ค. สวิทช์ปุ่มกด ง. รี เลย์แบบ 1 NO, 1 NC
4. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. รี เลย์แบบ 1 NO, 1 NC ข. คอนแทคเตอร์ ชนิด 3 ขัว
ค. รี เลย์กาํ ลังทํางาน ง. รี เลย์ตงั เวลา
5. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. คอนแทคเตอร์ ชนิ ด 3 ขัว ข. คอนแทคเตอร์ ชนิด 3 ขัว กําลังทํางาน
ค. รี เลย์กาํ ลังทํางาน ง. เซอร์ กิตเบรกเกอร์ กาํ ลังทํางาน
6. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. ขดลวดสนามแม่เหล็ก ข. หวูดสัญญาณ
ค. หลอดไฟสัญญาณ ง. ลิมิตสวิทช์
7. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. สายดิน ข. จุดต่อสายดิน
ค. สายเส้นศูนย์ ง. สายเส้นไฟ
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 61
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
8. การเขียนแบบโดยแยกวงจรกําลังและวงจรควบคุมออกมาเขียนไว้คนละทีเป็ นแบบชนิดใด
ก. แบบงานจริ ง ข. แบบประกอบการติดตัง
ค. แบบแสดงการทํางาน ง. แบบแสดงวงจรสายเดียว
9. การเขียนแบบของอุปกรณ์ใดๆ ทีเขียนเป็ นชิ นเดียวกันโดยไม่แยกออกจากกัน เป็ นการเขียนวงจรชนิดใด
ก. แบบงานจริ ง ข. แบบแสดงการทํางาน
ค. แบบแสดงวงจรสายเดียว ง. แบบวงจรประกอบการติดตัง
10. จงเขียนแบบสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ทีกาํ หนดให้ลงในตารางให้ตรงกับความหมายของสัญลักษณ์

ทํางานด้วยการดึง หลอดไฟสัญญาณ

ทํางานด้วยเท้า แอมป์ มิเตอร์

แมกเนติคคอนแทคเตอร์
โวลต์มิเตอร์
ชนิด 3 ขัว
รี เลย์ตงั เวลา สวิทช์ปุ่มกด 1NO, 1 NC
โอเวอร์ โหลดรี เลย์แบบมี
รี เลย์กาํ ลังทํางาน
RESET
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ คอนแทคปรับได้ 2 ทาง
รอเวลาเคลือนทีไป
หม้อแปลงไฟฟ้ า
ทางซ้าย
ทํางานร่ วมแกนเดียวกัน ทํางานแบบล็อค

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 62
ใบงานที 1
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กนําวงจรทีกาํ หนดให้ไปเขียนเป็ นแบบงานจริ งลงในใบทดสอบให้สาํ เร็ จและสมบู รณ์ทีสุด


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 63
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูร้ ับการฝึ กสามารถบอกชื อสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูร้ ับการฝึ กสามารถนําสัญลักษณ์ของอุป กรณ์มาเขียนแบบควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง

เครืองมือ วัสดุ – อุปกรณ์ :


1. กระดาษเขียนแบบ 2. ดินสอ
3. ปากกา 4. ไม้บรรทัด
5. วงเวียน 6. ยางลบดินสอ 7. เทปใส

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ จัดเตรี ยมเครื องมือ และอุปกรณ์การเขียนแบบให้พร้อม ครู ฝึกควรแนะนําวิธีการ


จะใช้งาน เ ขี ย น แ บ บ แ ล ะ ก า ร
บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
2. ปฏิบตั ิการเขียนแบบ 1. ติดกระดาษเขียนแบบด้วยเทปใสลงบนโต๊ะ 1. เช็ ด ทํา ความสะอาด
2. ตี เส้นอ้างอิ งบางๆ ด้วยดิ นสอลงบนกระดาษใน พื น โต๊ ะ อย่ า ให้ มี เ ศษ
ตําแหน่งทีเหมาะสม วัสดุอืนตกค้าง
3. กําหนดตําแหน่งของอุปกรณ์ และใส่ สัญลักษณ์ของ 2. รี ด กระดาษให้เ รี ย บ
อุปกรณ์ลงในแบบ และยึ ด ให้ แ น่ น กับ พื น
4. ลากเส้นของอุปกรณ์ ที มีความสัมพันธ์ กนั ให้ถึงกัน โต๊ะ
จนครบตามแบบ เพือให้วงจรสมบูรณ์ทีสุด 3. การร่ า งแบบต้องใช้
5. เขียนแบบทีร่างเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วด้วยปากกา ดินสอเท่านัน
5. ลบเส้นทีเป็ นส่ วนเกินออกให้หมด 4. ระวังกระดาษขาด
6. ตรวจสอบความถูกต้องก่อนส่ งมอบงาน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 64
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

แบบงานจริ งตามคําสังในใบงานที 1 (20 คะแนน)

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 65
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
กระดาษเขียนแบบขนาด A4, ดินสอ 2B, วงเวียน, ไม้ที, ไม้บรรทัดขนาด 12 นิ ว, เทปใส,
ยางลบดินสอ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กเขียนแบบตามคําสังในใบงานที 1 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุด
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, ขันตอนการเขียนแบบ - วิธีการติดกระดาษ 2
- การเขียนแบบร่ าง 2
- การเขียนเส้นจริ ง 2
- การใช้เครื องมือ 2

2. ความถูกต้ อง - ความสมบูรณ์ของงแบบ 4
- ใส่ สัญลักษณ์และอักษรต่างๆ ถูกต้อง 4

3. ความสวยงาม - ความสะอาด 2
- การวางเส้น 2

รวมคะแนน 20
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 66
ใบงานที 2
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กวงจรทีกาํ หนดให้ไปเขียนเป็ นแบบประกอบการติดตังลงในใบทดสอบให้สาํ เร็ จและสมบูรณ์ทีสุด


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 67
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูร้ ับการฝึ กสามารถบอกชื อสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูร้ ับการฝึ กสามารถนําสัญลักษณ์ของอุปกรณ์มาเขียนแบบควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง

เครืองมือ วัสดุ – อุปกรณ์ :


1. กระดาษเขียนแบบ 2. ดินสอ
3. ปากกา 4. ไม้บรรทัด
5. วงเวียน 6. ยางลบดินสอ 7. เทปใส

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ จัดเตรี ยมเครื องมือ และอุปกรณ์การเขียนแบบให้พร้อม ครู ฝึกควรแนะนําวิธีการ


จะใช้งาน เ ขี ย น แ บ บ แ ล ะ ก า ร
บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
2. ปฏิบตั ิการเขียนแบบ 1. ติดกระดาษเขียนแบบด้วยเทปใสลงบนโต๊ะ 1. เช็ ด ทํา ความสะอาด
2. ตี เส้นอ้างอิ งบางๆ ด้วยดิ นสอลงบนกระดาษใน พื น โต๊ ะ อย่ า ให้ มี เ ศษ
ตําแหน่งทีเหมาะสม วัสดุอืนตกค้าง
3. กําหนดตําแหน่งของอุปกรณ์ และใส่ สัญลักษณ์ของ 2. รี ด กระดาษให้เ รี ย บ
อุปกรณ์ลงในแบบ และยึ ด ให้ แ น่ น กับ พื น
4. ลากเส้นของอุปกรณ์ ที มีความสัมพันธ์ กนั ให้ถึงกัน โต๊ะ
จนครบตามแบบ เพือให้วงจรสมบูรณ์ทีสุด 3. การร่ า งแบบต้องใช้
5. เขียนแบบทีร่างเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วด้วยปากกา ดินสอเท่านัน
5. ลบเส้นทีเป็ นส่ วนเกินออกให้หมด 4. ระวังกระดาษขาด
6. ตรวจสอบความถูกต้องก่อนส่ งมอบงาน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 68
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

แบบประกอบการติดตังตามคําสังในใบงานที 2 (20 คะแนน)

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 69
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การอ่านแบบ - เขียนแบบ
การอ่ านแบบ - เขียนแบบวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ า
งานย่ อยที 3 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
กระดาษเขียนแบบขนาด A4, ดินสอ 2B, วงเวียน, ไม้ที, ไม้บรรทัดขนาด 12 นิ ว, เทปใส,
ยางลบดินสอ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กเขียนแบบตามคําสังในใบงานที 2 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุด
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, ขันตอนการเขียนแบบ - วิธีการติดกระดาษ 2
- การเขียนแบบร่ าง 2
- การเขียนเส้นจริ ง 2
- การใช้เครื องมือ 2

2. ความถูกต้ อง - ความสมบูรณ์ของงแบบ 4
- ใส่ สัญลักษณ์และอักษรต่างๆ ถูกต้อง 4

3. ความสวยงาม - ความสะอาด 2
- การวางเส้น 2

รวมคะแนน 20
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 70
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหลักการทํางานของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ แต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถระบุพิกดั กระแสของมอเตอร์ ทีจะนํามาใช้กบั อุปกรณ์ควบคุมได้ถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าทีของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ แต่ละชนิดได้ถูกต้อง
วิธีการสอน : บรรยาย
หัวข้ อสํ าคัญ : - การทํางานของเซอร์ กิตเบรกเกอร์
- ฟิ วส์ป้องกันวงจรกําลังและวงจรควบคุม สายไฟวงจรกําลังและวงจรควบคุม
- แมกเนติกคอนแทคเตอร์ รี เลย์ช่วย ตัวตังเวลาและสวิทซ์แบบต่างๆ
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
การมอบหมายงาน :
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้
การวัดผล :
ถาม – ตอบ และตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยน
หนังสื ออ้างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สานันท์ คงแก้ว. การควบคุมเครืองกลไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
www.freewebs.com/epowerdata4/motorcontrol.htm. (วันทีคน้ ข้อมูล : 25 มิถุนายน 2555).
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 71
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า


ระบบในการควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ าจะทํางานได้ดีและมีประสิ ทธิ ภาพนัน จําเป็ นจะต้องมีอุปกรณ์
ทีใช้ต่อร่ วมในระบบควบคุม ซึ งอุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้าง และหลักการทํางานที แตกต่างกันออกไปถ้า
ได้มีการศึกษาข้อมูลของอุปกรณ์แต่ละชนิดแล้ว ก็จะเป็ นประโยชน์อย่างยิ งสําหรับการพิจารณาเลือกขนาดของ
อุปกรณ์ทีจะนํามาใช้ในการควบคุมมอเตอร์ ได้อย่างเหมาะสมที สุด
ในบทนี จะได้กล่าวถึ งอุปกรณ์ ที จะนํามาใช้ในการควบคุ มการทํางานของมอเตอร์ และอุปกรณ์
ป้ องการทํางานทีผดิ พร่ องของมอเตอร์ ซึ งอุปกรณ์ดงั กล่าวทีนิยมใช้กนั แพร่ หลายมีอยูห่ ลายชนิด ตัวอย่างเช่น

1. เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (CIRCUIT BREAKER)


หมายถึ ง อุ ปกรณ์ ทีทาํ งานเปิ ดและปิ ดวงจรไฟฟ้ า แบบไม่อตั โนมัติ แต่สามารถเปิ ดวงจรได้
อัตโนมัติ ถ้ามีกระแสไหลผ่านเกินกว่าค่าทีกาํ หนด โดยไม่มีความเสี ยหายเกิดขึนกับตัวของมันเอง
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แรงดันตํา หมายถึง Breaker ทีใช้กบั แรงดันน้อยกว่า 1000 โวลต์ แบ่งออก
ได้หลายชนิด ได้แก่
1.1 โมลเคสเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Mold case circuit breaker)
หมายถึง Breaker ทีถูกห่ อหุ ้มมิดชิ ดด้วยวัสดุทีเป็ นฉนวน ทํามาจากโมลดาร์ ตา้ (Moldarta) ซึ ง
เป็ นฉนวนไฟฟ้ าทีสามารถทนแรงดันใช้งานได้สูง เบรกเกอร์ แบบนี มีหน้าทีหลัก 2 ประการ คือ ทําหน้าที
เป็ นสวิทซ์เปิ ด - ปิ ดด้วยมือ และเปิ ดวงจรโดยอัตโนมัติ เมือมีกระแสไหลเกิน หรื อเกิดลัดวงจร โดยเบรกเกอร์
จะอยูใ่ นภาวะ Trip ซึ งอยูก่ ึงกลาง ระหว่าง ตําแหน่ง ON และ OFF เราสามารถ Reset ใหม่ได้โดยกดคัน
โยกให้อยู่ ในตําแหน่ง OFF เสี ยก่อน แล้วค่อยโยกไปตําแหน่ง ON เบรกเกอร์ แบบนี ทีพบเห็นโดยทัวไป ดัง
รู ปด้านล่าง

ภาพที 4.1 โมลเคสเซอร์ กิตเบรกเกอร์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 72
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

1.2 แอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Air circuit breaker)


เป็ นเบรกเกอร์ ทีใช้กบั แรงดันตํากว่า 1000 โวลต์ มีขนาดใหญ่ใช้เป็ น Main Circuit Breaker
โดยทัวไปมีพิกดั กระแสตังแต่ 225 - 6300 A. และมี Interrupting capacity สู งตังแต่ 35 - 150 KA.
โครงสร้ างทัวไปทําด้วยเหล็กมีช่องดับอาร์ ค (Arcing chamber) ทีใหญ่โตแข็งแรงเพือให้สามารถรับกระแส
ลัดวงจรจํานวนมากได้ Air Circuit Breaker ทีมีขายในท้องตลาด มักใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ตรวจจับ และ
วิเคราะห์กระแสเพือสังปลดวงจร

ภาพที 4.2 แอร์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์

1.3 มินิเอเจอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Miniature circuit breaker)


เป็ นเบรกเกอร์ ขนาดเล็ก ใช้ติดตังเป็ นอุปกรณ์ป้องกันร่ วมกับ แผงจ่ายไฟฟ้ าย่อย (Load center)
หรื อแผงจ่ายไฟฟ้ าประจําห้องพักอาศัย (Consumer unit) เบรกเกอร์ ชนิ ดนี ไม่สามารถปรับตังค่ากระแสตัดวงจร
ได้มีทงั แบบ 1 ขัว (Pole) 2 ขัว และ 3 ขัว มีรูปร่ างทัวไป ดังรู ปด้านล่าง

ภาพที 4.3 มินิเอเจอร์ ร์เซอร์ กิตเบรกเกอร์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 73
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

หลักการทํางานของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ โดยทัวไปมีลกั ษณะการทํางานดังนี


1. ทํางานด้ วยความร้ อน (Thermal Trip) ใช้หลักการขยายตัวของโลหะ (Bimetal) 2 ชนิ ด ทีมี
สัมประสิ ทธิ ทางความร้อนไม่เท่ากัน สําหรับปลดวงจรเมื อมีกระแสไหลเกิ นอันเนื องมาจากการใช้โหลดมาก
เกินไป เมือมีกระแสเกินไหลผ่านโลหะไบเมทัล ทีมีสัมประสิ ทธิ ทางความร้อนไม่เท่ากัน จะทําให้ ไบเมทัล
โก่งตัวไปปลดอุปกรณ์ทางกล และทําให้เบรกเกอร์ ตดั วงจร เรี ยกว่าเกิดการ Trip การปลดวงจรแบบนี ต้อง
อาศัยเวลาพอสมควร ขึนอยูก่ บั กระแสขณะนัน และความร้อนทีเกิดขึนจนทําให้ไบเมทัลโก่งตัว

ภาพที 4.4 การตัดวงจรของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบทํางานด้วยความร้อน

2. ทํางานด้ วยอํานาจแม่ เหล็ก (Magnetic Trip) เป็ นเบรกเกอร์ ทีทาํ งานโดยอาศัยอํานาจแม่เหล็ก


เมือมีกระแสค่าสู งๆ ประมาณ 8 - 10 เท่าขึนไป ไหลผ่านขดลวดซึ งเป็ นตัวสร้างสนามแม่เหล็กจะทําให้เกิด
สนามแม่เหล็กความเข้มสู ง ดึ งให้อุปกรณ์ การปลดวงจรทํางานได้ การตัดวงจรแบบนี เร็ วกว่าแบบแรกมาก
โอกาสทีเบรกเกอร์ จะชํารุ ดจากการตัดวงจรจึงมีน้อยกว่า การทํางานแบบนี เหมาะทีจะปลดวงจรเมื อเกิดการ
ลัดวงจร (Short Circuit) เนืองจากทํางานได้รวดเร็ ว
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 74
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.5 การตัดวงจรของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบทํางานด้วยอํานาจแม่เหล็ก

3. ทํางานด้ วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรื อโซลิดสเตต (Solid Stat Trip) เป็ นเบรกเกอร์ ทีมีอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิ กส์ ทาํ หน้าทีวิเคราะห์กระแสเพือสังปลดวงจร ทํางานด้วยความแม่นยําสู ง จะเห็นว่ามีหม้อแปลง
กระแส (Current Transformer หรื อ CT) อยูภ่ ายในตัวเบรกเกอร์ ทาํ หน้าทีแปลงกระแสให้ตาํ ลงตามอัตราส่ วน
ของ CT และมี Microprocessor คอยวิเคราะห์กระแส หากมีค่าเกินกว่าที กาํ หนดจะสังให้ Tripping coil ซึ ง
หมายถึง Solenoid coil ดึงอุปกรณ์ทางกลให้เบรกเกอร์ ปลดวงจร ทีดา้ นหน้าของเบรกเกอร์ ชนิ ดนี จะมีปุ่มปรับ
ค่ากระแสปลดวงจร เวลาปลดวงจร และอืนๆ นอกจากนี ยงั สามารถติดตังอุปกรณ์เสริ มทีเรี ยกว่า Amp Meter
& Fault Indicator ซึ งสามารถแสดงสาเหตุการ Fault ของวงจรและค่ากระแสได้ ทําให้ทราบสาเหตุของการ
ปลดวงจรได้

ภาพที 4.6 การตัดวงจรของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบทํางานด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 75
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

2. ฟิ วส์ (Fuse)
ฟิ วส์ เป็ นอุปกรณ์อีกชนิดหนึ งทีทาํ หน้าทีป้องกันความเสี ยหายที จะเกิดขึนต่อวงจร ตัวนํา และ
อุปกรณ์ไฟฟ้ า เมือเกิดการลัดวงจร หรื อมีกระแสไหลมากผิดปกติในวงจรไฟฟ้ า
โดยทัวไปฟิ วส์ จะทําด้วยแถบหรื อเส้ นโลหะที มีจุดหลอมละลายตํา หรื อออกแบบให้เกิ ดการ
หลอมละลายได้ง่ายเมื อมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านมากเกิ นพิกดั กระแสจะทําให้เกิดความร้อนจนไส้ฟิวส์ ที บรรจุ
อยู่ภายในทนไม่ไหวจนเกิดการหลอมละลายและขาดในที สุด ในช่ วงเวลาทีตวั ฟิ วส์ หลอมละลายและเริ มขาด
ออกจากกัน จะเกิดการอาร์ ค (Arc) ขึน ในการเลือกใช้ฟิวส์เป็ นสิ งทีสาํ คัญมาก เพราะถ้าใช้ฟิวส์ ทีไม่เหมาะสม
กับงาน จะทําให้เกิดความเสี ยหายให้กบั สายไฟฟ้ า อุปกรณ์ไฟฟ้ า และอาจรวมถึงระบบไฟฟ้ าด้วย

คุณสมบัติของฟิ วส์ ทีควรทราบ


1. พิกัดแรงดัน (Voltage rating) คือ ค่าแรงดันไฟฟ้ าทีฟิวส์ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
จะกําหนดมาทีตวั ฟิ วส์ ห้ามนําฟิ วส์ไปใช้กบั แรงดันไฟฟ้ าทีสูงกว่ากําหนด
2. พิกดั กระแส (Current rating) คือ ค่ากระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านฟิ วส์ อย่างต่อเนื องโดยไม่ทาํ ให้ฟิวส์
เสี ยหาย ดังนันจึงจําเป็ นต้องทราบค่ากระแสใช้งานสู งสุ ด เพื อจะได้กาํ หนดขนาดของฟิ วส์ได้เหมาะสม
3. โหลดเกิน (Overload) คือ การใช้งานทีเกินพิกดั กระแสของฟิ วส์ ค่าโหลดเกินมีไว้สําหรับใช้
งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้ าบางชนิด เช่น สําหรับกระแสล็อกโรเตอร์ ของมอเตอร์ ซึ งฟิ วส์ จะสามรถทนโหลดเกินได้
ระยะเวลาหนึง
4. ระยะหน่ วงเวลา (Time delay) คือ ระยะเวลาทีฟิวส์ขาดช้ากว่ากําหนด เมื อมีกระแสไหลเกิน
พิกดั กระแสของฟิ วส์ เพือใช้กบั กระแสการเริ มเดินมอเตอร์
5. ระยะเวลาการหลอมละลาย (Melting time) คือ ช่วงระยะเลาทีฟิวส์เริ มหลอมละลาย หลังจากมี
กระแสไหลผ่านฟิ วส์เกินพิกดั กระแสของฟิ วส์ต่อไปอีกชัวระยะเวลาหนึงก่อนทีฟิวส์จะขาด
6. ระยะเวลาตัดกระแส (Clearing time) คือช่วงเวลาทีนบั จากเริ มมีกระแสไหลผ่านเกินจนถึง
เวลาทีฟิวส์ขาด
7. พิกดั ตัดกระแสลัดวงจร (Interrupting capacity) หรื อ IC คือ ค่าพิกดั ตัดกระแสสู งสุ ดทีฟิวส์
จะทํางานตัดกระแสไฟฟ้ าได้อย่างปลอดภัย
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 76
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชัวโมง

ประเภทของฟิ วส์ (Type of Fuses)


1. ฟิ วส์ ชนิดหน่ วงเวลา (Time-Delay Fuses) ฟิ วส์ ประเภทนี จะหน่วงเวลาขณะที มีกระแส ไหล
ผ่านเกิ นพิกดั ชัวคราว เพือป้ องกันการขาดของฟิ วส์ ที ไม่จาํ เป็ นสําหรับกระแสไหลผ่านเกิ นพิกดั ชัวคราวบาง
ประเภท เช่น การเริ มเดินมอเตอร์ (Motor Start-Up) หรื อเกิดการเปลี ยนแปลงของกระแสไฟฟ้ าอย่างฉับพลัน
(Switching Surges) บางครังเรี ยกฟิ วส์ชนิดนีวา่ Dual-Element Fuses

ภาพที 4.7 กราฟแสดงค่ากระแสทีไหลผ่านฟิ วส์ในช่วงเวลาต่างๆ ของการเริ มเดินมอเตอร์

ภาพที 4.8 แสดงโครงสร้างภายในของฟิ วส์ชนิดหน่วงเวลา


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 77
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

2. ฟิ วส์ ชนิดขาดเร็ ว (Fast-Acting Fuses) ฟิ วส์ ชนิ ดนี ไม่มีการหน่วงเวลา จะตัดวงจรทันทีทีมี


กระแสทีเกินกระแสต่อเนื องทีฟิวส์ ทนได้ ใช้ในวงจรทีไม่มีกระแสเปลี ยนแปลงอย่างฉับพลัน เช่น วงจรความ
ร้อน (Heating) หรื อวงจรแสงสว่าง (Lighting)

ภาพที 4.9 รู ปร่ างลักษณะต่าง ๆ ของฟิ วส์

ฝาเกลียวปิ ด

ตัวฟิ วส์

ฝาครอบ

ฐานรองรับ

ภาพที 4.10 แสดงส่ วนประกอบของฟิ วส์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 78
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ขนาดกระแส (A)
2 4 6 10 16 20 25 35 50 63 80 100 125 160 200
ชมพู นําตาล เขียว แดง เทา นําเงิน เหลือง ดํา ขาว ทองแดง เงิน แดง เหลือง ทองแดง นําเงิน
สี เครื องหมาย
ตารางที 4.1 ตารางบอกขนาดกระแสและสี เครื องหมายของฟิ วส์

ฟิ วส์ ป้องกันวงจรกําลัง (Power Fuse)


ฟิ วส์ ป้องกันวงจรกําลัง ใช้สัญลักษณ์แทนคือ F1 ทําหน้าทีป้องกันสายจ่ายไฟวงจรกําลัง หาก
เกิดการลัดวงจรของสายไฟวงจรกําลัง ขนาดของ F1 ขึนอยูก่ บั ชนิ ด ขนาด และวิธี การสตาร์ ทมอเตอร์ ซึ งกิน
กระแสสตาร์ ทไม่เท่ากัน เพราะฉะนัน F1 จึงต้องมีขนาดใหญ่พอที จะทนกระแสช่ วงสตาร์ ทได้ ค่ากระแส
สู งสุ ดของ F1 เมือเป็ นฟิ วส์ชนิดขาดเร็ วมีดงั นี
1.1.1 มีค่ากระแสสู งสุ ดเป็ น 3 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที เมือเป็ นมอเตอร์
กระแสสลับเฟสเดียว (Single Phase Motor) หรื อหลายเฟสทีมีโรเตอร์ (Rotor) แบบกรงกระรอก หรื อ
ซิ นโครนัสมอเตอร์ (Synchronous Motor) และใช้วธิ ี การสตาร์ ทตรงโดยใช้ความต้านทาน (Resistance) หรื อใช้
รี แอคเตอร์ (Reacter)
1.1.2 มีค่ากระแสสู งสุ ดเป็ น 1.5 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที เมือมอเตอร์ นนั
เป็ นเวาด์โรเตอร์ หรื อมอเตอร์ กระแสตรง (DC Motor)
ฟิ วส์ทีใช้ในวงจรจ่ายไฟกําลัง เป็ นฟิ วส์ แรงดันตําทีเรี ยกว่าปลักฟิ วส์ ซึ งมีรูปร่ างและขนาดที
แตกต่างกันออกไป ฟิ วส์ดงั กล่าวเป็ น H R C Fuse (High rupture capacity fuse) ซึ งมีคุณสมบัติคือ สามารถ
ตัดกระแสลัดวงจรจํานวนมากๆ ได้อย่างปลอดภัยแม้ตวั ฟิ วส์จะมีพิกดั กระแสตําก็ตาม

ภาพที 4.11 แสดงการต่อฟิ วส์ป้องกันวงจรกําลัง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 79
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ฟิ วส์ ป้องกันวงจรควบคุม (Control Fuse)


ฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุมใช้สัญลักษณ์แทนคือ F2 ทําหน้าทีป้องกันสายวงจรควบคุม ขนาดของ
ฟิ วส์ ขึนอยู่ก ับขนาดของสายที ใช้ แต่ตอ้ งมี ค่า กระแสตํา กว่า กระแสสู ง สุ ดที ส ายทนได้ และเพื อให้วงจร
ควบคุมมีโอกาสทํางานโดยอัตโนมัติ เมือฟิ วส์วงจรกําลังเปิ ดวงจร ให้ต่อฟิ วส์ของวงจรควบคุมไว้หลัง F1

ภาพที 4.12 การต่อฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุม

ฟิ วส์ทีใช้ในวงจรควบคุมเป็ นฟิ วส์ ชนิ ดเดียวกับฟิ วส์ ที ใช้ในวงจรกําลังแต่ทนกระแสได้ต าํ กว่า


เป็ นฟิ วส์ แรงดันตําทีเรี ยกว่าปลักฟิ วส์ ซึ งมีรูปร่ างและขนาดทีแตกต่างกันออกไป ฟิ วส์ ดงั กล่าวเป็ น H R C
Fuse (High rupture capacity fuse) ซึ งมีคุณสมบัติคือ สามารถตัดกระแสลัดวงจรจํานวนมากๆ ได้อย่าง
ปลอดภัยแม้ตวั ฟิ วส์จะมีพิกดั กระแสตําก็ตาม (ขนาดกระแสและสี เครื องหมายของฟิ วส์ดูตามตารางที 4.1)

ภาพที 4.13 ส่ วนประกอบของฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุม


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 80
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง
3. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactttor)
แมกเนติคคอนแทคเตอร์ หมายถึง สวิทช์ทีทาํ งานโดยอาศัยอํานาจแม่เหล็กไฟฟ้ าในการตัดต่อ
วงจรกําลังทีใช้กระแสค่อนข้างสู ง (ประมาณ 30 - 300 A) ใช้สัญลักษณ์แทนคือ K….
โครงสร้ างของแมกเนติคคอนแทคเตอร์
แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ยีห้อใด รุ่ นใดจะต้องมีโครงสร้างหลักทีสาํ คัญเหมือนกัน ดังนี

ภาพที 4.14 ส่ วนประกอบของภายในของแมกเนติคคอนแทคเตอร์

1. แกนเหล็ก (Core) แกนเหล็กแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ


1.1 แกนเหล็กอยูก่ บั ที (Fixed Core) จะมีลกั ษณะขาทังสองข้างของแกนเหล็ก มีลวดทองแดงเส้น
ใหญ่ต่อลัดอยูเ่ ป็ นรู ปวงแหวนฝังอยูท่ ีผวิ หน้าของแกน เพือลดการสันสะเทือนของแกนเหล็ก อันเนื องมาจากการ
สันสะเทือนของไฟฟ้ ากระแสสลับ วงแหวนนีเรี ยกว่า เช็ดเด็ดริ ง (Shaddedring)
เช็ดเด็ดริ ง

ภาพที 4.15 แกนเหล็กรู ปตัว E ชุดที 1 และเชดเดดริ ง (Shaded Ring)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 81
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

1.2 แกนเหล็กเคลื อนที (Stationary Core or Moving Core) ทําด้วยแผ่นเหล็กบางอัดซ้อนกัน


เป็ นแกน จะมีชุดหน้าสัมผัสเคลื อนที (Moving Contacttt) ยึดติดอยู่

ภาพที 4.16 แกนเหล็กรู ปตัว E ชุดที 2 และคอนแทค


2. ขดลวด (Coil) ขดลวดทํามาจากลวดทองแดงพันอยูร่ อบแกนพลาสติกสวมอยูต่ รงกลางของ
ขาอีกตัวทีอยูก่ บั ที ขดลวดทําหน้าทีสร้างสนามแม่เหล็กมีขวั ต่อไฟเข้าใช้สัญลักษณ์อกั ษรกํากับ คือ A1- A2

ภาพที 4.17 ขดลวด (Coil)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 82
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง
3. หน้ าสั มผัส (Contact) หน้าสัมผัสจะยึดติดอยูก่ บั แกนเหล็กเคลื อนที แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
3.1 หน้าสัมผัสหลัก (Main Contact) จะมีขนาดใหญ่และทนกระแสได้สูง เนื องจากต้องใช้ใน
การตัดต่อไฟวงจรกําลัง (Power circuit) ทีจ่ายไฟกําลังให้กบั โหลด แยกออกเป็ น 2 ส่ วน คือส่ วนเคลื อนทีติด
อยู่กบั แกนเหล็กรู ปตัว E ชุ ดที 2 มีจาํ นวน 1 อันในหนึ งชุ ด และส่ วนอยูก่ บั ที ติดอยู่กบั โครงของแมกเนติค
คอนแทคเตอร์ มีจาํ นวน 2 อันในหนึงชุด มีสัญลักษณ์อกั ษรกํากับบอกดังนี
- หน้าสัมผัสหลักคู่ที 1 อักษรหรื อหมายเลขกํากับด้านไฟเข้าคือ 1/L1 ด้านไฟออกคือ 2/T1
- หน้าสัมผัสหลักคู่ที 2 อักษรหรื อหมายเลขกํากับด้านไฟเข้าคือ 3/L2 ด้านไฟออกคือ 4/T2
- หน้าสัมผัสหลักคู่ที 3 อักษรหรื อหมายเลขกํากับด้านไฟเข้าคือ 5/L3 ด้านไฟออกคือ 6/T3

ภาพที 4.18 ส่ วนประกอบภายนอกและสัญลักษณ์ของ Main Contact


3.2 คอนแทคช่ วย (Auxiliary Contact) มีขนาดเล็กกว่าและทนกระแสได้นอ้ ยกว่า Main
Contact เนื องจากใช้ในการตัดต่อวงจรควบคุม (Control circuit) ซึ งอาจจะมีอยูอ่ ย่างละ 1 หรื อ 2 คู่ ให้
เลือกใช้ตามความจําเป็ นของวงจรควบคุ ม แยกออกเป็ น 2 ส่ วนเหมือนกับ Main Contact แบ่งออกเป็ น 2
แบบ ดังนี
- คอนแทคปกติปิด (Normally Close หรื อ NC) ทําหน้าทีตดั อุปกรณ์ตวั อืนไม่ให้ทาํ งานเมือตัว
ของมันทํางาน และจะต่อให้อุปกรณ์ตวั อืนทํางานเมือตัวของมันไม่ทาํ งาน
- คอนแทคปกติเปิ ด (Normally Open หรื อ NO) ทําหน้าทีต่อวงจรให้อุปกรณ์ตวั อืนหรื อตัวของ
มันเองให้ทาํ งานเมือตัวของมันทํางาน และจะตัดอุปกรณ์ตวั อืนหรื อตัวของมันเองไม่ให้ทาํ งานเมือตัวของมันไม่ทาํ งาน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 83
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง
คอนแทคช่ วยมีสัญลักษณ์ อกั ษรกํากับบอกดังนี
ขัวขดลวด คือขัว A1-A2 จุดต่อไฟเข้าขดลวด
หน้าสัมผัสปกติเปิ ด (N.O.) เป็ นคอนแทคช่วยชุดที 1 หมายเลขอักษรกํากับหน้าสัมผัสคือ 13-14
หน้าสัมผัสปกติปิด (N.C.) เป็ นคอนแทคช่วยชุดที 2 หมายเลขอักษรกํากับหน้าสัมผัสคือ 21-22
หน้าสัมผัสปกติปิด (N.C.) เป็ นคอนแทคช่วยชุดที 3 หมายเลขอักษรกํากับหน้าสัมผัสคือ 31-32
หน้าสัมผัสปกติปิด (N.O.) เป็ นคอนแทคช่วยชุดที 4 หมายเลขอักษรกํากับหน้าสัมผัสคือ 43-44

ภาพที 4.19 ส่ วนประกอบภายนอกและสัญลักษณ์ของ Auxiliary Contact


หลักการทํางานของแมกเนติคคอนแทคเตอร์
ในสภาวะปกติ (OFF) หรื อขณะทียงั ไม่ทาํ งานแกนเหล็กรู ปตัว E ทัง 2 ชุ ด จะถูกดันให้ห่าง
ออกจากกันด้วยสปริ งทีขาทัง 2 ข้างของแกนเหล็ก ทําให้คอนแทคช่วยชุด NC ต่อวงจรจุดสัมผัสให้ถึงกัน ใน
ขณะเดียวกันคอนแทคชุด NO จะยังไม่ต่อจุดสัมผัสให้ถึงกัน
เมือจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil จะทําให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ น และทําให้แกนเหล็กรู ปตัว E
ชุดทีอยูก่ บั ทีกลายสภาพเป็ นแม่เหล็ก แรงจากอํานาจแม่เหล็กจะชนะแรงต้านของสปริ ง ทําให้ดึงแกนเหล็กรู ป
ตัว E ชุดทีเคลือนทีลงมา ในสภาวะนี เรี ยกว่าสภาวะการทํางาน (ON) คอนแทคทังชุดทีเป็ น NO และ NC จะ
เปลียนสภาวะการทํางานของตัวมันเองทันที คือคอนแทคทีเป็ น NC จะเปิ ดวงจรจุดสัมผัสออก และคอนแทคชุ ด
ทีเป็ น NO จะต่อวงจรจุดสัมผัสให้ถึงกัน คอนแทคทุกชุ ดจะกลับไปอยู่ในตําแหน่ งดิ มอีกครั งเมือหยุดจ่าย
กระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil โดยจะถูกสปริ งดันกลับ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 84
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ก. สภาวะปกติ (OFF) ข. สภาวะทํางาน (ON)


ภาพที 4.20 ลักษณะการทํางาน ของแมกเนติคคอนแทคเตอร์

หมายเลขกํากับขัวคอนแทคของแมกเนติคคอนแทคเตอร์

ภาพที 4.21 หมายเลขกํากับขัวของคอนแทคของแมกเนติคคอนแทคเตอร์

จากรู ป ก. ขัวหมายเลข 1, 3, 5 ต่อเข้ากับไฟจากแหล่งจ่าย L1, L2, L3 หรื อ R, S, T


ขัวหมายเลข 2, 4, 6 ต่อเข้ากับโอเวอร์ โหลดรี เลย์ทีขวั U1, V1, W1
จากรู ป ข. ดูจากเลขตัวหน้าแสดงว่ามีคอนแทคช่วย 4 คู่คือ คู่ที 1 หมายเลข 13 กับ 14 คู่ที
2 หมายเลข 23 กับ 24 คู่ที 3 หมายเลข 31 กับ 32 คู่ที 4 หมายเลข 41 กับ 42
ดูจากเลขตัวหลังถ้าลงท้ายด้วย 1 - 2 จะเป็ นคอนแทคปกติปิด (Normally Close หรื อ NC)
ถ้าลงท้ายด้วย 3 - 4 จะเป็ นคอนแทคปกติเปิ ด (Normally Open หรื อ NO)
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 85
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

การเลือกใช้ แมกเนติคคอนแทคเตอร์
การเลื อกใช้แมกเนติ คคอนแทคเตอร์ ให้เหมาะสมกับขนาดของมอเตอร์ ให้พิจารณาที กระแส
สู งสุ ด (Rate current) และแรงดันของมอเตอร์ กบั กระแสใช้งาน (Rate operating current) และแรงดันทีคอน
แทคทนได้ของแมกเนติค คอนแทคเตอร์ กระแสสู งสุ ดของมอเตอร์ จะต้องตํากว่ากระแสใช้งานของแมกเนติค
คอนแทคเตอร์ ทีแรงดันเท่ากัน นอกจากนี ยงั มีองค์ประกอบอืนๆ อีก เช่น ความบ่อยครังของการทํางานถ้าตํา
มากเพียงครังหรื อ 2 ครัง/วัน ก็สามารถเลือกใช้ขนาดเล็กลงมาได้อีกหนึ งขนาดก็ได้
การเลือกขนาดของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ให้เหมาะสมกับงาน จะต้องดูคุณสมบัติทางเทคนิ ค
(Technical data) จากบริ ษทั ผูผ้ ลิตให้เหมาะสมกับงานซึ งมีขอ้ พิจารณา ดังนี
- ลักษณะของโหลดและการใช้งาน
- แรงดันและความถี
- สถานทีใช้งาน
- ความบ่อยครังในการใช้งาน
- การป้ องกันจากการสัมผัส และป้ องกันนํา
- ความคงทนทางกลและทางไฟฟ้ า

ข้ อดีของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ เมือเทียบกับสวิทช์ กาํ ลังแบบอืนๆ


1. ให้ความปลอดภัยสําหรั บผูค้ วบคุ ม เพราะสามารถใช้กระแสไฟ และแรงเคลื อนตําๆ ไป
ควบคุมการทํางานของคอยล์ได้ และยังสามารถย้ายจุดควบคุมไปอยูใ่ นที ๆ ปลอดภัยและห่ างจากวงจรกําลังได้
เพราะอันตรายจากการตัดต่อของวงจรกําลังซึ งมีกระแสไฟฟ้ าไหลค่อนข้างสู ง เช่ น การสตาร์ ทมอเตอร์ ตวั
ใหญ่ๆ จะทําให้เกิดการอาร์ คทีหน้าคอนแทคขณะเริ มสตาร์ ท
2. สะดวกในการควบคุม เพราะสามารถใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์ตวั อื นได้ เช่น สวิทช์ปุ่มกด (Push
button switch) สวิทช์แรงดัน (Pressure switch) สวิทช์ลูกลอย (Flow switch) สวิทช์วดั ระดับ (Float switch)
ลิมิตสวิทช์ (Limit switch) ในการควบคุมวงจรต่างๆ เช่น วงจรลิฟท์ซึ งสามารถควบคุมให้หยุดได้เองเมื อลิฟท์
วิงถึงชันทีตอ้ งการ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 86
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

3. ประหยัดเมือเทียบกับการควบคุมด้วยมือ (Manual control) ในบางกรณี ภาระ (Load) ทีตอ้ งการ


ควบคุมจําเป็ นต้องอยูห่ ่ างจากแหล่งจ่ายไฟและจุดควบคุม ถ้าใช้การควบคุ มด้วยมือ สายวงจรกําลังจะต้องเดิ น
จากแหล่งจ่ายไฟไปยังจุดควบคุมจากนันจึงเดินไปยัง Load แต่เมือใช้การควบคุมด้วยแมกเนติคคอนแทคเตอร์
จะช่วยให้ประหยัด เพราะสามารถเดิ นสายวงจรกํา ลังจากแหล่งจ่ายไปยัง Load ได้โดยตรง ส่ วนสายวงจร
ควบคุมจะมีขนาดเล็ก

ชนิดและขนาดของแมกเนติคคอนแทคเตอร์
แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทีใช้กบั ไฟฟ้ ากระแสสลับ แบ่งเป็ น 4 ชนิดตามลักษณะของโหลดและการ
นําไปใช้งานมีดงั นี
- AC 1 : เป็ นแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทีเหมาะสําหรับโหลดที เป็ นความต้านทาน หรื อในวงจร
ทีมีอินดัคทีฟน้อยๆ
- AC 2 : เป็ นแมกเนติคคอนแทคกเตอร์ ทีเหมาะสําหรับใช้กบั โหลดทีเป็ นสลิปริ งมอเตอร์
- AC 3 : เป็ นแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทีเหมาะสําหรับใช้การสตาร์ ทและหยุดโหลดที เป็ น
มอเตอร์ แบบกรงกระรอก
- AC 4 : เป็ นแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทีเหมาะสําหรับบการสตาร์ ท-หยุดมอเตอร์ วงจร
Gogging และการกลับทางหมุนมอเตอร์ แบบกรงกระรอก

ตารางแสดงคอนแทคทีนํามาใช้ งาน (RELAY TABLE)


วงจรควบคุ มจะมี ตารางรี เลย์ บอกให้รู้ว่า แมกเนติ คคอนแทคเตอร์ แต่ละตัวมี คอนแทคเมน
และมีคอนแทคช่วยทีนาํ มาใช้งานกี ตวั และอยูท่ ี Path (แถว) ไหนบ้าง ตัวเลขที เขียนอยูใ่ นตารางหมายถึงแถว
ต่า งๆ ของวงจร ตารางรี เลย์แต่ล ะอัน ต้องเขี ย นให้ตรงกับ ตัวรี เลย์ แมกเนติ ค คอนแทคเตอร์ ที เขี ย นแสดง
ตําแหน่งคอนแทคเครื องหมาย - ในตารางรี เลย์แสดงว่าคอนแทคนันมีอยู่ แต่ไม่ได้ใช้งาน และหมายเลขแสดง
ลําดับแถวของวงจรกําลังจะเริ มตังแต่เลขหลักสิ บ เช่น 11 หรื อ 31 เรี ยงไปเรื อยๆ และต้องไม่ซาํ กับหมายเลข
แสดงลําดับแถวของวงจรควบคุม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 87
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.22 ตารางแสดงการใช้งานรี เลย์ในการเขียนแบบ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 88
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

4. รีเลย์ ช่วยหรื อรีเลย์ ควบคุม (Auxiliary relay or Control Relay)


รีเลย์ หมายถึง สวิทช์ทีทาํ งานโดยอาศัยอํานาจแม่เหล็กไฟฟ้ า ช่วยให้เกิดการตัดต่อวงจรควบคุม
เช่น คอยล์ของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ รี เลย์ตวั อืนๆ โซลินอยด์ (Solinoids) แต่ก็ใช้เป็ นตัวตัดต่อวงจรกําลัง
ขนาดเล็กบ้างในบางงาน เช่น วงจรหลอดสัญญาณ หวูดสัญญาณ หรื อมอเตอร์ ขนาดเล็ก เป็ นต้น รี เลย์มีหลาย
ขนาดตังแต่ติดตังบนแผ่นวงจรพิมพ์จนถึงติดตังบนฐานในตูค้ วบคุม
รี เลย์ ช่วย (Auxiliary relay) บางทีก็เรี ยกว่ารี เลย์ควบคุม (Control relay) ส่ วนประกอบและ
ลักษณะการทํางาน เหมือนกันกับแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ท ัวๆ ไป ต่างกันทีคอนแทคของรี เลย์ช่วยทนกระแส
ได้ตาํ กว่า จึงนําไปต่อเข้ากับโหลดไม่ได้ ลักษณะคอนแทคมีทงั แบบ NO และ NC ทังนี ขึนอยูก่ บั บริ ษทั ผูผ้ ลิต
หรื อการเลือกใช้งานว่าต้องการลักษณะคอนแทคแบบใด และจํานวนเท่าใด การนับจํานวนรี เลย์ช่วยในวงจร
ให้นบั ต่อจากจํานวนของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ โดยกําหนดให้มีตวั อักษรตามหลังเลขจํานวนเป็ นตัว A เช่น
K3A, K4A (A = Auxiliary Contact)

ภาพที 4.23 รี เลย์ช่วยแบบต่างๆ

ภาพที 4.24 สัญลักษณ์ของรี เลย์ทีมีคอนแทค NC 2 ตัว และ NO 2 ตัว


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 89
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.25 มีคอนแทค NC 2 ตัว, NO 2 ตัว และมีคอนแทค NC ทีตอ้ งรอให้คอนแทค NO ต่อวงจรก่อน


แล้วคอนแทค NC อีก 2 อันถึงจะจากออก

ส่ วนประกอบสํ าคัญของรีเลย์ มี 2 ส่ วน คือ


1. ขดลวดเหนี ย วนํา (Coil) ทํา หน้า ที ส ร้ า งสนามแม่ เ หล็ ก ขึ น เพื อ ทํา ให้ แ กนเหล็ ก รู ป ตัว E
กลายเป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ าเพือไปดึงดูดหน้าสัมผัสให้เคลื อนที
2. หน้าสัมผัส (Contact) ทําหน้าทีตดั – ต่อวงจร (ดูรูปข้างล่าง) คือ เมือจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั
Coil จะทําให้เกิดการเหนี ยวนําทางไฟฟ้ าเกิดเป็ นสนามแม่เหล็กดึงดูดให้หน้าสัมผัสเคลื อนทีจากตําแหน่ง a
(NC หรื อตําแหน่ง Turn off) ไปยังตําแหน่ง b (NO หรื อตําแหน่ง Turn on) ทําให้วงจรด้านเอาท์พุทครบ
วงจรและทําให้โหลด (Load) ทํางาน ถ้าเลิกจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil หน้าสัมผัสจะถูกสปริ งดึงกลับมาอยู่
ทีตาํ แหน่งเดิม

ภาพที 4.26 ไดอะแกรมส่ วนประกอบของรี


a เลย์

รีเลย์ สามารถแบ่ งออกตามลักษณะการทํางานเป็ น 5 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ


1. รี เลย์ ใช้ งานทัวไป (General Purpose Relay) รี เลย์ชนิ ดนี หน้าสัมผัสจะทํางาน (Turn on)
ทันทีเมือ Coil ถูกป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้ และหยุดทํางาน (Turn off) เมือหยุดป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้ นันคือ ถ้า
ต้องการให้ Contact ทํางานตลอดเวลา จะต้องจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้ Coil ตลอดเวลาด้วย
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 90
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.27 รี เลย์ใช้งานทัวไป (General Purpose Relay)

2. เพาว์ เวอร์ รีเลย์ (Power Relay) รี เลย์ชนิดนีจะถูกใช้กบั Load ทีกินกระแสไฟมากๆ (Heavy load)

ภาพที 4.28 เพาว์เวอร์ รีเลย์ (Power Relay)


3. แลทชิ งรี เลย์ (Latching Relay) Contact ของรี เลย์ชนิ ดนี จะทํางาน(Turn on) ทันทีทีขดลวด
เหนี ยวนํา (Coil) ขา Set ถูกจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้ และจะ Turn on ค้างอยูอ่ ย่างนันแม้จะหยุดจ่ายกระแสไฟ
ให้กบั Coil และ Contact จะหยุดทํางาน (Turn off) เมือจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั ขา Reset ของรี เลย์

ภาพที 4.29 แลทชิงรี เลย์ (Latching Relay)


ข้ อควรระวังในการนําแลทชิ งรีเลย์ มาใช้ งาน
1. หลี กเลียงการใช้รีเลย์ชนิ ดนี ในสภาวะแวดล้อมที มีสนามแม่เหล็ก ฝุ่ น หรื อระบบจ่ายไฟที มี
การกระชากมากๆ
2. หลีกเลียงการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั ขา Set และขา Reset พร้อมหัน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 91
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

3. ถ้าติดตังรี เลย์ชนิ ดนี เรี ยงติดกันเป็ นจํานวนมาก ควรเว้นช่ องว่างระหว่างรี เลย์แต่ละตัวอย่างน้อย


ประมาณ 15 – 20 ซม.
4. แรทเชทรี เลย์ (Ratchet Relay) การทํางานของรี เลย์ชนิ ดนี ใกล้เคียงกับแลทชิ งรี เลย์ แต่จะ
รวมขา Set และขา Reset มาไว้ในขาเดียว หากป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil ในครังแรก Contact ของรี เลย์
จะ Turn on ทันที และจะทํางานค้างอยูอ่ ย่างนันแม้จะหยุดป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil แล้วก็ตาม หลังจาก
นันหากป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil อีกครังหนึง จะทําให้ Contact ของรี เลย์ Turn off และจะไม่ทาํ งานอยู่
อย่างนันแม้จะหยุดป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil แล้วก็ตาม หลังจากนันหากป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil
อีกครังหนึ ง จะทําให้ Contact ของรี เลย์จะ Turn on อีกครัง Contact จะสลับกัน Turn on และ Turn off
ทุกครังทีมีการป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั Coil ในแต่ละครัง

ภาพที 4.30 แรทเชทรี เลย์ (Ratchet Relay)


5. สเตปปิ งรี เลย์ (Stepping Relay) Contact ของรี เลย์ชนิ ดนี จะมีมากกว่าสอง Contact (NO และ
NC) โดย Contact เหล่านีจะสลับกันทํางานเรี ยงตามลําดับกันไป ซึ งสามารถควบคุมการทํางานของลําดับการ
ทํางานของ Contact โดยการป้ อนพัลส์ให้กบั Coil

ภาพที 4.31 สเตปปิ งรี เลย์ (Stepping Relay)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 92
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

5. โอเวอร์ โหลดรีเลย์ (Overload relay)


หมายถึ ง อุปกรณ์ ป้องกันมอเตอร์ เมื อมอเตอร์ กินกระแสเกิ นกําหนดที ขดลวดของมอเตอร์ จะ
ทนได้ ใช้สัญลักษณ์แทนคือ F3 โดยทัวไปแล้วโอเวอร์ โหลดรี เลย์นิยมทําเป็ นแบบไบเมทัล (Bimetal) โดยใช้
กระแสทีไหลผ่าน Load เป็ นตัวควบคุมอีกทีหนึ ง การตัดวงจรอาศัยการงอของ Bimetal ขณะร้อนเนื องจาก
กระแสไหลมาก โดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
5.1 แบบธรรมดา หรื อแบบไม่มีรีเซ็ ท เมือแผ่นไบเมทัลงอตัวและตัดวงจรแล้ว จะกลับมาอยู่
ตําแหน่งเดิมเมือแผ่นไบเมทัลเย็นตัวลง เหมือนในเตารี ด
5.2 แบบมีรีเซ็ท (Reset) เมือตัดวงจรไปแล้วคอนแทคจะถูกล็อกไว้ ถ้าต้องการให้วงจรทํางาน
อีกครัง ทําโดยการกดทีปุ่ม Reset ให้คอนแทคกลับมาต่อวงจรเหมือนเดิม
ส่ วนประกอบของ OVERLOAD RELAY
1. ขัวต่ อไฟกําลัง ทําหน้าทีจ่ายไฟกําลังทีผา่ นมาจากแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ให้กบั มอเตอร์
ด้านทีต่อเข้ากับแมกเนติ คคอนแทคเตอร์ มีหมายเลขกํากับขัว คือ 1/L1, 3/L2 และ 5/L3 โดยมีขด
ลวดความร้อนต่อออกมาและพันไปรอบๆ แผ่นเหล็ก ไบเมทัล แล้วต่อเข้ากับขัวด้านทีต่อเข้ากับมอเตอร์ ซึ งมี
หมายเลขกํากับขัวคือ 2, 4 และ 6
2. คอนแทคช่ วย (Auxiliary Contact) ทําหน้าทีตดั วงจรคอนโทรลให้หยุดทํางานเมื อมอเตอร์
กินกระแสเกินกําหนด มีทงั แบบ 4 ขัว(1 NO, 1 NC) และแบบ 3 ขัว(แบบปรับได้ 2 ทาง) มีหมายเลข
กํากับขัวคือ 95 – 96 เป็ น NC, 97 – 98 เป็ น NO สําหรับแบบ 4 ขัว และ 95 – 96 เป็ น NC, 95 – 97 เป็ น
NO สําหรับแบบ 3 ขัว(แบบปรับได้ 2 ทาง)
3. แผ่ นเหล็กไบเมทัล (Bimetal) ทําหน้าทีดนั กลไกของของแทคช่วยให้ตดั การทํางานของวงจร
ควบคุม เมือได้รับความร้อนจากขดลวดความร้อน (Heater) จนเกิดการโก่งงอ
4. ขดลวดความร้ อน (Heater) ทํามาจากลวดทองแดงพันอยูร่ อบๆ แผ่นเหล็ก Bimetal ขดลวดนี จะ
ทําให้เกิดความร้อนขึนทีแผ่นเหล็ก Bimetal เมือมอเตอร์ กินกระแสเกินกําหนด
5. ปุ่ มปรั บตังกระแส (Dial ampere adjustment) ใช้สําหรับปรับตังกระแสให้เหมาะสมกับการ
ใช้งานของมอเตอร์
6. ปุ่ มแสดงการตัดวงจร (Trip) เป็ นปุ่ มทีแสดงให้รู้วา่ เกิดการตัดวงจรแล้ว
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 93
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง
7. ปุ่ มรีเซท (Reset) เมือเกิดการตัดวงจรของคอนแทคช่วย ถ้าต้องการให้วงจรกลับไปทํางานอีก
ครังจะต้องกดทีปุ่มนีเพือให้คอนแทคช่วยกลับไปอยูท่ ีตาํ แหน่งเดิม

ภาพที 4.32 โครงสร้างภายนอกของโอเวอร์ โหลดรี เลย์

ภาพที 4.33 สัญลักษณ์ของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ทีใช้ในการเขียนแบบวงจร


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 94
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.34 โครงสร้างภายในของโอเวอร์ โหลดรี เลย์

การปรับตังกระแสของโอเวอร์ โหลด
โดยปกติแล้วการปรับตังขนาดกระแสโอเวอร์ โหลด มีค่าเท่ากับ 125 % ของกระแสโหลดเต็มพิกดั
(Full Load Current หรื อ FLA) ของมอเตอร์ เช่ น มอเตอร์ มีกระแสโหลดเต็มพิกดั เท่ากับ 10 แอมป์
ดังนันค่าสู งสุ ดของการปรับตังโอเวอร์ โหลดมีค่าเท่ากับ 10 x 1.25 = 12.5 แอมป์ (A)
โอเวอร์ โหลดโดยทัวไปมี ปุ่ มปรั บ ตังพิกดั กระแสให้ทาํ การปรั บโดยใช้ไขควงปรั บด้านหน้าของ
โอเวอร์ โหลด เช่น 9, 10, 11, 14, 16, 18 แอมป์ เป็ นต้น (ดังรู ป 4.24)

ภาพที 4.35 แสดงปุ่ มปรับตังกระแสทริ ปของโอเวอร์ โหลดรี เลย์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 95
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

6. สวิทช์ ต่างๆทีใช้ ในงานควบคุมมอเตอรไฟฟ้า


การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ านันมีอุปกรณ์ทีใช้ในการควบคุมมอเตอร์ อย่างมากมาย อุปกรณ์ทีใช้งานนัน
ต้องเลื อกให้เหมาะสมกับงานในการควบคุ มอุปกรณ์ เช่ น สวิทช์ปุ่มกด แมกเนติ คคอนแทคเตอร์ ตลอดจน
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่างๆ ในการควบคุมมอเตอร์ ดังมีอุปกรณ์ทีตอ้ งศึกษา ดังต่อไปนี
6.1 สวิทช์ ปุ่มกด (Push Button Switch) หมายถึง อุปกรณ์ทีมีหน้าสัมผัสอยูภ่ ายในการเปิ ด - ปิ ด
หน้าสัมผัส ได้โดยใช้มือกดใช้ควบคุมการทํางานของมอเตอร์ สวิทช์ปุ่มกดทีใช้ในการเริ มเดิน (Start) เรี ยกว่า
สวิทช์ปกติเปิ ด (Normally Open) หรื อทีเรี ยกว่า NO สวิทช์ปุ่มกดหยุดการทํางาน (Stop) เรี ยกว่าสวิทช์ปกติ
ปิ ด (Normally Close) หรื อทีเรี ยกว่า NC

ภาพที 4.36 สวิทช์ปุ่มกดแบบต่างๆ

ภาพที 4.37 โครงสร้างภายนอกของสวิทช์ปุ่มกด


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 96
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.38 สัญลักษณ์ของสวิทช์ปุ่มกดแบบต่างๆ


หลั ก การทํ า งานของสวิ ท ช์ ปุ่ มกดคื อ ใช้ นิ วกดที ปุ่ มกดทํา ให้ มี แ รงดั น หน้ า สั ม ผัส ให้
เคลื อนที หน้าสัมผัสที ปิดจะเปิ ดออกส่ วนหน้าสัมผัสที เปิ ดจะปิ ด เมือปล่อยนิ วออกหน้าสัมผัสจะกลับสภาพ
เดิมด้วยแรงสปริ ง การนําไปใช้งานใช้ในการควบคุมการเริ มเดิน และหยุดหมุนมอเตอร์

ชนิดของสวิทช์ ปุ่มกด สวิทช์ปุ่มกดทีนิยมใช้มีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิด เช่น


1. สวิทช์ ปุ่มกดแบบธรรมดา ใช้ในงานเริ มเดิน (Start) และหยุดหมุน (Stop) สวิทช์สีเขียวใช้ใน
การสตาร์ ท หน้าสัมผัสเป็ นชนิ ดปกติเปิ ด (Normally Open) หรื อทีเรี ยกว่า NO สวิทช์สีแดงใช้ในการหยุดการ
ทํางาน (Stop) หน้าสัมผัสเป็ นชนิดปกติปิด (Normally Close) หรื อทีเรี ยกว่า NC

ภาพที 4.39 สวิทช์ปุ่มกดแบบธรรมดา


2. สวิทช์ ปุ่มกดทีใช้ ในการเริ มเดิม (Start) และหยุดหมุน (Stop) มอเตอร์ สวิทช์แบบนี อยูใ่ น
กล่องเดียวกัน ปุ่ มสี เขียวสําหรับกดเริ มเดินมอเตอร์ (Start) ปุ่ มสี แดง สําหรับกดหยุดหมุน (Stop) เหมาะกับการ
ใช้งานมอเตอร์ ขนาดเล็ก ใช้งานธรรมดาทีใช้กระแสไม่สูงสามารถต่อได้โดยตรง) ถ้าใช้กบั มอเตอร์ ไฟฟ้ าขนาด
ใหญ่กว่า 1/2 แรงม้าต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์อืนเช่นสวิทช์แม่เหล็ก (Magnetic Contactor) และอุปกรณ์ป้องกัน
มอเตอร์ ทาํ งานเกินกําลัง (Over Load Protection) ดังนันจึงทําให้ระบบควบคุม การเริ มเดินมอเตอร์ เป็ นไปอย่าง
มีประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 97
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.40 สวิทช์ปุ่มกดทีใช้ในการเริ มเดิม (Start) และหยุดหมุน (Stop) มอเตอร์

3. สวิทช์ ปุ่มกดฉุ กเฉิน (Emergency push button) สวิทช์ปุ่มกดฉุ กเฉิ นหรื อเรี ยกทัวไปว่าสวิทช์
ดอกเห็ดเป็ นสวิทช์หวั ใหญ่กว่าสวิทช์แบบธรรมดาเป็ นสวิทช์ทีเหมาะกับงานทีเกิดเหตุฉุกเฉิ นหรื องานที ตอ้ งการ
หยุดทันที

ภาพที 4.41 สวิทช์ปุ่มกดฉุ กเฉิ น (Emergency push button)

4. สวิทช์ ปุ่มกดทีมีหลอดสั ญญาณติดอยู่ (Illuminated push button) เมือกดสวิทช์ปุ่มกดจะทํา


ให้หลอดสัญญาณสว่างออกมา

ภาพที 4.42 สวิทช์ปุ่มกดทีมีหลอดสัญญาณติดอยู่ (Illuminated push button)

5. สวิทช์ ปุ่มกดทีใช้ เท้ าเหยียบ (Foot push button) เป็ นสวิทช์ทีทาํ งานทีใช้เท้าเหยียบ เหมาะ
กับเครื องจักรทีตอ้ งทํางานโดยใช้เท้าเหยียบ เช่น เครื องตัดเหล็ก มอเตอร์ จกั รเย็บผ้าขนาดเล็ก
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 98
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.43 สวิทช์ปุ่มกดทีใช้เท้าเหยียบ (Foot push button)

6.2 สวิทช์ จํากัดระยะ (Limit Switch) ลิมิตสวิทช์เป็ นสวิทช์ทีจาํ กัดระยะทาง หรื อระดับสู ง –
ตําการทํางานอาศัยแรงกดภายนอกมากระทํา เช่น วางของทับทีปุ่มกดหรื อลูกเบียวมาชนทีปุ่มกดและสามารถมี
คอนแทคได้หลายอันมีคอนแทคปกติปิดและปกติเปิ ดมีโครงสร้างคล้ายสวิทช์ปุ่มกด

ภาพที 4.44 สวิทช์จาํ กัดระยะ (Limit Switch)

ภาพที 4.45 สัญลักษณ์ของสวิทช์จาํ กัดระยะ

6.3 สวิตซ์ ความดัน (Pressure Switch) จะใช้ในงานทีตอ้ งการควบคุมความดันตามต้องการ เช่น


อุปกรณ์ ทีทาํ งานด้วยลมหรื อนํามัน ได้แก่ เครื องมืองานช่ างเชื อม เครื องมืองานกล ระบบการหล่อลื นทีใช้
ความดันสู งและมอเตอร์ ขบั ปั มนําการทํางานของสวิทช์ความดันจะใช้หลักการของไดอะแฟรมควบคุ มการ
ทํางานของสวิทช์ เช่น ถ้ามีความดันสู งเกินกว่าทีตงั ไว้สวิทช์จะตัดวงจรหรื อถ้าความดันตําสวิตซ์ ก็จะต่อวงจร
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 99
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

99
ภาพที 4.46 สวิทช์ควบคุมการไหลแบบต่างๆ

6.4 สวิทช์ เลือก (Selector switch ) หรื อสวิทช์ ลูกศร มีใช้มากในงานทีตอ้ งควบคุมการทํางาน
ด้วยมือ แสดงตัวอย่างของสวิทช์เลือกแบบ 3 ตําแหน่ง และตารางแสดงการทํางานของสวิทช์เลือกเครื องหมาย
X ในตารางแทนด้วยหน้าสัมผัสปิ ด สวิทช์เลือกมี 3 ตําแหน่งคือตําแหน่งหยุด (Off) ตําแหน่งมือ (Hand ) และ
ตําแหน่งอัตโนมัติ (Automatic) ในตําแหน่งหยุดหน้าสัมผัสทุกอันจะปิ ดหมดส่ วนในตําแหน่งมือหน้าสัมผัส A1
จะปิ ด หน้าสัมผัส A2 จะเปิ ดและในตําแหน่งอัตโนมัติหน้าสัมผัส A2 จะปิ ดหน้าสัมผัส A1 จะเปิ ด

ภาพที 4.47 สัญลักษณ์ของสวิทช์เลือกหรื อสวิทช์ลูกศ

ภาพที 4.48 สวิทช์เลือกแบบต่างๆ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 100
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง
6.5 สวิทช์ โยก (Drum Switch) หรื อโรตารี แคมสวิทช์ (Rotary Camp SWitch) ประกอบด้วยชุ ด
หน้าสัมผัสที ติดตังบนแกนฉนวนที สามารถเคลื อนที ได้ โดยเมื อหมุ นแกนไปก็จะทําให้หน้าสัม ผัสเกิ ดการ
เปลียนแปลงเป็ นหน้าสัมผัสปิ ดหรื อหน้าสัมผัสเปิ ดได้

ภาพที 4.49 สวิทช์โยกแบบต่างๆ


6.6 โซลีนอยด์ ว าล์ ว (Solenoid Valve) เป็ นอุ ป กรณ์ ส วิ ท ช์ ที อาศัย หลัก การทํา งานของ
แม่เหล็กไฟฟ้ าทํางานร่ วมกับกลไกโดยใช้การป้ อนไฟเป็ นตัวกําหนดเงื อนไขในการทํางานควบคุมให้ลิ นกลไก
ปิ ดหรื อเปิ ดได้ อุปกรณ์ทีใช้โซลีนอยด์วาล์วควบคุม ได้แก่ วาล์วนํา เบรก และคลัตช์ เป็ นต้น

ภาพที 4.50 โซลีนอยด์วาล์ว(Solenoid Valve)


7. ตัวตังเวลา (Time Delay Relay or Timer) เป็ นรี เลย์ทีใช้งานในวงจรควบคุมอีกชนิ ดหนึ ง แต่ตงั เวลา
ทํางานของคอนแทคได้ คือ จะให้ต่อหรื อตัดวงจรภายในเวลาเท่าใด ภายหลังที กดสวิทช์ให้ตวั มันทํางาน ซึ งมี
อยูด่ ว้ ยกันหลายชนิด เช่น ทํางานด้วยสนามแม่เหล็ก แมคคานิค ความร้อน

ภาพที 4.51 สัญลักษณ์ของตัวตังเวลาแบบต่างๆ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 101
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง
เส้นปะและลูกศรทีเห็นแสดงถึง คอนแทครอเวลาเคลื อนทีไปทางขวา หลังจากรี เลย์ตงั เวลา
หยุดทํางานแล้วระบบภายในจะดันให้ คอนแทคกลับไปอยู่ทีเดิมตามทิศทางของลูกศร การนับจํานวนรี เลย์ตงั
เวลา ให้นบั ต่อจากจํานวนของแมกเนติค และรี เลย์ช่วย โดยกําหนดให้มีตวั อักษรตามหลังเลขจํานวนเป็ นตัว T
เช่น K3T, K4T (T = Time Delay Relay/Timer)
รี เลย์ตงั เวลาการทํางานของคอนแทคมีหลายชนิด ซึงแบ่งตามชนิดการทํางานของคอนแทค มี 2 แบบ คือ
1. หน่วงเวลาหลังจากจ่ายไฟเข้า เมือจ่ายไฟให้กบั รี เลย์ตงั เวลา ตําแหน่งจะอยูต่ าํ แหน่งเดิม
ก่อน เมือถึงเวลาทีตงั ไว้แล้วคอนแทคจึงจะเปลียน ไปทีสภาวะตรงข้าม และจะค้างอยูใ่ นตําแหน่งนันจนกว่าจะ
หยุดจ่ายไฟให้กบั รี เลย์
2. หน่วงเวลาหลังจากเอาไฟออก เมือจ่ายไฟให้กบั รี เลย์ตงั เวลาคอนแทคจะเปลียนสภาวะ
ทันที หลังจากทีเอาไฟออกจาก Coil แล้วและถึงเวลาทีตงั ไว้คอนแทคจึงจะกลับมาอยูส่ ภาวะเดิม รี เลย์ต งั เวลา
แบบอิเล็กทรอนิกส์ และแบบใช้มอเตอร์ ขบั ไม่สามารถทํางานแบบนี ได้
แต่ในปั จจุบนั Timer เป็ นอุปกรณ์ตงั เวลาควบคุมให้เอาท์พุททํางานตามเงื อนไขและเวลาทีตงั
ไว้ ซึ งมีหลายบริ ษทั ทีทาํ การผลิต และของแต่ละบริ ษทั ยังมีหลายรุ่ น ในแต่ละรุ่ นจะมีคุณสมบัติและชื อเรี ยก
แตกต่างกันออกไป ขึนอยูก่ บั คุณสมบัติและลักษณะการใช้งาน

ภาพที 4.52 ตัวตังเวลาแบบดิจิตอล (Digital Timer)

ภาพที 4.53 ตัวตังเวลาแบบสตาร์ – เดลต้า (Stat - Delta Timer)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 102
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

ภาพที 4.54 ตัวตังเวลาแบบทวิน (Twin Timer)

ภาพที 4.55 ตัวตังเวลาแบบโซลิดสเตท ( Solid-state Timer )

ภาพที 4.56 ตัวตังเวลาแบบ 24 ชัวโมง/สัปดาห์(24 Hour/Weekly Time Switch)

ภาพที 4.57 ตัวตังเวลาแบบอะนาล็อก (Mechatronic Analog Timer )


8. สายจ่ ายไฟวงจรกําลัง (Power Main) แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
8.1 สายจ่ายไฟหลัก (Main) คือ สายเมนที ต่อไปยังมอเตอร์ หลายๆ ตัว ขนาดของสายเมน
จะต้องทนกระแสได้ไม่นอ้ ยกว่า 125% หรื อ 1.25 เท่า ของผลรวมของกระแสมอเตอร์ ทีมีอยูท่ งั หมดขณะรับโหลดเต็มที
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 103
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

8.2 สายจ่ายไฟย่อยของมอเตอร์ คื อ สายที ต่อแยกออกจากสายเมนผ่านสวิทช์ตดั วงจรกระแส


เกิ นไปยังมอเตอร์ แต่ละตัว ขนาดของสายจ่ายไฟย่อยทีต่อไปยังมอเตอร์ เพียงตัวเดี ยว จะต้องทนกระแสได้ไม่
น้อยกว่า 125% หรื อ 1.25 เท่า ของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที ในกรณี ทีมอเตอร์ นนั มีหลายความเร็ ว
ขนาดของกระแสทีนาํ มาคิดหาขนาดของสาย ให้ดูจากกระแสที สูงทีสุดบนแผ่นป้ าย (Name Plate)
การต่ อสายจ่ ายไฟย่ อยเข้ ากับสานเมน
ในการเขียนแบบของวงจรจ่ายไฟกําลัง จุดต่อสายจ่ายไฟย่อยของมอเตอร์ แสดงภาพข้างล่าง

ภาพที 4.58 ตัวอย่างการเขียนแบบการต่อสายไฟย่อยของมอเตอร์


สายป้องกัน (Protective Earth/PE)
สัญลักษณ์ ทีจุดต่อสายป้ องกัน (จุด PE) แสดงว่า อุปกรณ์ไฟฟ้ านันได้มีการต่อสายป้ องกัน
ไฟฟ้ ารัวเข้ากับจุด PE แล้ว
ลักษณะการต่ อสายระบบป้องกัน (PE)

ต่อไปยัง
NEUTRAL GROUNDING EARTHING (GROUNDING) FAUL VOLTAGE CIRCUIT BREAKER
ภาพที 4.59 ลักษณะการต่อสายป้ องกัน (PE)
สายไฟวงจรควบคุม
สายไฟวงจรควบคุมมีขนาดเล็ก เพราะในวงจรควบคุมอุปกรณ์ที ใช้กินกระแสไฟฟ้ าน้อย ขนาด
ของสายจึงมีขนาดเล็ก แต่ตอ้ งทนกระแสไฟฟ้ าได้สูงกว่ากระแสของฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุม ขนาดของสายที
ใช้ขึนอยูก่ บั ขนาดของวงจรว่าใช้อุปกรณ์มาก – น้อยเท่าใด
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 104
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 0: ชั วโมง
คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.5 คะแนน)
1. เซอร์ กิตเบรกเกอร์ จะเปิ ดวงจรเมือเกิดเหตุการณ์ใด
ก. แรงดันไฟฟ้ าเกินกว่าทีกาํ หนด ข. ความต้านทานมากกว่าทีกาํ หนด
ค. กําลังไฟฟ้ ามากกว่าทีกาํ หนด ง. กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเกินกว่าทีกาํ หนด
2. ข้อใดไม่ใช่หลักการทํางานของเซอร์ กิตเบรกเกอร์
ก. ทํางานด้วยความร้อน ข. ทํางานด้วยอํานาจแม่เหล็ก
ค. ทํางานด้วยความเย็น ง. ทํางานด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์
3. เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทีนาํ มาใช้ปลดวงจรเมือเกิดการลัดวงจรคือเซอกิตเบรกเกอร์ ทีทาํ งานด้วยระบบใด
ก. ทํางานด้วยความร้อน ข. ทํางานด้วยอํานาจแม่เหล็ก
ค. ทํางานด้วยความเย็น ง. ทํางานด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์
4. พิกดั กระแสของฟิ วส์คืออะไร
ก. ค่ากระแสใช้งานตําสุ ด ข. ค่ากระแสใช้งานสู งสุ ด
ค. ค่าแรงดันใช้งานสู งสุ ด ง. ค่าแรงดันใช้งานตําสุ ด
5. ฟิ วส์มีกีชนิด อะไรบ้าง
ก. 2 ชนิด คือชนิดหน่วงเวลา และชนิดขาดเร็ ว ข. 2 ชนิด คือชนิ ดขาดเร็ ว และชนิดไม่ขาด
ค. 2 ชนิด คือชนิดหน่วงเวลา และชนิดไม่ขาด ง. 2 ชนิด คือชนิ ดขาดเร็ ว และชนิดรี เซ็ต
6. ฟิ วส์ป้องกันวงจรกําลังของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ ต้องทนกระแสได้เท่าใด
ก. 3 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที ข. 2 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที
ค. 1 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที ง. 1.5 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที
7. ฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุมของมอเตอร์ ไฟฟ้ า ต้องทนกระแสได้เท่าใด
ก. มีค่ากระแสตํากว่ากระแสสู งสุ ดทีสายทนได้ ข. มีค่ากระแสมากกว่ากระแสสู งสุ ดที สายทนได้
ค. มีค่ากระแสเท่ากับกระแสสู งสุ ดที สายทนได้ ง. มีค่ากระแสตํากว่าแรงดันสู งสุ ดทีสายทนได้

ชือ ผรฝ. ว/ดวป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 105
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

8. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทาํ งานโดยอาศัยหลักการใด


ก. หลักการกดของสวิทช์ ข. หลักการทํางานของแม่เหล็กไฟฟ้ า
ค. หลักการทํางานของแม่เหล็กถาวร ง. หลักการดันของสปริ งดันกลับ
9. หน้าสัมผัสของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ แบ่งออกเป็ นกี ส่วน อะไรบ้าง
ก. 2 ส่ วน คือคอนแทคปกติเปิ ด และคอนแทคปกติปิด
ข. 3 ส่ วน คือคอนแทคปกติเปิ ด คอนแทคปกติปิด และคอนแทคเมน
ค. 2 ส่ วน คือคอนแทคเมน และคอนแทคช่วย
ง. 3 ส่ วน คือคอนแทคปกติเปิ ด คอนแทคปกติปิด และคอนแทคช่วย
10. คอนแทคช่วยของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ แบ่งออกเป็ นกี แบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ คือคอนแทคแบบปกติเปิ ด และคอนแทคแบบปกติปิด
ข. 3 แบบ คือคอนแทคแบปกติเปิ ด คอนแทคแบบปกติปิด และแบบคอนแทคเมน
ค. 2 แบบ คือแบบคอนแทคเมน และแบบคอนแทคปกติเปิ ด
ง. 3 แบบ คือคอนแทคแบบปกติเปิ ด คอนแทคแบบปกติปิด และคอนแทคแบบโยกได้ 2 ทาง
11. รี เลย์ช่วยทํางานโดยอาศัยหลักการใด
ก. หลักการกดของสวิทช์ ข. หลักการทํางานของแม่เหล็กไฟฟ้ า
ค. หลักการทํางานของแม่เหล็กถาวร ง. หลักการดันของสปริ งดันกลับ
12. ในการควบคุมมอเตอร์ รี เลย์ช่วยนํามาใช้งานในส่ วนใดบ้าง
ก. วงจรกําลังเท่านัน ข. วงจรควบคุมเท่านัน
ค. วงจรกําลังมอเตอร์ ขนาดเล็กและวงจรควบคุม ง. วงจรรวม
13. ในการควบคุมมอเตอร์ นาํ โอเวอร์ โหลดรี เลย์มาใช้งานเพืออะไร
ก. ป้ องกันสายวงจรกําลัง ข. ป้ องกันสายวงจรควบคุม
ค. ป้ องกันมอเตอร์ กินกระแสเกินพิกดั ง. ป้ องกันแมกเนติคคอนแทคเตอร์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 106
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า หัวข้ อวิชา อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
งานย่ อยที 4 เวลา 4 : 0 ชั วโมง

14. การปรับตังกระแสการทริ ปของโอเวอร์ โหลด มีค่าเท่ากับเท่าใดของกระแสพิกดั ของมอเตอร์


ก. 1 เท่า หรื อ 100 % ข. 1.25 เท่า หรื อ 125 %
ค. 2 เท่า หรื อ 200 % ง. 2.25 เท่า หรื อ 225 %
15. หน้าสัมผัสของสวิทช์ปุ่มกดมีกีแบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ คือคอนแทคแบบปกติเปิ ด และคอนแทคแบบปกติปิด
ข. 1 แบบ คือคอนแทคแบบปกติเปิ ดเท่านัน
ค. 2 แบบ คือแบบคอนแทคเมน และแบบคอนแทคช่วย
ง. 1 แบบ คือคอนแทคแบบปกติปิดเท่านัน
16. ในการควบคุมมอเตอร์ สวิทช์ทีใช้ในการ Start ใช้สวิทช์สีใด
ก. แดง ข. เหลือง
ค. นําเงิน ง. เขียว
17. ในการควบคุมมอเตอร์ สวิทช์ทีใช้ในการ Stop ใช้สวิทช์สีใด
ก. แดง ข. เหลือง
ค. นําเงิน ง. เขียว
18. ลิมิตสวิทช์นาํ มาในการควบคุมมอเตอร์ ส่ วนมากเพือวัตถุประสงค์ใด
ก. จํากัดความเร็ วของมอเตอร์ ข. จํากัดระยะ หรื อระดับความสู ง – ตํา
ค. จํากัดทิศทางการหมุนของมอเตอร์ ง. จํากัดกระแสของมอเตอร์
19. Flow Switch ใช้ทาํ หน้าทีใดในวงจรควบคุมมอเตอร์
ก. ควบคุมให้ของแข็งเคลือนที ข. ควบคุมให้ของแข็งหยุดเคลือนที
ค. ควบคุมการไหลของของเหลวและอากาศ ง. ป้ องกันมอเตอร์ ทาํ งานเมือมีของเหลวเข้ามอเตอร์
20. คอนแทคของรี เลย์ตงั เวลามีหลักการทํางานแบบใดบ้าง
ก. หน่วงเวลาหลังจากจ่ายไฟเข้า Coil ข. หน่วงเวลาหลังจากตัดไฟออกจาก Coil
ค. คอนแทคทํางานทันทีเมือจ่ายไฟเข้า Coil ง. ถูกทัง ก และ ข
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 107
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

วัตถุประสงค์ :
1. ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอธิ บายการเกิดสนามแม่เหล็กหมุนในมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส ได้
อย่างถูกต้อง
2. ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กบอกชื อส่ วนประกอบของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส ได้อย่างถูกต้อง
3. เพือให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
ได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอน : 1. บรรยาย
2. ดูรูปภาพจากของจริ ง
หัวข้ อสํ าคัญ : - หลักการทํางานและส่ วนประกอบของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส
- การอ่านเนมเพลทและการต่อมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟสใช้งาน
- ชนิดของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส และการวิเคราะห์ปัญหาของมอเตอร์ เบืองต้น
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
การมอบหมายงาน :
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้ และตอบคําถามในใบทดสอบ
การวัดผล :
ตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยน
หนังสื ออ้ างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, -.
วิจิตร บุญยธโรกุล. ระบบควบคุมมอเตอร์ . พิมพ์ครังที 5. กรุ งเทพฯ : ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัดโรงพิมพ์แปซิ ฟิค.
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 108
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

มอเตอร์ ไฟฟ้าคืออะไร
มอเตอร์ ไฟฟ้ า หมายถึง เครื องกลไฟฟ้ าชนิดหนึ งทีเปลียนแปลงพลังงานไฟฟ้ ามาเป็ นพลังงานกล
มอเตอร์ ไฟฟ้ าที ใช้พลังงานไฟฟ้ าเปลี ยนเป็ นพลังงานกลมี ท งั พลังงานไฟฟ้ ากระแสสลับและพลังงานไฟฟ้ า
กระแสตรง ตัวอย่างมอเตอร์ ไฟฟ้ าทีใช้งานทัวไป เช่น พัดลม สว่านไฟฟ้ า
มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบ่ งออกเป็ น 2 แบบ ดังนี
1. อินดักชั นมอเตอร์ 3 เฟส (Three Phase Induction Motor)
เป็ นมอเตอร์ ทีมีคุณสมบัติที ดีคือ มี ความเร็ วรอบคงทีเนื องจากความเร็ วรอบอิ นดักชันมอเตอร์
ขึ นอยู่กบั ความถี (Frequency) ของแหล่ ง กํา เนิ ดไฟฟ้ ากระแสสลับ เป็ นมอเตอร์ ที มี ราคาถู ก โครงสร้ า งไม่
ซับซ้อน สะดวกในการบํารุ งรักษา และการปรับความเร็ วได้โดยใช้เครื องควบคุ มความเร็ วแบบอินเวอร์ เตอร์
(Inverter) สามารถควบคุมความเร็ ว (Speed) ได้ตงั แต่ศูนย์จนถึงความเร็ วตามพิกดั ของมอเตอร์ นิ ยมใช้เป็ นต้น
กําลังในโรงงานอุ ตสาหกรรม ขับเคลื อนลิ ฟท์ ขับเคลื อนสายพานลําเลี ยง ขับเคลื อนเครื องจักรไฟฟ้ า เช่ น
เครื องไส เครื องกลึง มอเตอร์ อินดักชันมี 2 แบบ แบ่งตามลักษณะส่ วนหมุน (Rotor)

ภาพที 5.1 อินดักชันมอเตอร์ 3 เฟส


ส่ วนประกอบของอินดักชั นมอเตอร์ 3 เฟส
1. โรเตอร์ (Rotor) หรื อส่ วนหมุน ประกอบด้วยส่ วนสําคัญ คือ แกนเหล็ก (Core) ทําจากแผ่น
เหล็กบางๆ อัดเป็ นปึ ก เรี ยกว่า แกนเหล็กลามิเนต (Laminate Iron Core) และมีเพลาร้อยทะลุออกมา เพือยึดให้
แน่ นรอบๆ โรเตอร์ นี จะมี ร่องไปตามทางยาว และในร่ องนี จะมี ทองแดงหรื ออลูมิเนี ยมเส้ นโตๆ ฝั งอยู่
โดยรอบ หัวท้ายของทองแดงหรื ออลูมิเนียมเหล่านี เชื อมยึดติดกับวงแหวนทองแดงหรื ออลูมิเนี ยม จึงมีลกั ษณะ
คล้ายกรงกระรอก ดังนันจึงมีชือเรี ยกว่า โรเตอร์ กรงกระรอก (Squirrel cage rotor)
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 109
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

6
2. สเตเตอร์ (Stator) หรื อส่ วนนิง ประกอบด้วยแผ่นเหล็กบางๆ ปั มเป็ นช่องสลอท (Slot) ไว้อดั
อยูใ่ นเฟรม (Frame) เรี ยกว่า สเตเตอร์ เฟรม (Stator Frame) ซึ งสร้างมาจากเหล็กหล่อ (Cast Iron) หรื อเหล็ก
เหนียว (Steel) และทีสเตเตอร์ นีจะมีขดลวด 3 ชุด วางห่ างกัน 120๐ ทางไฟฟ้ า เรี ยกว่า ขดลวดสนามแม่เหล็ก
หรื อสเตเตอร์ คอยล์ (Stator Coil) ขดลวดทัง 3 นี จะทําหน้าทีสร้างสนามแม่เหล็กหมุนขึน

ภาพที 5.3 รู ปแสดงสเตเตอร์ หรื อส่ วนนิ งของอินดักชันมอเตอร์

3. ฝาปิ ดหน้ า-หลัง (End Plate) ฝาปิ ดหัวท้ายทัง 2 ข้าง ของมอเตอร์ ส่วนมากทํามาจาก
เหล็กหล่อ หรื อเหล็กเหนี ยวยึดอยูก่ บั Stator Frame ด้วยสลักเกลียว และยังมีลูกปื น (Bearing) สําหรับรองรับ
เพลาเพือรักษาส่ วนหมุนให้หมุนตรงอยูใ่ นแนวศูนย์กลางของ Rotor พอดี และยังเป็ นการป้ องกันไม่ให้โรเตอร์
สัมผัสกับส่ วนนิง ซึ งอาจทําให้ขดลวดไหม้ได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 110
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

ภาพที 5.4 รู ปแสดงส่ วนประกอบทังหมดของอินดักชันมอเตอร์

หลักการทํางานของอินดักชั นมอเตอร์ 3 เฟส


อินดักชันมอเตอร์ 3 เฟส สามารถทํางานได้โดย เมือจ่ายไฟฟ้ า 3 เฟส เข้าขดลวดทัง 3 ชุ ด ของ
มอเตอร์ จะทําให้เกิดสนามแม่เหล็กหมุนขึ นทีสเตเตอร์ สนามแม่เหล็กหมุนนี จะไปเหนี ยวนําแท่งตัวนําทีฝังอยู่
บนผิวของโรเตอร์ (Squirrel - cage bar) ทําให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี ยวนํา (Induced emf) ขึน และเนื องจาก
ปลายทัง 2 ข้างของแท่งตัวนํา ถูกลัดวงจรถึงกันหมด จึงทําให้เกิดกระแสไฟฟ้ าเหนี ยวนําไหลวนอยู่ในแท่ ง
ตัวนํา กระแสไฟฟ้ านี ทาํ ให้เกิ ดเส้ นแรงแม่ เหล็ กขึ นรอบๆ ตัวนํา ซึ ง เส้ นแรงแม่ เหล็ก ที เกิ ดขึ นนี จะทํา
ปฏิ กิริยาต้านกับ สนามแม่ เหล็ก หมุ น ทํา ให้โรเตอร์ หมุ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกับสนามแม่ เหล็ กหมุ น โดยมี
ความเร็ วรอบตํากว่าสนามแม่เหล็กหมุนเล็กน้อย เพือทําให้เกิดการเหนียวนําตลอดเวลา
ดังนัน อินดักชันมอเตอร์ 3 เฟส จึงสามารถสตาร์ ทตัวเองขณะมีโหลดได้ โดยมีแรงบิด (Torque)
ทีเหมาะสมไม่มีการกระชาก
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 111
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

ภาพที 5.5 แสดงทิศทางการหมุนของโรเตอร์

ภาพที 5.6 แสดงหลักการเบืองต้นของอินดักชันมอเตอร์

จากภาพที 5.6 ถ้าใช้แม่เหล็กไฟฟ้ าซึ งสามารถหมุนรอบตัวเองได้อย่างอิสระ นํามาวางกึ งกลาง


ระหว่างขดลวดทังสามแทนเข็มทิศ เมื อจ่ายไฟฟ้ าเข้าไปในขดลวดทัง 3 ชุ ด แม่เหล็กไฟฟ้ าก็จะหมุนในทิศทาง
ตามเข็มนาฬิกา โดยไม่ตอ้ งช่วยสตาร์ ทในช่วงแรก การทีแม่เหล็กไฟฟ้ าหมุนไปได้ก็อาศัยหลักการเดียวกันกับที
ใช้เข็มทิศ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 112
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

ซิงโครนัสมอเตอร์ 3 เฟส (Three Phase Synchronous Motor)


ซิ งโครนัสมอเตอร์ เป็ นมอเตอร์ ขนาดใหญ่ทีสุด มีขนาดพิกดั ของกําลังไฟฟ้ าตังแต่ 150 kW (200
hp) จนถึง 15 MW (20,000 hp) มีความเร็ วตังแต่ 150 ถึง 1,800 รอบ/นาที (RPM)

ภาพที 5.7 รู ปแสดงซิ นโครนัสมอเตอร์

ส่ วนประกอบของซิงโครนัสมอเตอร์ 3 เฟส
1. โรเตอร์ (Rotor) ของซิ งโครนัสมอเตอร์ เป็ นแบบขัวแม่เหล็กยืน (Salient Poles) และมีขดลวด
พัน ข้า งๆ ขัว แม่ เ หล็ ก ยื น เหล่ า นัน ขดลวดสนามแม่ เ หล็ ก ที พ นั รอบขัว แม่ เ หล็ ก ยื น ต่ อ กับ แหล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า
กระแสตรงภายนอก เพือสร้ างขัวแม่เหล็กขึนทีตวั โรเตอร์ การทํางานของซิ งโครนัสมอเตอร์ เมื อจ่ายไฟฟ้ า
กระแสสลับ 3 เฟส ให้กบั สเตเตอร์ ของซิ งโครนัสมอเตอร์ จะเกิดสนามแม่เหล็กหมุนเนื องจากตัวหมุน (Rotor)
ของซิ งโครนัสมอเตอร์ เป็ นแบบขัวแม่เหล็กยืน และมีขดลวดสนามแม่เหล็กพันอยูร่ อบๆ โดยใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ า
กระแสภายนอก เมือจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงให้กบั โรเตอร์ จะทําให้เกิดขัวแม่เหล็กทีโรเตอร์ ขึน ขัวแม่เหล็กนี จะ
เกาะตามการหมุ นของสนามหมุ นของสเตเตอร์ ทําให้ม อเตอร์ หมุ นไปด้วยความเร็ วเท่ ากับความเร็ วของ
สนามแม่เหล็กทีสเตเตอร์

ภาพที 5.8 รู ปแสดงโรเตอร์ หรื อส่ วนหมุนของซิ นโครนัสมอเตอร์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 113
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

2. สเตเตอร์ (Stator) หรื อส่ วนนิง เหมือนกับสเตเตอร์ ของอินดักชันมอเตอร์ ทุกอย่าง

ภาพที 5.9 รู ปแสดงสเตเตอร์ หรื อส่ วนนิ งของซิ นโครนัสมอเตอร์

3. ฝาปิ ดหน้ า-หลัง (End Plate) เหมือนกับฝาปิ ดหน้า-หลัง ของอินดักชันมอเตอร์ ทุกอย่าง

หลักการเบืองต้ นของซิงโครนัสมอเตอร์
หลักการเบื องต้นของซิ งโครนัสมอเตอร์ จะพบว่ามี ขอ้ จํากัด คือ ไม่สามารถสตาร์ ทตัวเองได้
(ต้องมี การช่ วยสตาร์ ท ) ถ้าเปลี ยนจากแม่เหล็กไฟฟ้ ามาเป็ นกรงซี ทองแดงรู ปทรงกระบอก ซึ งเรี ยกว่า กรง
กระรอก เมือจ่ายไฟฟ้ าเข้าไปในขดลวดทัง 3 ชุด กรงกระรอกก็จะหมุนได้เช่นเดียวกับแม่เหล็กไฟฟ้ า
การทีกรงกระรอกหมุนได้ เพราะเกิ ดจากการเหนี ยวนําของสนามแม่เหล็กหมุนที มีต่อกรงกระ
รอก ซึ งเป็ นหลักการเบืองต้นของอินดักชันมอเตอร์ 3 เฟส ดังภาพที 5.10

ภาพที 5.10 แสดงหลักการเบืองต้นของซิ งโครนัสมอเตอร์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 114
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

ก่ อนที เราจะทํา การต่ อมอเตอร์ ใ ช้ง าน นอกจากส่ วนประกอบต่ างๆ แล้ว จํา เป็ นจะต้องรู ้ จกั
รายละเอียดเกียวกับมอเตอร์ เสี ยก่อน รายละเอียดทีสาํ คัญ คือ
แผ่ นป้าย (Name plate) บนตัวมอเตอร์ จะมี Name plate ติดอยู่ เมือจะต่อใช้งานหรื อซ่ อมบํารุ ง
จําเป็ นต้องอ่าน Name plate นีให้เข้าใจเสี ยก่อน
Name plate นี จะบอกถึ งลักษณะและคุ ณสมบัติท ังหมดของมอเตอร์ เช่ น ลักษณะเฉพาะ
วิธีใช้งาน การต่อขัวมอเตอร์ เป็ นต้น ตัวเลข และตัวหนังสื อทีติดอยูน่ นั ล้วนมีความหมายทีสาํ คัญทังสิ น

วิธีอ่าน Name plate ของมอเตอร์ เหนียวนํา 3 เฟส

ภาพที 5.11 แสดงตัวอย่าง Name plate ของมอเตอร์

ภาพที 5.12 การต่อขัวของมอเตอร์ ทีแรงดันระดับต่างๆ ในระบบไฟฟ้ า 3 เฟส


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 115
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

อักษรกํากับขัวของมอเตอร์
อักษรกํากับขัวของมอเตอร์ ชนิดต่างๆ ให้ศึกษาจากบทที 3

การต่ อขัวมอเตอร์ 3 เฟส สํ าหรับใช้ งาน (Three phase motor connection)


การต่อขดลวดมอเตอร์ 3 เฟสสามารถต่อได้ 2 แบบ คือแบบสตาร์ (Y) และแบบเดลต้า ซึ ง
การพิจารณาการต่อขดลวดของมอเตอร์ แบบใดนัน ต้องคํานึงถึง
1. แหล่งจ่ายไฟฟ้ า (Power supply)
2. พิกดั แรงดันทีขดลวดของมอเตอร์ (Rateed voltage of the coil)
ตัวอย่างเช่น มอเตอร์ ตวั ที 1 มีแผ่นป้ ายบอกว่า 220/380 V. (พิกดั แรงดันทีขดลวดเท่ากับ
220 โวลท์) มอเตอร์ ตวั ที 2 มีแผ่นป้ ายบอกไว้ 380/660 V. (พิกดั แรงดันทีขดลวดเท่ากับ 380 โวลท์) และมี
แหล่งจ่ายไฟฟ้ าระบบ 3 เฟส 4 สาย (3N 380/220 V 50 Hz)
ดังนันมอเตอร์ ตวั ที 1 ต้องต่อขดลวดแบบสตาร์ และมอเตอร์ ตวั ที 2 ต้องต่อขดลวดแบบ
เดลต้า ดังภาพที 5.13 และภาพที 5.14

ภาพที 5.13 การต่อขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส ภาพที 5.14 การต่อขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส


220/380 V แบบสตาร์ 380/660 V แบบเดลต้า
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 116
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

การวิเคราะห์ ปัญหาของมอเตอร์ เบืองต้ น


ในงานควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า จําเป็ นจะต้องศึกษาหาสาเหตุต่างๆ ทีทาํ ให้มอเตอร์ ไม่ทาํ งาน หรื อ
ทํางานผิดปกติ และจะต้องสามารถแก้ปัญหาที เกิดขึนได้อย่างถูกต้อง ในทีนีจะขอยกตัวอย่างปั ญหาทีมกั พบกัน
บ่อยในการทํางานกับมอเตอร์ ไฟฟ้ า ดังนี
- มอเตอร์ มีเสี ยงคราง ไม่หมุน เกิดการกระตุก ปั ญหาเกิดจากการต่อขัวมอเตอร์ เข้ากับแหล่งจ่าย
กระแสไฟฟ้ าไม่ถูกต้อง ทําให้กระแสไฟฟ้ าไปจ่ายให้ขดลวดไม่ครบวงจร ดัง ภาพที 5.15

ภาพที 5.15 แสดงการต่อขัวมอเตอร์ ไม่ถูกต้อง


- มอเตอร์ ไหม้ สาเหตุส่วนมากมาจากอุปกรณ์ป้องกันไม่ทาํ งาน เช่น ตังกระแสตัดวงจรสู งเกิน
กระแสพิกดั ของมอเตอร์ มากเกินไป, ต่อแหล่งจ่ายไฟผิด

ภาพที 5.16 แสดงการต่อแหล่งจ่ายไฟไม่ถูกต้อง


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 117
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชั วโมง

- ขณะทํางานมอเตอร์ หยุดทํางานบ่อยครั ง เนื องจากโอเวอร์ โหลดตัดการทํางาน สาเหตุมาจาก


ตังกระแสการตัดของโอเวอร์ โหลดตํากว่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์ ใช้โอเวอร์ โหลดตํากว่ากระแสพิกดั ของ
มอเตอร์ ใส่ โหลดมากเกินกําลังของมอเตอร์ ลูกปื นของมอเตอร์ แตก ขดลวดของมอเตอร์ ลดั วงจร
- เมื อต่อขัวมอเตอร์ ผิดต้องวัดหาขัวของมอเตอร์ เพื อทําการต่อใหม่ให้ถู กต้อง ทํา โดยใช้มลั ติ
มิเตอร์ วดั ความต้านทานหาคู่ของขดลวด ในการวัดจะต้องวัดได้เพียง 3 คู่เท่านัน ถ้าวัดแล้วได้เกิน 3 คู่ แสดง
ว่าขดลวดของมอเตอร์ ลดั วงจร (Short Turn)
- การจ่อขัวมอเตอร์ ไม่ถูกต้องตามทีกาํ หนดไว้บนเนมเพลทก็เป็ นอีกปั ญหาหนึ งทีทาํ ให้มอเตอร์
ไหม้ได้
- การใช้มอเตอร์ ขนาดเล็กเป็ นต้นกําลังสําหรับขับโหลดที มีขนาดใหญ่เกินกําลังของมอเตอร์ จะ
ทําให้อายุการใช้งานของมอเตอร์ สันลง หรื อทํางานไม่ได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 118
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชัวโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.5 คะแนน)


1. มอเตอร์ ไฟฟ้ าคืออะไร
ก. เครื องมือเปลียนพลังงานกลให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า.
ข. เครื องมือเปลียนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานกล
ค. เครื องมือเปลียนพลังงานกลให้เป็ นพลังงานหมุน
ง. เครื องมือเปลียนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานหมุน
2. ก่อนทําการต่อขัวมอเตอร์ จะศึกษาได้จากทีใด
ก. หนังสื อ ข. เนมเพลทของมอเตอร์
ค. แหล่งจ่ายแรงดัน ง. ตัวอย่างทีต่อใช้ตามโรงงาน
3. อักษรกํากับขัวมอเตอร์ 3 เฟส ความเร็ วเดียว มีอะไรบ้าง บอกมาทังแบบเก่าและแบบใหม่
ก. แบบเก่า U1,U2 V1,V2 W1,W2 / แบบใหม่ U,X V,Y W,Z
ข. แบบเก่า U1,V2 V1,W2 W1,U2 / แบบใหม่ U,Z V,X W,Y
ค. แบบเก่า U2,U1 V2,V1 W2,W1 / แบบใหม่ X,U Y,V Z,W
ง. แบบใหม่ U1,U2 V1,V2 W1,W2 / แบบเก่า U,X V,Y W,Z
4. การต่อขัวมอเตอร์ 3 เฟส ทีกาํ หนดแรงดันไฟฟ้ าไว้ที 220/380 V. ความถี 50/60 Hz. ต้องต่อแบบใด
เมือมีแหล่งจ่าย 220 V.
ก. สตาร์ – เดลต้า ข. สตาร์
ค. เดลต้า ง. ถูกทัง ข และ ค
5. การต่อขัวมอเตอร์ 3 เฟส ทีกาํ หนดแรงดันไฟฟ้ าไว้ที 380/660 V. ความถี 50/60 Hz. ต้องต่อแบบใด
เมือมีแหล่งจ่าย 380 V
ก. สตาร์ – เดลต้า ข. สตาร์
ค. เดลต้า ง. ถูกทัง ข และ ค
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 119
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา หลักการทํางานของมอเตอร์
หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส
ไฟฟ้ า 3 เฟส
งานย่ อยที 5 เวลา 2 : 0 ชัวโมง

6. ส่ วนประกอบทีสาํ คัญของมอเตอร์ มี 3 ส่ วน อะไรบ้าง


ก. เนมเพลท, พูลเลย์, ลูกปื น ข. โรเตอร์ , ลูกปื น, เนมเพลท
ค. สเตเตอร์ , เนมเพลท, ฝาปิ ดหัว – ท้าย ง. โรเตอร์ , สเตเตอร์ , ฝาปิ ดหัว – ท้าย
7. เนมเพลทของมอเตอร์ มีความสําคัญอย่างไร
ก. บอกรายละเอียดคุณสมบัติและคุณลักษณะของมอเตอร์
ข. บอกลักษณะการพันขดลวดของมอเตอร์
ค. บอกวิธีการต่อขดลวด
ง. บอกขนาดแรงดันและกระแสไฟฟ้ า
8. อักษรกํากับขัวของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส ชุดทีหนึงคือข้อใด
ก. ต้นขดลวดคือ U1 ปลายขดลวดคือ V2 ข. ต้นขดลวดคือ U1 ปลายขดลวดคือ U2
ค. ต้นขดลวดคือ U ปลายขดลวดคือ X ง. ถูกทัง ข และ ค
9. สาเหตุใดต่อไปนี ทีทาํ ให้มอเตอร์ ไหม้
ก. ตังกระแสของอุปกรณ์ป้องกันสู งเกินพิกดั กระแสของมอเตอร์
ข. ตังกระแสของอุปกรณ์ป้องกันตํากว่าพิกดั กระแสของมอเตอร์
ค. ต่อกระแสไฟฟ้ าให้ขดลวดไม่ครบวงจร
ง. ลืมต่อสายนิวตรอลให้กบั ขดลวดของมอเตอร์

10. ถ้าวัดความต้านทานขดลวดของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส ได้เกิน 3 คู่แสดงว่า


ก. มอเตอร์ ใช้งานได้ปกติ
ข. ขดลวดของมอเตอร์ เกิดการลัดวงจร
ค. ลูกปื นแตก
ง. มอเตอร์ เกิดโอเวอร์ โหลด
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 120
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ธรรมดา ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการสตาร์ ทมอเตอร์ โดยตรงได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการสตาร์ ทมอเตอร์ โดยตรงได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้า รั บ การฝึ กสามารถอธิ บ ายหน้า ที ข องส่ วนประกอบต่ า งๆ ของวงจรสตาร์ ท มอเตอร์
โดยตรงได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอน : 1. บรรยาย
2. สาธิ ต
3. ดูรูปภาพ และฝึ กปฏิบตั ิจากของจริ ง
หัวข้ อสํ าคัญ : - การสตาร์ ทมอเตอร์ โดยตรง
- การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
3. ตูส้ วิทช์บอร์ ดทีมีระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย
4. มอเตอร์ 3 เฟส
การมอบหมายงาน :
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้ และตอบคําถามในใบทดสอบ
การวัดผล :
ตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
หนังสื ออ้ างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 121
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ธรรมดา ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสหรือการสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส (Three phase motor starting)


มอเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ทีเปลียนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานกลมอเตอร์ ใช้กระแสจํานวนมากใน
การเอาชนะแรงเฉื อยขณะหยุดนิ ง จากนันจะต้องมีการควบคุ มให้มอเตอร์ ทาํ งานและหยุดได้อย่างปลอดภัย
รวมทังความปลอดภัยต่อทรัพย์สิน และต่อผูป้ ฏิ บตั ิงานด้วย การควบคุ มมอเตอร์ ยงั มีหลายประเภททังการ
ควบคุมด้วยมือ การควบคุมกึงอัตโนมัติ และการควบคุมอัตโนมัติ ในการสตาร์ ทมอเตอร์ ทีจะกล่าวถึงต่อไปนี
เป็ นการสตาร์ ทมอเตอร์ โดยไม่ลดกระแสหรื อการสตาร์ ทแบบสตาร์ ทตรง (Direct Start) ซึ งเป็ นการสตาร์ ทอิน
ดักชันมอเตอร์ 3 เฟส แบบโรเตอร์ กรงกระรอก และเป็ นมอเตอร์ ความเร็ วเดียว มีขนาดไม่เกิน 7.5 กิโลวัตต์
ดังนันในการสตาร์ ทมอเตอร์ จึงจําเป็ นจะต้องมีอุปกรณ์ป้องกันความเสี ยหายที จะเกิดกับมอเตอร์
การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ ทตรง (Direct start) การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบนี เป็ นพืนฐานในการ
เริ มเดินมอเตอร์ มีอุปกรณ์ทีสามารถนํามาใช้ในการสตาร์ ทได้หลายอย่าง เช่น คัทเอาท์ 3 เฟส เซอร์ กิตเบรกเกอร์
อินเตอร์ รัพเตอร์ สวิทช์ (Interrupter switch) สวิทช์ป้องกันมอเตอร์ (Motor - protection switch) เป็ นต้น การ
สตาร์ ทแบบนีไม่ค่อยนิยมใช้ เพราะอุปกรณ์บางอย่างไม่มีชุดป้ องกันมอเตอร์ โดยตรง และต้องใช้คู่กบั อุปกรณ์
ชนิดอืน เช่น ฟิ วส์ และยังมีขอ้ เสี ยอีกอย่าง คือ เกิดการอาร์ คขณะสตาร์ ท ควรใช้วธิ ี อื นจะดีกว่า
1. การสตาร์ ทมอเตอร์ โดยใช้ อินเตอร์ รัพเตอร์ สวิทช์ (Interrupter switch) อินเตอร์ รัพเตอร์
สวิทช์ เป็ นสวิทช์ทีติดตังอยูบ่ นตูส้ วิทช์บอร์ ด ซึ งอาจเป็ นแคมหรื อดรัมสวิทช์ ซึ งไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอยูใ่ นตัว
ต้องใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์อืนเสมอ เช่น ฟิ วส์ ป้ องกันการลัดวงจรและการเกิ ดโอเวอร์ โหลดของมอเตอร์

ภาพที 6.1 การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ ทตรง (Direct Start) ด้วยอินเตอร์ รัพเตอร์ สวิทช์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 122
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ธรรมดา ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

2. การสตาร์ ทมอเตอร์ ด้วยสวิทช์ ป้องกันมอเตอร์ (Motor protection switch) เป็ นสวิทช์ทีมี


อุปกรณ์สําหรับป้ องกันกระแสลัดวงจร (Short circuit current) และป้ องกันกระแสเกิน (Over current) ทีเกิด
จากมอเตอร์ ดังนันเมือใช้งานจึงไม่ตอ้ งใช้ร่วมอุปกรณ์อื น และจําเป็ นต้องเลื อกขนาดของสวิทช์ให้เหมาะสม
กับขนาดกระแสพิกดั ของมอเตอร์
การทํางานของสวิทช์ เมื อกดสวิทช์ต่อวงจรมอเตอร์ เข้ากับแหล่งจ่ ายมอเตอร์ จะทํางาน หาก
มอเตอร์ ทาํ งานเกินกําลัง (Overload) ซึ งทําให้มีกระแสไหลผ่านขดลวดของมอเตอร์ มากเกินกระแสพิกดั สวิทช์จะ
ทํางานโดยการตัดมอเตอร์ ออกจากแหล่งจ่าย ถ้าต้องการให้มอเตอร์ ทาํ งานอีกต้องตรวจหาสาเหตุของปั ญหาก่อน

ภาพที 6.2 การสตาร์ ทมอเตอร์ ดว้ ยสวิทช์ป้องกันมอเตอร์

3. การสตาร์ ทมอเตอร์ ด้วยคัทเอาท์ (Cut-out) นิ ยมใช้กบั มอเตอร์ ขนาดเล็กเพราะถ้าใช้กบั


มอเตอร์ ขนาดใหญ่จะมีการอาร์ คมากระหว่างหน้าสัมผัส (Contact) ของคัทเอาท์ หรื อในขณะตัด-ต่อวงจรอาจ
ทําให้หน้าสัมผัสหลอมละลายทําให้ไม่สามารถต่อหรื อตัดวงจรได้อีก
การทํางานของคัทเอาท์ เมื อโยกคันโยกขึ น หน้า สั มผัส จะต่ อมอเตอร์ เข้า กับ แหล่ ง จ่ า ย ถ้า
ต้องการให้มอเตอร์ หยุดหมุน ให้โยกคันโยกลง วิธีนีไม่เหมาะสมทีจะนํามาใช้งานเพราะไม่มีอุปกรณ์ ป้องกัน
มอเตอร์ โดยตรงและเกิดการอาร์ ค
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 123
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ธรรมดา ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ภาพที 6.3 การสตาร์ ทมอเตอร์ ดว้ ยคัทเอาท์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 124
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ธรรมดา ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.5 คะแนน)


1. รู ปต่อไปนีรูปใดคือ Interrupter Switch
ก. ข.

ค. ง.

2. อุปกรณ์ใดทีไม่ใช่อุปกรณ์ทีใช้ในการสตาร์ ทมอเตอร์
ก. เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ข. คัทเอาท์
ค. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ง. โวลต์มิเตอร์
3. ในการสตาร์ ทมอเตอร์ อุปกรณ์ใดทีมีระบบป้ องกันกระแสเกินอยูใ่ นตัว
ก. Circuit breaker ข. Motor protection switch
ค. Magnetic contactor ง. Cut-out
4. Motor protection switch เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับป้ องกันสิ งใดในการเริ มเดินมอเตอร์
ก. ป้ องกันกระแสลัดวงจร ข. ป้ องกันกระแสเกิน
ค. ป้ องกันแรงดันเกิน ง. ถูกทัง ก และ ข
5. การเลือกใช้ Motor protection switch ควรเลือกอย่างไร
ก. เลือกให้เหมาะสมกับกระแสพิกดั ของมอเตอร์ ข. เลือกให้เหมาะสมกับกระแสของแหล่งจ่ายไฟ
ค. เลือกให้เหมาะสมกับแรงดันพิกดั ของมอเตอร์ ง. เลือกให้เหมาะสมกับแรงดันของแหล่งจ่ายไฟ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 125
ใบงานที 1
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
เบรกเกอร์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1
2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3
4. N คือ สายเส้น 0
5. PE คือ สายระบบป้ องกัน
6. F1 คือ Power Fuse
7. CB คือ Circuit Breaker
8. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 126
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
เบรกเกอร์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูร้ ับการฝึ กสามารถต่อวงจรตามแบบที กาํ หนดให้ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูร้ ับการฝึ กสามารถทดสอบการทํางานของมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง ตามขันตอน
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ : 1. AC Three Phase Motor 2. Three phase Circuit breaker
3. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 4. หางปลา เบอร์ 2.5
5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. การดัดและการตัด 1. ตัดสายไฟชนิ ด VCT ให้พอเหมาะสําหรับใช้งาน ปลายสายทุกเส้นต้องยํา
สายไฟฟ้ า ระหว่ า งตู ้ ค วบคุ ม กั บ ตู ้ ส วิ ท ช์ บ อร์ ด และระหว่ า ง หางปลาให้ เ รี ยบร้ อ ย
ตูค้ วบคุมกับมอเตอร์ ต้อ งจัด เก็ บ สายให้ เ ป็ น
2. ตัดสายไฟชนิ ด THW ให้พอเหมาะสําหรับใช้งาน ระเบียบและสวยงาม
ระหว่าง F1 กับ CB
3. การต่อวงจร 1. ก่อนทําการต่อวงจรต้องศึกษาวงจรให้เข้าใจเสี ยก่อน ระวัง การลัด วงจรของ
และใส่ หมายเลขของอุปกรณ์ลงในวงจรในใบงาน ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส ไม่
2. ต่อวงจรตามที ใบงานกําหนดและตรวจสอบความ ควรให้ปลาบสายเส้นไฟ
ถูกต้อง ดังนี L1 L2 และ L3 สัมผัส
ถึงกันโดยเด็ดขาด
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 127
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
เบรกเกอร์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

2.1 แหล่งจ่ายไฟกําลังกําหนดให้ เฟสที 1 เป็ น L1 (R)


เฟสที 2 เป็ น L2 (S) และเฟสที 3 เป็ น L3 (T)
2.2 ต่อสายกําลังเฟสที 1 เข้า F1 ตัวที 1 ออกจาก F1
ตัวที 1 ต่อเข้า CB ทีขวั หมายเลข 1 ออกจากขัวของ CB
หมายเลข 2 ต่อเข้าขัวมอเตอร์ U1(U)
2.3 ต่อสายกําลังเฟสที 2 เข้า F1 ตัวที 2 ออกจาก F1
ตัวที 2 ต่อเข้า CB ทีขวั หมายเลข 3 ออกจากขัวของ CB
หมายเลข 4 ต่อเข้าขัวมอเตอร์ V1(V)
2.4 ต่อสายกําลังเฟสที 3 เข้า F1 ตัวที 3 ออกจาก F1
ตัวที 3 ต่อเข้า CB ทีขวั หมายเลข 5 ออกจากขัวของ CB
หมายเลข 6 ต่อเข้าขัวมอเตอร์ W1(W)

4. การต่อขัวมอเตอร์ 1. ถ้าเป็ นมอเตอร์ ที มีแรงดันกําหนดบนเนมเพลท ที 1. ก่ อ นทํ า การต่ อ ขั ว


220/380 V. และแหล่งจ่ายเป็ น 220 V. 3 เฟส การ มอเตอร์ ต้องศึกษาเนม
ต่อขัวมอเตอร์ ตอ้ งต่อแบบเดลต้า (DELTA / ∆) แต่ถา้ เพลทของมอเตอร์ ใ ห้
แหล่งจ่ายเป็ น 380 V. 3 เฟส ต้องต่อแบบสตาร์ เข้าใจเสี ยก่อน
(STAR / Y) 2. ก่ อนทําการต่ อวงจร
2. ถ้าเป็ นมอเตอร์ ที มีแรงดันกําหนดบนเนมเพลท ที แล ะ ขั ว ม อเ ตอ ร์ ต้ อ ง
380/660 V. และแหล่งจ่ายเป็ น 380 V. 3 เฟส การ ศึกษาแหล่งจ่ายไฟก่ อน
ต่อขัวมอเตอร์ ตอ้ งต่อแบบเดลต้า (DELTA / ∆) ว่ า เป็ นระบบ 3 เฟส
3. การต่ อขัวมอเตอร์ แบบเดลต้า ทําโดย เมื อต่ อตาม 220 V. หรื อ 3 เฟส
หัวข้อที 3 ข้อที 2.2 - 2.4 แล้ว ให้นําปลายขัวของ 380 V. และแรงดัน ที
มอเตอร์ ทีเหลือคือ U2 (X) , V2 (Y) , W2 (Z) มาต่อ กําหนดบนเนมเพลทของ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 128
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
เบรกเกอร์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อขัวมอเตอร์ (ต่อ) รวมเข้าด้วยกันให้แน่ น แล้วพันด้วยเทปพันสายไฟให้ มอเตอร์ วา่ เป็ นระบบใด


เรี ยบร้อย 3. ในการต่อขัวมอเตอร์
4. การต่ อขัวมอเตอร์ แ บบสตาร์ ท าํ โดย เมื อ ต่ อ ตาม ชนิ ด 3 เฟส ห้ าม นํ า
หัวข้อที 3 ข้อที 2.2 - 2.4 แล้ว ให้นาํ ขัว W2 (Z) ไป สายนิ ว ตรอลไปต่ อ เข้ า
ต่อร่ วมเข้ากับขัว U1(U) นําขัว U2(X) ไปต่อร่ วมเข้า กั บ ขั ว ใดขั ว หนึ ง ของ
กับขัว V1 (V) นําขัว V2(Y) ไปต่อร่ วมเข้ากับขัว W1 มอเตอร์ โดยเด็ดขาด
(W) และที จุดต่ อสายไฟทุ ก จุ ดต้องพันด้วยเทปพัน 4. ต้อ งจ่ า ยแรงดัน ให้
สายไฟให้แน่น มอเตอร์ ครบทุกเฟส ถ้า
ขาดเฟสใดเฟสหนึ ง จะ
ทํ า ให้ ม อเตอร์ มี เ สี ยง
คราง ไม่ ห มุ น ทํา ให้
เกิ ด ความร้ อ นขึ น ที ต ัว
มอเตอร์ ถ้าจ่า ยแรงดัน
ไม่ ค รบเฟสนานๆ จะ
ทําให้มอเตอร์ ไหม้ได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 129
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
เบรกเกอร์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 5 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 3 เฟส 380 V. เข้าไปในวงจร แล้วสับสวิทช์ CB การทํางานของมอเตอร์ เป็ น
อย่างไร
ก. มอเตอร์ หยุดนิงไม่หมุน ข. มอเตอร์ หมุนแล้วหยุดทันที
ค. มอเตอร์ หมุนตลอดเวลา ง. ไม่มีขอ้ ถูก
2. ปลดสวิทช์ CB เพือตัดวงจรผลทีเกิดกับมอเตอร์ จะเป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ ค่อยๆ ลดความเร็ วลงเรื อยๆ จนหยุดนิง เพราะไม่มีแรงดันไฟฟ้ าจ่ายให้ขดลวด
ข. มอเตอร์ เปลียนทิศทางหมุน
ค. มอเตอร์ ยงั ทํางานตามปกติความเร็ วคงที
ง. มอเตอร์ หยุดหมุนทันที

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 130
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
เบรกเกอร์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, สายไฟ THW ขนาด
2 x 2.5 ตร.มม., สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 1 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 4
- ความถูกต้องของวงจร 4
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 4
- การติดตังอุปกรณ์ 4
- ความสวยงาม 4
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 5 คะแนน 10
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 131
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส
ในเครื องจักรทีใช้มอเตอร์ 3 เฟสเป็ นตัวต้นกําลัง บางครั งจําเป็ นต้องให้มอเตอร์ กลับทิศทางการ
หมุนได้ เช่น เครนยกของ เครื องกลึ ง เครื องกัด และเครื องรี ดโลหะ เป็ นต้น หลักการที จะทําให้มอเตอร์ 3
เฟส กลับทิศทางการหมุนได้ก็คือ การสลับสายเมนหรื อสายเฟสคู่ใดคู่หนึ งทีต่อเข้ามอเตอร์ ส่ วนอีกเส้นหนึ ง
ต่อไว้คงเดิม

ภาพที 6.4 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกา

ภาพที 6.5 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์ หมุนทวนเข็มนาฬิกา


การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยดรัมหรือแคมสวิทช์
การกลับทางหมุนวิธีนี จะใช้ดรัมหรื อแคมสวิทช์ ซึ งเป็ นสวิทช์ 3 ตําแหน่ ง คือ I – O – II
(Clockwise-Stop-Anti clockwise) หรื อ F – O – R (Forward-Stop-Reverse) โดยดรัมหรื อแคมสวิทช์จะเป็ นตัว
สลับสายเมนทีต่อเข้ามอเตอร์ ทําให้มอเตอร์ หมุนกลับทิศทาง กล่าวคือ เมื อดรัมหรื อแคมสวิทช์อยูใ่ นตําแหน่ง
“O” มอเตอร์ จะไม่หมุน ถ้าเปลียนตําแหน่งเป็ น I หรื อ F มอเตอร์ จะหมุนตามเข็มนาฬิกาถ้าอยูใ่ นตําแหน่ง II
หรื อ R มอเตอร์ จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา
ดรั ม หรื อ แคมสวิ ท ช์ มี ล ัก ษณะภายนอกไม่ แ ตกต่ า งกัน มากนัก แต่ ล ัก ษณะการทํา งานและ
โครงสร้างภายในจะแตกต่างกัน ลักษณะโครงสร้างดังภาพที 6.6 ในการเลือกใช้งานปั จจุบนั นิ ยมใช้แคมสวิทช์
มากกว่าดรัมสวิทช์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 132
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ภาพที 6.6 แสดงลักษณะการทํางานของดรัมหรื อแคมสวิทช์


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 133
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.5 คะแนน)
1. อุปกรณ์ใดทีมีความจําเป็ นต้องให้มีการกลับทางหมุนของมอเตอร์ ในการทํางาน
ก. เครื องกลึง ข. เครื องบดนําแข็ง
ค. เครื องปั นนําผลไม้ ง. สายพานลําเลียงทราย
2. การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส ทําได้โดยวิธีใด
ก. ย้ายทีติดตังมอเตอร์ ข. นําคาปาซิ เตอร์ มาต่อเข้าทีขดลวดทัง 3 ชุด
ค. สลับสายไฟทีต่อเข้ามอเตอร์ ทุกเฟส ง. สลับสายเฟสทีต่อเข้ามอเตอร์ คู่ใดคู่หนึ ง
3. เมือดรัมหรื อแคมสวิทช์อยูท่ ีตาํ แหน่ง O มอเตอร์ จะอยูใ่ นลักษณะใด
ก. หมุนตามเข็มนาฬิกา ข. หมุนทวนเข็มนาฬิกา
ค. ไม่หมุน ง. ถูกทุกข้อ
4. เมือดรัมหรื อแคมสวิทช์อยูท่ ีตาํ แหน่ง F มอเตอร์ จะอยูใ่ นลักษณะใด
ก. หมุนตามเข็มนาฬิกา ข. หมุนทวนเข็มนาฬิกา
ค. ไม่หมุน ง. ถูกทุกข้อ
5. เมือดรัมหรื อแคมสวิทช์อยูท่ ีตาํ แหน่ง R มอเตอร์ จะอยูใ่ นลักษณะใด
ก. หมุนตามเข็มนาฬิกา ข. หมุนทวนเข็มนาฬิกา
ค. ไม่หมุน ง. ถูกทุกข้อ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 134
ใบงานที 2
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยแคม หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
สวิทช์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1
2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3
4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse
6. CS คือ แคมสวิทช์
7. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 135
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยแคม หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
สวิทช์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูร้ ับการฝึ กสามารถต่อวงจรตามแบบที กาํ หนดให้ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูร้ ับการฝึ กสามารถทดสอบการกลับทางหมุนของมอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง ตามขันตอน
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ : 1. AC Three Phase Motor 2. แคมสวิทช์
3. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 4. หางปลา เบอร์ 2.5
5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. การดัดและการตัด 1. ตัดสายไฟชนิ ด VCT ให้พอเหมาะสําหรับใช้งาน ปลายสายทุกเส้นต้องยํา
สายไฟฟ้ า ระหว่างตูส้ วิทช์บอร์ ดกับ CS และระหว่าง CS กับ หางปลาให้ เ รี ยบร้ อ ย
มอเตอร์ ต้อ งจัด เก็ บ สายให้ เ ป็ น
2. ตัดสายไฟชนิ ด THW ให้พอเหมาะสําหรับใช้งาน ระเบียบและสวยงาม
ระหว่าง F1 กับ CS
3. การต่อวงจร 1. ก่อนทําการต่อวงจรต้องศึกษาวงจรให้เข้าใจเสี ยก่อน ระวัง การลัด วงจรของ
และใส่ หมายเลขของอุปกรณ์ลงในวงจรในใบงาน ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส ไม่
2. ต่อวงจรตามที ใบงานกําหนดและตรวจสอบความ ควรให้ปลาบสายเส้นไฟ
ถูกต้อง ดังนี L1 L2 และ L3 สัมผัส
ถึงกันโดยเด็ดขาด
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 136
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยแคม หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
สวิทช์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

3. การต่อวงจร (ต่อ) 2.1 แหล่งจ่ายไฟกําลังกําหนดให้ เฟสที 1 เป็ น L1 (R)


เฟสที 2 เป็ น L2 (S) และเฟสที 3 เป็ น L3 (T)
2.2 ต่อสายกําลังเฟสที 1 เข้า F1 ตัวที 1 ออกจาก F1
ตัวที 1 ต่อเข้า CS ทีขวั L1 ออกจากขัว U ของ CS เข้า
ขัวมอเตอร์ U1(U)
2.3 ต่อสายกําลังเฟสที 2 เข้า F1 ตัวที 2 ออกจาก F1
ตัวที 2 ต่อเข้า CS ทีขวั L2 ออกจากขัว V ของ CS เข้า
ขัวมอเตอร์ V1(V)
2.4 ต่อสายกําลังเฟสที 3 เข้า F1 ตัวที 3 ออกจาก F1
ตัวที 3 ต่อเข้า CS ทีขวั L3 ออกจากขัว W ของ CS เข้า
ขัวมอเตอร์ W1(W)
1. ถ้าเป็ นมอเตอร์ ที มีแรงดันกําหนดบนเนมเพลท ที 1. ก่ อ นทํา การต่ อ ขั ว
4. การต่อขัวมอเตอร์ 220/380 V. และแหล่งจ่ายเป็ น 220 V. 3 เฟส การ มอเตอร์ ต้องศึกษาเนม
ต่อขัวมอเตอร์ ตอ้ งต่อแบบเดลต้า (DELTA / ∆) แต่ถา้ เพลทของมอเตอร์ ใ ห้
แหล่งจ่ายเป็ น 380 V. 3 เฟส ต้องต่อแบบสตาร์ เข้าใจเสี ยก่อน
(STAR / Y) 2. ก่ อนทํา การต่อวงจร
2. ถ้าเป็ นมอเตอร์ ที มีแรงดันกําหนดบนเนมเพลท ที แล ะ ขั ว มอ เต อร์ ต้ อ ง
380/660 V. และแหล่งจ่ายเป็ น 380 V. 3 เฟส การ ศึกษาแหล่ งจ่ายไฟก่ อน
ต่อขัวมอเตอร์ ตอ้ งต่อแบบเดลต้า (DELTA / ∆) ว่ า เป็ นระบบ 3 เฟส
3. การต่ อขัวมอเตอร์ แบบเดลต้า ทําโดย เมื อต่ อตาม 220 V. หรื อ 3 เฟส
หัวข้อที 3 ข้อที 2.2 - 2.4 แล้ว ให้นําปลายขัวของ 380 V. และแรงดัน ที
มอเตอร์ ทีเหลือคือ U2 (X) , V2 (Y) , W2 (Z) มาต่อ กําหนดบนเนมเพลทของ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 137
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยแคม หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
สวิทช์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

รวมเข้าด้วยกันให้แน่ น แล้วพันด้วยเทปพันสายไฟให้ มอเตอร์ วา่ เป็ นระบบใด


เรี ยบร้อย 3. ในการต่อขัวมอเตอร์
4. การต่ อขัวมอเตอร์ แ บบสตาร์ ท าํ โดย เมื อ ต่ อ ตาม ชนิ ด 3 เฟส ห้ า ม นํ า
หัวข้อที 3 ข้อที 2.2 - 2.4 แล้ว ให้นาํ ขัว W2 (Z) ไป สายนิ ว ตรอลไปต่ อ เข้ า
ต่อร่ วมเข้ากับขัว U1(U) นําขัว U2(X) ไปต่อร่ วมเข้า กั บ ขั ว ใดขั ว หนึ ง ของ
กับขัว V1 (V) นําขัว V2(Y) ไปต่อร่ วมเข้ากับขัว W1 มอเตอร์ โดยเด็ดขาด
(W) และที จุดต่ อสายไฟทุ ก จุ ดต้องพันด้วยเทปพัน 4. ต้อ งจ่ า ยแรงดัน ให้
สายไฟให้แน่น มอเตอร์ ครบทุกเฟส ถ้า
ขาดเฟสใดเฟสหนึ ง จะ
ทํ า ให้ ม อเตอร์ มี เ สี ยง
คราง ไม่ ห มุ น ทํา ให้
เกิ ด ความร้ อ นขึ น ที ต ัว
มอเตอร์ ถ้าจ่ ายแรงดัน
ไม่ ค รบเฟสนานๆ จะ
ทําให้มอเตอร์ ไหม้ได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 138
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยแคม หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
สวิทช์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

เมือทําตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิบตั ิงานแล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 2 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 3 เฟส 380 V. เข้าไปในวงจร แล้วบิดสวิทช์ CS ไปทีตาํ แหน่ง F การทํางานของ
มอเตอร์ เป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ หยุดนิงไม่หมุน ข. มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกา
ค. มอเตอร์ หมุนทวนเข็มนาฬิกา ง. มอเตอร์ จะกลับทางหมุนสลับไป – มา
2. บิดสวิทช์ CS ไปทีตาํ แหน่ง O การทํางานของมอเตอร์ เป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ จะลดความเร็ วลงเรื อยๆ จนหยุดนิง ข. มอเตอร์ เปลียนทิศทางหมุนเป็ นทวนเข็มนาฬิกา
ค. มอเตอร์ ยงั ทํางานตามปกติความเร็ วคงที ง. มอเตอร์ หยุดหมุนทันที
3. บิดสวิทช์ CS ไปทีตาํ แหน่ง R การทํางานของมอเตอร์ เป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ หยุดนิงไม่หมุน ข. มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกา
ค. มอเตอร์ หมุนทวนเข็มนาฬิกา ง. มอเตอร์ จะกลับทางหมุนสลับไป – มา
4. บิดสวิทช์ CS ไปทีตาํ แหน่ง O การทํางานของมอเตอร์ เป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ จะลดความเร็ วลงเรื อยๆ จนหยุดนิง ข. มอเตอร์ เปลียนทิศทางหมุนเป็ นทวนเข็มนาฬิกา
ค. มอเตอร์ ยงั ทํางานตามปกติความเร็ วคงที ง. มอเตอร์ หยุดหมุนทันที
5. บิดสวิทช์ CS ไปทีตาํ แหน่ง F การทํางานของมอเตอร์ เป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ หยุดนิงไม่หมุน ข. มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกา
ค. มอเตอร์ หมุนทวนเข็มนาฬิกา ง. มอเตอร์ จะกลับทางหมุนสลับไป – มา
6. ปล่อยไว้ประมาณ 2 นาที แล้วบิดสวิทช์ CS ไปทีตาํ แหน่ง R ทันทีการทํางานของมอเตอร์ เป็ นอย่างไร
ก. มอเตอร์ หยุดหมุนทันที ข. มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกาทันที
ค. มอเตอร์ หมุนทวนเข็มนาฬิกาทันที ง. มอเตอร์ จะกลับทางหมุนสลับไป – มา

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 139
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยแคม หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
สวิทช์ ระบบธรรมดา
งานย่ อยที 6 เวลา 2 : 4 ชั วโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, สายไฟ THW ขนาด
2 x 2.5 ตร.มม., สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 2 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 4
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 4
- การติดตังอุปกรณ์ 4
- ความสวยงาม 4
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 2 คะแนน 12
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 140
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ : 1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการควบคุ มมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้ระบบ
ควบคุมกึงอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้ระบบ
ควบคุมกึงอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการควบคุ มมอเตอร์
3 เฟสโดยใช้ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอน : 1. บรรยาย
2. สาธิ ต
3. ดูรูปภาพ และฝึ กปฏิบตั ิจากของจริ ง
หัวข้ อสํ าคัญ : - การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส โดยใช้แมกเนติกคอนแทคเตอร์
- การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ให้ทาํ งานแบบสตาร์ ท – สต็อป – จ๊อกกิง
- การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ทาํ งานตามลําดับ
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก : 1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
3. ตูส้ วิทช์บอร์ ดทีมีระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย
4. มอเตอร์ 3 เฟส
5. แมกเนติคคอนแทคเตอร์
การมอบหมายงาน : ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้ และตอบคําถามในใบทดสอบ
การวัดผล : ตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
หนังสื ออ้ างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 141
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ ทตรง (Direct start) โดยใช้ แมกเนติคคอนแทคเตอร์


การนําแมกเนติคคอนแทคเตอร์ มาใช้งานในการเริ มเดิ นมอเตอร์ จะให้แมกเนติคคอนแทคเตอร์
ทํางานเพียงอย่างเดี ยวไม่ได้ จําเป็ นจะต้องมีอุปกรณ์ อื นมาควบคุ มหรื อสังให้ทาํ งานตามขันตอนทีเราต้องการ
ซึ งอุปกรณ์ควบคุมมีดงั นี
1. สวิทช์ สปริงดันกลับ (Jogging switch) สวิทช์แบบนีจะทํางานเมือกดเท่านัน ถ้าจ่ายไฟเข้าไป
ในวงจรดังภาพที 7.1 แล้วกดสวิทช์ S1 คอยล์ของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ จะเกิดอํานาจแม่เหล็กขึ น แล้วดึง
คอนแทคเมนให้จ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ ทาํ งาน เมื อปล่อยมือสวิทช์จะถูกดันกลับด้วยแรงสปริ งและคอยล์ของ
แมกเนติคคอนแทคเตอร์ จะหมดสภาพเป็ นแม่เหล็กทันที สปริ งดันคอยล์จะดัน คอนแทคเมนกลับทันที มอเตอร์
จะหยุดหมุน

ภาพที 7.1 สัญลักษณ์และวงจรการใช้งานของสวิทช์สปริ งดันกลับ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 142
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

2. สวิทช์ ปุ่มกด (Push button switch) เมือพิจารณาการใช้ Jogging switch จะเห็นว่าแมก


เนติคคอนแทคเตอร์ จะทํางานและจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ ทาํ งานตลอดเวลานัน จะต้องกดสวิทช์แช่ไว้ ดังนันจึง
มีการนําเอาหลักการของ Jogging switch มาประยุกต์ใช้งานโดยใช้ Push button switch 2 ตัว นํามาต่อ
อนุกรมกันเข้า ซึ งตัวที 1 ทําหน้าทีเป็ นตัว STOP ใช้คอนแทค NC ส่ วนตัวที 2 ทําหน้าทีเป็ นตัว START ใช้
คอนแทค NO แล้วนําเอาคอนแทคช่วย NO ของ K1 มาต่อขนานเข้ากับ Push button switch ตัวที 2 เพือทํา
หน้า ที ล็ อคตัวเองให้ท าํ งานตลอดเวลา ซึ ง วงจรจะทํางานได้โดยกดสวิท ช์เพีย งครั ง เดี ยว ส่ วนการป้ องกัน
มอเตอร์ ใช้งานเกินกําลังทําโดยนํา Overload Relay มาต่ออนุ กรมเข้ากับคอนแทคเมนของแมกเนติคคอนแทค
เตอร์ แล้วต่อไปยังมอเตอร์ ส่ วนในวงจรควบคุ มให้นาํ คอนแทค NC มาต่ออนุ กรมเข้ากับคอนแทค NC ของ
สวิทช์ตวั ที 1

ภาพที6.2 การสตาร์ ทมอเตอร์ ดว้ ยสวิทช์ป้องกันมอเตอร์

ภาพที 7.2 สัญลักษณ์และวงจรการใช้งานของสวิทช์ปุ่มกด


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 143
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน)


1. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ สามารถป้ องกันมอเตอร์ ดว้ ยตัวของมันเองได้หรื อไม่
ก. ไม่ได้ ข. ได้
ค. บางแบบได้ บางแบบไม่ได้ ง. ถูกทุกข้อ

2. Jogging Switch มีหลักการทํางานอย่างไร


ก. กดแล้วล็อคตลอดเวลา ข. ทํางานเมือถูกกด เลิกทํางานเมือปล่อย
ค. บางแบบกดแล้วล็อค บางแบบกดแล้วไม่ล็อค ง. ถูกทุกข้อ

3. Jogging Switch กับ Push Button Switch มีหลักการทํางานเหมือนกันหรื อไม่


ก. เหมือน ข. ไม่เหมือน
ค. บางแบบเหมือน บางแบบไม่เหมือน ง. ผิดทุกข้อ

4. การใช้ Jogging Switch และ Push Button Switch ควบคุมมอเตอร์ ถา้ ต้องการให้มอเตอร์ ทาํ งาน
ตลอดเวลาต้องทําอย่างไร
ก. กดสวิทช์แล้วปล่อยมือออก ข. ใช้รีโมตควบคุม
ค. กดแช่ไว้ ง. ไม่มีขอ้ ถูก

5. การนําโอเวอร์ โหลดรี เลย์มาต่อใช้งานในวงจรกําลังเพื อให้ทาํ หน้าทีใด


ก. ให้มอเตอร์ หมุนเร็ วขึน ข. ให้มอเตอร์ หมุนช้าลง
ค. ป้ องกันมอเตอร์ ใช้งานเกินกําลัง ง. ป้ องกันสายวงจรควบคุม

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 144
ใบงานที 1
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Main contactor
9. S1 คือ Push button "STOP / OFF" 10. S2 คือ Push button "START / ON"
11. H1 คือ Pilot lamp "ON" 12. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 145
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายการทํางานของวงจรการสตาร์ ทมอเตอร์ โดยตรงโดยใช้แมก
เนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถต่อวงจรการสตาร์ ทมอเตอร์ โดยตรงโดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ตาม
แบบได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถทดสอบการทําของวงจรสตาร์ ทมอเตอร์ โดยตรงโดยใช้แมกเนติคคอน
แทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง
1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า
งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้า มนํา อุ ป กรณ์ ที ช ํา รุ ด
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก มาใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติดตังให้ระยะความห่ าง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุปกรณ์แต่ละตัวให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 146
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ า ม ป อ ก ส า ย ต่ อ


ถูกต้อง และครบถ้วน ระหว่างทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารัวลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 147
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

เมื อทํา ตามขัน ตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ต รวจสอบความถู ก ต้อง พร้ อมกับ
ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจร กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. ไม่มีอะไรเกิดขึน ข. K1จะทํางานเมือกดสวิทช์ และหยุดเมือปล่อยมือออก
ค. หลอดไฟสัญญาณ H1 ติดเพียงอย่างเดียว ง. K1จะทํางาน ล็อคตัวเองและH1ให้ทาํ งานตลอดเวลา
2. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 หยุดทํางาน ข. K1 หยุดทํางานเพียงอย่างเดียว
ค. H1 หยุดทํางานเพียงอย่างเดียว ง. K1 และ H1 ยังทํางานปกติ
3. กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันทีอีกครัง ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. ไม่มีอะไรเกิดขึน ข. K1จะทํางานเมือกดสวิทช์ และหยุดเมือปล่อยมือออก
ค. หลอดไฟสัญญาณ H1 ติดเพียงอย่างเดียว ง. K1จะทํางาน ล็อคตัวเองและH1ให้ทาํ งานตลอดเวลา
4. เมือเวลาผ่านไป 3 นาที ทําให้โอเวอร์ โหลดเกิดการทริ ป ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 และ H1 ยังทํางานเหมือนเดิม ข. K1 และ H1 หยุดทํางาน แต่ H2 จะทํางาน
ค. K1 หยุดทํางานเพียงอย่างเดียว ง. ถูกทุกข้อ
5. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ เข้าใน
วงจร แล้วทดสอบวงจร โดยกด S2 แล้วปล่อยมือ ผลทีได้เป็ นอย่างไร
ก. K1 ทํางาน ล็อคตัวเองและ H1 พร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ ทาํ งาน ข. มอเตอร์ ไม่หมุน
ค. K1 ทํางาน แต่มอเตอร์ ไม่หมุน ง. K1ทํางาน แต่หลอดH1ไม่ติด
6. เมือเวลาผ่านไป 3 นาที ทําให้โอเวอร์ โหลดเกิดการทริ ป ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, H1, และมอเตอร์ ยงั ทํางานเหมือนเดิม ข. K1, H1, และมอเตอร์ หยุดทํางาน แต่ H2 จะทํางาน
ค. มอเตอร์ หยุดทํางานเพียงอย่างเดียว ง. ถูกทุกข้อ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 148
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

7. เมือโอเวอร์ โหลดเกิดการทริ ป ให้กด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. วงจรทํางานตามปกติ ข. ไม่มีอุปกรณ์ตวั ใดทํางานเลย ยกเว้นหลอดไฟสัญญาณ H2
ค. F3 ทํางานเพียงตัวเดียว ง. H1 ติดหลอดเดียว

8. กดปุ่ ม Reset ที F3 แล้วกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. ไม่มีอะไรเกิดขึน ข. K1 จะทํางานเมือกดสวิทช์ และหยุดเมือปล่อยมือออก
ค. H1 ติดเพียงอย่างเดียว ง. K1 จะทํางาน ล็อคตัวเองและ H1 ให้ทาํ งานตลอดเวลา

9. คอนแทคช่วย NO ของแมกเนติค ในแถวที 2 ทีทาํ หน้าทีล็อคตัวเองตลอดเวลา มีชือเรี ยกว่าอะไร


ก. Auxiliary contact ข. Maintaining contact
ค. Lock itself contact ง. ถูกทัง ข และ ค

10. สวิทช์ S1 ในวงจรทําหน้าทีอะไร


ก. RUN หรื อ START ข. START หรื อ ON
ค. STOP หรื อ OFF ง. ผิดทุกข้อ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 149
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 1 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 10
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 150
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยแมกเนติคคอนแทคเตอร์


ในการควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ในวงจรกําลัง
ทีทาํ หน้าทีจ่ายไฟให้มอเตอร์ ทาํ งานนัน จะต้องใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 2 ตัว เป็ นตัวสลับสายเมนที ต่อเข้า
มอเตอร์ โดยที แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทงั 2 ตัว จะต้องไม่ทาํ งานพร้อมกัน เพราะถ้าทํางานพร้อมกันจะเกิ ด
การลัดวงจรขึนระหว่าง L1 กับ L3 ดังแสดงในภาพที7.3

ภาพที 7.3 วงจรไฟกําลังการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส

โดยกําหนดให้ K1 ต่อวงจรให้มอเตอร์ หมุนขวา K2 ต่อวงจรให้มอเตอร์ หมุนซ้าย วิธีป้องกัน


ไม่ให้ K1 และ K2 ทํางานพร้อมกันทําได้โดยการต่อคอนแทค NC ของ K2 ไว้ก่อนจ่ายไฟเลี ยงคอยล์ K1
และต่อคอนแทค NC ของ K1 ไว้ก่อนจ่ายไฟเลี ยงคอยล์ K2 ซึ งเรี ยกว่า Interlock contact คือถ้า K1 ทํางาน
คอนแทค NC จะตัดวงจรคอยล์ K2 ออก เช่นเดียวกันถ้า K2 ทํางานคอนแทค NC จะตัดวงจรคอยล์ K1 ออก
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 151
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ดังนัน วัตถุประสงค์ในการควบคุ มการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้วยแมกเนติคคอนแทค


เตอร์ คือทําให้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทาํ งานครั งละ 1 ตัว ซึ งสามารถทําได้หลายวิธี ดังนี
1. แบบใช้ MAINTAINED CONTACT SWITCH
การควบคุมจะ Switch ON และ OFF ด้วยสวิทช์ S1 ซึ งเป็ นสวิทช์เลือกแบบปรับได้ 2
ทาง ส่ วน S2 ทําหน้าทีกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ ดังแสดงในภาพที 7.4
MAINTAINED CONTACT หมายถึง คอนแทคทีต่อวงจรให้ตวั เองทํางานตลอดเวลา (หรื อ
เรี ยกว่า Lock itself contact)

ภาพที 7.4 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบใช้ MAINTAINED CONTACT SWITCH


รายการอุปกรณ์
S1 คือ Switch “ON – OFF”
S2 คือ Selector switch “Forward – Reverse”
K1 คือ Forward Magnetic contactor
K2 คือ Reverse Magnetic contactor
F2 คือ Control fuse
F3 คือ Overload relay
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 152
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

2. แบบ GOGGING แบบที 1 (แบบทํางานชั วขณะแบบที 1)


การควบคุมแบบนี เป็ นการกลับทิศทางหมุนได้โดยตรง โดยเลือกที สวิทช์ S1 และ S2 แต่การ
ลัดวงจรในวงจรกําลังอาจเกิดขึนได้ ถ้ากด S1 และ S2 พร้อมกัน เพราะว่า Interlock contact ทังสองยังปิ ด
อยู่ การควบคุมดังแสดงในภาพที7.5

ภาพที 7.5 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING แบบที 1


รายการอุปกรณ์
S1 คือ Push button Switch “FOWARD”
S2 คือ Push button switch “REVERSE”
K1 คือ Forward Magnetic contactor
K2 คือ Reverse Magnetic contactor
F2 คือ Control fuse
F3 คือ Overload relay
3. แบบ GOGGING แบบที 2 (แบบทํางานชั วขณะแบบที 2)
การควบคุมแบบนี เป็ นการกลับทิศทางหมุนโดยใช้ Push button switch แบบทีมีทงั คอนแทค
NC และ NO อยูใ่ นตัวเดียวกัน ซึ งแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทงั สองจะถูก Interlock ด้วยคอนแทค NC ของ
Push button switch ดังแสดงในภาพที7.6
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 153
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 1 ชั วโมง

ภาพที 7.6 วงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING แบบที 2


รายการอุปกรณ์
S1 คือ Switch “ON - OFF”
S2 คือ Push button switch “FOWARD”
S3 คือ Push button switch “REVERSE”
K1 คือ Forward Magnetic contactor
K2 คือ Reverse Magnetic contactor
F2 คือ Control fuse
F3 คือ Overload relay
การทํางานขอวงจรทําโดย บิดสวิทช์ S1 เพือจ่ายไฟให้วงจร เมื อกด S2 แมกเนติคคอนแทค
เตอร์ K1 จะทํางาน ถ้ากด S3 ในขณะที S2 ยังถูกกดอยู่ K1 จะหยุดทํางาน และจะไม่มีแมกเนติคคอนแทค
เตอร์ ตวั ใดทํางาน เพราะ Interlock contact ซึ งเป็ น NC ของ S2 และ S3 จะตัดวงจรซึ งกันและกันออก
Interlock หมายถึง การทีคอนแทคของวงจรส่ วนหนึ ง อาจเป็ นของสวิทช์หรื อของแมกเนติค
คอนแทคเตอร์ ก็ได้ ในขณะทีตวั ของมันทํางานแล้วไปตัดวงจรส่ วนอืนไม่ให้ทาํ งานได้
หลักการควบคุมแบบนีเป็ นการทํางานคล้ายๆ กับการควบคุมมอเตอร์ เครน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 154
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วย หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน)


1. การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ทําโดยวิธีใด
ก. กลับทิศทางการติดตังมอเตอร์ ข. สลับสายไฟคูใ่ ดคู่หนึ ง
ค. สลับทีของสายไฟทุกเส้น ง. ย้ายทีติดตังมอเตอร์

2. การใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 2 ตัว ควบคุมการกลับทางหมุนของมอเตอร์ ถ้าแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทงั


2 ตัว ทํางานพร้อมกันจะมีผลอย่างไร
ก. ความเร็ วขิงมอเตอร์ เพิมขึน ข. ความเร็ วของมอเตอร์ ลดลง
ค. มอเตอร์ ไหม้ ง. เกิดการลัดวงจรของสายไฟคู่ทีต่อสลับกัน

3. Maintaining contact คือคอนแทคทีทาํ หน้าทีแบบใด


ก. ตัดตัวของมันเองเมือทํางาน ข. ตัดอุปกรณ์ตวั อืนเมือตัวมันทํางาน
ค. ล็อคตัวของมันเองให้ทาํ งานตลอดเวลา ง. ล็อคอุปกรณ์ตวั อืนเมือตัวมันไม่ทาํ งาน

4. Interlock contact คือคอนแทคทีทาํ หน้าทีแบบใด


ก. ตัดตัวของมันเองเมือทํางาน ข. ตัดอุปกรณ์ตวั อืนเมือตัวมันทํางาน
ค. ล็อคตัวของมันเองให้ทาํ งานตลอดเวลา ง. ล็อคอุปกรณ์ตวั อืนเมืตวั มันไม่ทาํ งาน

5. Lock itself contact ทําหน้าทีเหมือนกับคอนแทคแบบใด


ก. Normally Open contact ข. Normally Close contact
ค. Interlock contact ง. Maintaining contact

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 155
ใบงานที 2
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Forward Magnetic contactor
9. K1 คือ Reverse Magnetic contactor 10. S1 คือ Push button "STOP / OFF"
11. S2 คือ Push button "Jogging Forward" 12. S3 คือ Push button "FORWARD"
13. S4 คือ Push button "Jogging Reverse" 14. S5 คือ Push button "REVERSE"
15. K3A คือ Forward Relay 16. K4A คือ Reverse Relay
17. H1 คือ Pilot lamp "ON Forward" 18. H2 คือ Pilot lamp "ON Reverse"
19. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 156
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายการทํางานของวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้
แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถต่อวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้แมกเนติคคอนแทค
เตอร์ ตามแบบได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถทดสอบการทําของวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้แมก
เนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง
1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า
งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้า มนํา อุ ป กรณ์ ที ช ํา รุ ด
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก มาใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติดตังให้ระยะความห่ าง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุปกรณ์ แต่ละตัวให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 157
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารั วลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 158
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ
ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 0.5 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจร กดสวิทช์ S3 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K4A ทํางานล็อคตัวเอง K2 และ H2 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1, K3A, H1 ออก
ข. K4A ทํางานล็อคตัวเอง K1 และ H2 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K3A, H1 ออก
ค. K3A ทํางานล็อคตัวเอง K2 และ H1 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก
ง. K3A ทํางานล็อคตัวเอง K1 และ H1 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก
2. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K3A, K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลาพร้อมกับตัดคอยล์ K2 ออก
ข. K3A, K1 และ H1 หยุดทํางาน วงจรทุกส่ วนพร้อมทีจะเริ มทํางานใหม่
ค. K4A, K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 ออก
ง. K4A, K2 และ H2 หยุดทํางาน วงจรทุกส่ วนพร้อมทีจะเริ มทํางานใหม่
3. กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานแบบ Jogging ข. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา
ค. K2 และ H2 ทํางานแบบ Jogging ง. K2 และ H1 ทํางานตลอดเวลา
4. กดสวิทช์ S3 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาเหมือนเดิม ข. K1 และ H1 ทํางานแบบ Jogging
ค. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาเหมือนเดิม ง. K2 และ H2 ทํางานแบบ Jogging
5. กดสวิทช์ S3 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S5 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K3A, K1 และ H1 หยุดทํางาน แต่ K4A, K2 และ H2 ทํางานแทน
ข. K4A, K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 ออก
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
ง. K3A, K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลาเหมือนเดิม
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 159
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

6. กด S1 หลังจากนันกด S5 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K4A ทํางานล็อคตัวเอง K2 และ H2 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1, K3A, H1 ออก
ข. K4A ทํางานล็อคตัวเอง K1 และ H2 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K3A, H1 ออก
ค. K3A ทํางานล็อคตัวเอง K2 และ H1 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก
ง. K3A ทํางานล็อคตัวเอง K1 และ H1 ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก
7. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K3A, K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 ออก
ข. K3A, K1 และ H1 หยุดทํางาน วงจรทุกส่ วนพร้อมทีจะเริ มทํางานใหม่
ค. K4A, K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 ออก
ง. K4A, K2 และ H2 หยุดทํางาน วงจรทุกส่ วนพร้อมทีจะเริ มทํางานใหม่
8. กดสวิทช์ S4 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานแบบ Jogging ข. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา
ค. K2 และ H2 ทํางานแบบ Jogging ง. K2 และ H1 ทํางานตลอดเวลา
9. กดสวิทช์ S5 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S4 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ให้ทาํ งานตลอดเวลาเหมือนเดิม ข. K1 และ H1 ทํางานแบบ Jogging
ค. K2 และ H2 ให้ทาํ งานตลอดเวลาเหมือนเดิม ง. K2 และ H2 ทํางานแบบ Jogging
10. กดสวิทช์ S5 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S3 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K4A, K2 และ H2 หยุดทํางาน แต่ K3A, K1 และ H1 ทํางานแทน
ข. K3A, K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 ออก
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
ง. K4A, K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลาเหมือนเดิม

กด S1 ปลดแหล่ งจ่ ายไฟออก


ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 160
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

11. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ เข้าใน


วงจร แล้วทดสอบวงจรโดยกด S3 แล้วปล่อยมือ ผลทีได้เป็ นอย่างไร
ก. K4A, K2 และ H2 ทํางานจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายตลอดเวลา และตัดคอยล์ K1, K3A, H1 ออก
ข. K4A, K1 และ H2 ทํางานจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาตลอดเวลา และตัดคอยล์ K2, K3A, H1 ออก
ค. K3A, K2 และ H1 ทํางานจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายตลอดเวลา และตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก
ง. K3A, K1 และ H1 ทํางานจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาตลอดเวลา และตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก
12. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนซ้ายตลอดเวลาเหมือนเดิม
ข. K3A, K1 และ H1 หยุดทํางาน วงจรทุกส่ วนพร้อมทีจะเริ มทํางานใหม่
ค. K4A, K1, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนขวาตลอดเวลาเหมือนเดิม
ง. K4A, K2 และ H2 ทํางานจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้าย
13. กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาแบบ Jogging
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
ค. K2, H2 และมิเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาแบบ Jogging
ง. K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
14. กดสวิทช์ S3 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาแบบ Jogging
ค. K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งาบหมุนซ้ายตลอดเวลา
ง. K2 , H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายแบบ Jogging

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 161
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

15. กดสวิทช์ S3 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S5 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ หยุดทํางาน แต่ K4A, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายแทน
ข. K4A, K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนขวาตลอดเวลา
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
ง. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนขวาตลอดเวลาเหมือนเดิม

16. กด S1 หลังจากนันกด S5 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K4A, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1, K3A, H1 ออก
ข. K4A, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K3A, H2 ออก
ค. K3A, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1, K4A, H1 ออก
ง. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2, K4A, H2 ออก

17. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
ข. K4A, K2, H2 และมอเตอร์ หยุดทํางาน วงจรทุกส่ วนพร้อมที จะเริ มทํางานใหม่
ค. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายตลอดเวลา
ง. K4A, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวา

18. กดสวิทช์ S4 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาแบบ Jogging
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
ค. K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายแบบ Jogging
ง. K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายตลอดเวลา

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 162
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

19. กดสวิทช์ S5 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S4 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาแบบ Jogging
ค. K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายตลอดเวลา
ง. K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนซ้ายแบบ Jogging
20. กดสวิทช์ S5 ให้ทาํ งานปล่อยไว้ 2 นาทีแล้วให้กดสวิทช์ S3 แล้วปล่อยจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K4A, K2, H2 และมอเตอร์ หยุดทํางาน แต่ K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาแทน
ข. K3A, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
ง. K4A, K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนซ้ายตลอดเวลา

กด S1 ปลดแหล่ งจ่ ายไฟออกจากวงจร

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 163
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ควบคุมกึงอัตโนมัติ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 2 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 0.5 คะแนน 10
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 164
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

การควบคุมมอเตอร์ มอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งานเรี ยงกันตามลําดับ (Sequence control)


เป็ นการควบคุมมอเตอร์ ให้ทาํ งานไม่พร้อมกันไม่วา่ จะมีมอเตอร์ กี ตวั ก็ตาม โดยให้มอเตอร์ ตวั ที 1
เริ มทํางานไปก่อนในระยะเวลาหนึ ง แล้วจึงให้มอเตอร์ ตวั ที 2 ทํางานต่อไป หลังจากมอเตอร์ ตวั ที 2 ทํางาน
ไปแล้วในระยะเวลาหนึ งมอเตอร์ ตวั ที 3 จึงจะทํางานต่อไป
ในการควบคุมแบบนี ถา้ มอเตอร์ ตวั ที 1 ไม่ทาํ งาน มอเตอร์ ตวั ที 2 จะไม่สามารถทํางานได้ ใน
กรณี เดียวกันถ้ามอเตอร์ ตวั ที 2 ไม่ทาํ งานมอเตอร์ ตวั ที 3 ก็ไม่สามารถทีจะทํางานได้เช่นกัน
การควบคุมมอเตอร์ ให้ทาํ งานเรี ยงกันตามลําดับนี นําไปใช้ในงานระบบสายพานลําเลียง เช่น ใช้
กับท่าทราย ใช้กบั งานผลิ ตสิ นค้าประเภทบรรจุภณ ั ฑ์ต่างๆ ตัวอย่าง ในโรงงานผลิตปลากระป๋ อง ผลิตกล่อง
กระดาษ
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 165
ใบงานที 3
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F11 คือ Power Fuse ของมอเตอร์ M1 6. F12 คือ Power Fuse ของมอเตอร์ M2
7. F2 คือ Control Fuse 8. F3 คือ Overload relay ป้ องกันมอเตอร์ M1
9. F4 คือ Overload relay ป้ องกันมอเตอร์ M2 10. K1 คือ Main Magnetic contactor ของ M1
11. K2 คือ Main Magnetic contactor ของ M2 12. S1 คือ Push button " STOP / OFF"
13. S2 คือ Push button "START / ON" ของ M1 14. S3 คือ Push button "START / ON" ของ M2
15. M1 คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟสตัวที 1 16. M2 คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟสตัวที 2
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 166
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
วัตถุประสงค์
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายการทํางานของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟส แบบทํางาน
ตามลําดับ โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถต่อวงจรการเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส แบบทํางานตามลําดับ โดยใช้แมก
เนติคคอนแทคเตอร์ ตามแบบได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้า รั บ การฝึ กสามารถทดสอบการทํา ของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟส แบบทํางาน
ตามลําดับ โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง
1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า
งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้า มนํา อุ ป กรณ์ ที ช ํา รุ ด
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก มาใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติดตังให้ระยะความห่ าง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุปกรณ์ แต่ละตัวให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 167
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารั วลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 168
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจร กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับต่อวงจรให้คอยล์ K1 เตรี ยมทํางาน
ค. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 ออก
ง. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับต่อวงจรให้คอยล์ K2 เตรี ยมทํางาน
2. กดสวิทช์ S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานเหมือนเดิม ข. K2 และ H2 ทํางานเหมือนเดิม
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน ง. ถูกทุกข้อ
3. กดสวิทช์ S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 ออก
ข. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับต่อวงจรให้คอยล์ K2 เตรี ยมทํางาน
ค. ไม่มีส่วนใดทํางานเลย
ง. ผิดทุกข้อ
4. กดสวิทช์ S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับต่อวงจรให้คอยล์ K1 เตรี ยมทํางาน
ค. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 ออก
ง. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับต่อวงจรให้คอยล์ K2 เตรี ยมทํางาน
5. กดสวิทช์ S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และH2 ทํางานร่ วมกับ K1 และ H1 ข. K1และH1หยุดทํางาน แต่ K2 และH2ทํางานแทน
ค. K1 และH1ทํางานแต่ตดั K2 และ H2 ออก ง. K1และH1ทํางานและต่อวงจรให้ K2เตรี ยมทํางาน
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 169
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
6. กดสวิทช์ S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานเหมือนเดิม ข. K2 และ H2 ทํางานเหมือนเดิม
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน ง. ถูกทุกข้อ
7. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ เข้าใน
วงจร แล้วทดสอบวงจรโดยกด S2 แล้วปล่อยมือ ผลทีได้เป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและตัดคอยล์ K1 กับ H1 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและต่อ.ให้ K1กับ H1 เตรี ยมทํางาน
ค. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและตัด K2 กับ H2 ออก
ง. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M1 ทํางานและต่อให้ K2 กับ H2 เตรี ยมทํางาน
8. กดสวิทช์ S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, H1 และ M1 ทํางานเหมือนเดิม ข. K2, H2 และ M2 ทํางานเหมือนเดิม
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน ง. ถูกทุกข้อ
9. กดสวิทช์ S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและตัด K1 กับ H1 ออก
ข. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M1 ทํางานและต่อให้ K2 กับ H2 เตรี ยมทํางาน
ค. ไม่มีส่วนใดทํางานเลย
ง. ผิดทุกข้อ
10. กดสวิทช์ S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและตัดคอยล์ K1 กับ H1 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและต่อให้ K1กับ H1 เตรี ยมทํางาน
ค. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M2 ทํางานและตัด K2 กับ H2 ออก
ง. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมกับจ่ายไฟกําลังให้ M1 ทํางานและต่อให้ K2 กับ H2 เตรี ยมทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 170
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง
11. กดสวิทช์ S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, H1 กับ M1 ทํางานเหมือนเดิม และต่อให้ K2, H2 และ M2 ทํางานตลอดเวลา
ข. K1, H1 กับ M1 หยุดทํางาน และทําให้ K2, H2 และ M2 ทํางานตลอดเวลา
ค. K1, H1 และ M1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัด K2, H2 และ M2 ออก
ง. K1, H1 และ M2 ทํางานตลอดเวลาและต่อวงจรให้ K2, H2 และ M1 เตรี ยมทํางาน

12. กดสวิทช์ S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, H1 และ M1 ทํางานเหมือนเดิม ข. K2, H2 และ M2 ทํางานเหมือนเดิม
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน ง. ถูกทุกข้อ

13. จากการทดสอบทีผา่ นมา สามารถกด S3 ให้ K2 ทํางานก่อน K1 ได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด


ก. ได้ เพราะชุดควบคุ มอยูค่ นละส่ วนกัน ข. ไม่ได้ เพราะคอนแทค NO ของ K1 เปิ ดวงจรอยู่
ค. ได้ เพราะ NO ของ K2 สามารถล็อคตัวเองได้ ง. ผิดทุกข้อ

14. กด S2 ให้ M1 ทํางาน แล้วกด S3 ให้ M2 ทํางาน เมือ M2 ทํางานแล้ว M1 หยุดทํางานหรื อไม่
ก. หยุด ข. ไม่หยุด
ค. ไม่แน่นอน ง. ถูกทุกข้อ

15. ถ้าต้องการให้วงจรทํางานหากไม่กด S2 แต่กด S3 เลย ทําไม K2 จึงไม่สารถทํางานได้


ก. เพราะชุดควบคุมอยูค่ นละส่ วนกัน ข. เพราะคอนแทค NO ของ K1 เปิ ดวงจรอยู่
ค. เพราะ NO ของ K2 สามารถล็อคตัวเองได้ ง. ผิดทุกข้อ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 171
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งาน หัวข้ อวิชา การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้วย
ตามลําดับ ระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ
งานย่ อยที 7 เวลา 2 : 10 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 3 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 1
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 1
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 1
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 15
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 172
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการกลับทางหมุนมอเตอร์ โดยใช้ระบบควบคุมได้
อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการกลับทางหมุน มอเตอร์ โดยใช้ระบบ
ควบคุมได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าทีของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรกลับทางหมุนมอเตอร์
โดยใช้ระบบควบคุมได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอน : 1. บรรยาย
2. สาธิ ต
3. ดูรูปภาพ และฝึ กปฏิบตั ิจากของจริ ง
หัวข้ อสํ าคัญ : - การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้กลับทางหมุนแบบทันทีทนั ใด
- การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้กลับทางหมุนหลังจากหยุด
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก : 1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
3. ตูส้ วิทช์บอร์ ดทีมีระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย
4. มอเตอร์ 3 เฟส
5. แมกเนติคคอนแทคเตอร์
การมอบหมายงาน : ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้ และตอบคําถามในใบทดสอบ
การวัดผล : ตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
หนังสื ออ้ างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 173
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส
ในเครื องจักรทีใช้มอเตอร์ 3 เฟสเป็ นตัวต้นกําลัง บางครั งจําเป็ นต้องให้มอเตอร์ กลับทิศทางการ
หมุนได้ เช่น เครนยกของ เครื องกลึ ง เครื องกัด และเครื องรี ดโลหะ เป็ นต้น หลักการที จะทําให้มอเตอร์ 3
เฟส กลับทิศทางการหมุนได้ก็คือ การสลับสายเมนหรื อสายเฟสคู่ใดคู่หนึ งทีต่อเข้ามอเตอร์ ส่ วนอีกเส้นหนึ ง
ต่อไว้คงเดิม

ภาพที 8.1 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกา

ภาพที 8.2 แสดงการเรี ยงลําดับเฟสทีจ่ายเข้าเทอร์ มินอลของมอเตอร์ ทีทาํ ให้มอเตอร์ หมุนทวนเข็มนาฬิกา


การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยดรัมหรือแคมสวิทช์
การกลับทางหมุนวิธีนี จะใช้ดรัมหรื อแคมสวิทช์ ซึ งเป็ นสวิทช์ 3 ตําแหน่ ง คือ I – O – II
(Clockwise-Stop-Anti clockwise) หรื อ F – O – R (Forward-Stop-Reverse) โดยดรัมหรื อแคมสวิทช์จะเป็ นตัว
สลับสายเมนทีต่อเข้ามอเตอร์ ทําให้มอเตอร์ หมุนกลับทิศทาง กล่าวคือ เมื อดรัมหรื อแคมสวิทช์อยูใ่ นตําแหน่ง
“O” มอเตอร์ จะไม่หมุน ถ้าเปลียนตําแหน่งเป็ น I หรื อ F มอเตอร์ จะหมุนตามเข็มนาฬิกาถ้าอยูใ่ นตําแหน่ง II
หรื อ R มอเตอร์ จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา
ดรั ม หรื อ แคมสวิ ท ช์ มี ล ัก ษณะภายนอกไม่ แ ตกต่ า งกัน มากนัก แต่ ล ัก ษณะการทํา งานและ
โครงสร้างภายในจะแตกต่างกัน ลักษณะโครงสร้างดังภาพในหน้า 208 ในการเลือกใช้งานปั จจุบนั นิ ยมใช้แคม
สวิทช์มากกว่าดรัมสวิทช์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 174
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ภาพที 8.3 แสดงลักษณะการทํางานของดรัมหรื อแคมสวิทช์

การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยแมกเนติคคอนแทคเตอร์


ในการควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ในวงจรกําลัง
ทีทาํ หน้าทีจ่ายไฟให้มอเตอร์ ทาํ งานนัน จะต้องใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 2 ตัว เป็ นตัวสลับสายเมนที ต่อเข้า
มอเตอร์ โดยที แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทงั 2 ตัว จะต้องไม่ทาํ งานพร้อมกัน เพราะถ้าทํางานพร้อมกันจะเกิ ด
การลัดวงจรขึนระหว่าง L1 กับ L3 ดังแสดงในภาพที 8.4
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 175
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ภาพที 8.4 วงจรไฟกําลังการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส

โดยกําหนดให้ K1 ต่อวงจรให้มอเตอร์ หมุนขวา K2 ต่อวงจรให้มอเตอร์ หมุนซ้าย วิธีป้องกัน


ไม่ให้ K1 และ K2 ทํางานพร้อมกันทําได้โดยการต่อคอนแทค NC ของ K2 ไว้ก่อนจ่ายไฟเลี ยงคอยล์ K1
และต่อคอนแทค NC ของ K1 ไว้ก่อนจ่ายไฟเลี ยงคอยล์ K2 ซึ งเรี ยกว่า Interlock contact คือถ้า K1 ทํางาน
คอนแทค NC จะตัดวงจรคอยล์ K2 ออก เช่นเดียวกันถ้า K2 ทํางานคอนแทค NC จะตัดวงจรคอยล์ K1 ออก
ดังนัน วัตถุประสงค์ในการควบคุ มการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ด้วยแมกเนติคคอนแทค
เตอร์ คือทําให้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทาํ งานครังละ 1 ตัว ซึ งสามารถทําได้หลายวิธี ดังนี

1. แบบใช้ MAINTAINED CONTACT SWITCH


การควบคุมจะ Switch ON และ OFF ด้วยสวิทช์ S1 ซึ งเป็ นสวิทช์เลือกแบบปรับได้ 2
ทาง ส่ วน S2 ทําหน้าทีกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ ดังแสดงในภาพที 7.4
MAINTAINED CONTACT หมายถึง คอนแทคทีต่อวงจรให้ตวั เองทํางานตลอดเวลา (หรื อ
เรี ยกว่า Lock itself contact)
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 176
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ภาพที 8.5 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบใช้ MAINTAINED CONTACT SWITCH

รายการอุปกรณ์
S1 คือ Push button Switch “FOWARD”
S2 คือ Push button switch “REVERSE”
K1 คือ Forward Magnetic contactor
K2 คือ Reverse Magnetic contactor
F2 คือ Control fuse
F3 คือ Overload relay
2. แบบ GOGGING แบบที 1 (แบบทํางานชัวขณะแบบที 1)
การควบคุมแบบนี เป็ นการกลับทิศทางหมุนได้โดยตรง โดยเลือกที สวิทช์ S1 และ S2 เป็ น
ตัวเลือก แต่การลัดวงจรในวงจรกําลังอาจเกิดขึนได้ ถ้ากด S1 และ S2 พร้อมกัน เพราะว่า Interlock contact
ทังสองยังปิ ดอยู่ การควบคุมดังแสดงในภาพที 8.6
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 177
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วย หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ภาพที 8.6 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING แบบที 1 (แบบทํางานชัวขณะแบบที 1)

รายการอุปกรณ์
S1 คือ Push button Switch “FOWARD”
S2 คือ Push button switch “REVERSE”
K1 คือ Forward Magnetic contactor
K2 คือ Reverse Magnetic contactor
F2 คือ Control fuse
F3 คือ Overload relay
3. แบบ GOGGING แบบที 2 (แบบทํางานชั วขณะแบบที 2)
การควบคุมแบบนี เป็ นการกลับทิศทางหมุนโดยใช้ Push button switch แบบทีมีทงั คอนแทค
NC และ NO อยูใ่ นตัวเดียวกัน ซึ งแมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทงั สองจะถูก Interlock ด้วยคอนแทค NC ของ
Push button switch ดังแสดงในภาพที 8.7
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 178
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วย หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ภาพที 8.7 วงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบ GOGGING แบบที 2 (แบบทํางานชัวขณะแบบที 2)

รายการอุปกรณ์
S1 คือ Push button Switch “FOWARD”
S2 คือ Push button switch “REVERSE”
K1 คือ Forward Magnetic contactor
K2 คือ Reverse Magnetic contactor
F2 คือ Control fuse
F3 คือ Overload relay
การทํางานขอวงจรทําโดย บิดสวิทช์ S1 เพือจ่ายไฟให้วงจร เมื อกด S2 แมกเนติคคอนแทค
เตอร์ K1 จะทํางาน ถ้ากด S3 ในขณะที S2 ยังถูกกดอยู่ K1 จะหยุดทํางาน และจะไม่มีแมกเนติคคอนแทค
เตอร์ ตวั ใดทํางาน เพราะ Interlock contact ซึ งเป็ น NC ของ S2 และ S3 จะตัดวงจรซึ งกันและกันออก
Interlock หมายถึง การทีคอนแทคของวงจรส่ วนหนึ ง อาจเป็ นของสวิทช์หรื อของแมกเนติค
คอนแทคเตอร์ ก็ได้ ในขณะทีตวั ของมันทํางานแล้วไปตัดวงจรส่ วนอืนไม่ให้ทาํ งานได้
หลักการควบคุมแบบนี เป็ นการทํางานคล้ายๆ กับการควบคุมมอเตอร์ เครน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 179
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วย หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน)


1. การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ทําโดยวิธีใด
ก. กลับทิศทางการติดตังมอเตอร์ ข. สลับสายไฟคูใ่ ดคู่หนึ ง
ค. สลับทีของสายไฟทุกเส้น ง. ย้ายทีติดตังมอเตอร์
2. อุปกรณ์ใดทีไม่ใช่อุปกรณ์ทีใช้ในการสตาร์ ทมอเตอร์
ก. เซอร์ กิตเบรคเกอร์ ข. คัทเอาท์
ค. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ง. โวลต์มิเตอร์
3. ในการสตาร์ ทมอเตอร์ อุปกรณ์ใดทีมีระบบป้ องกันอยูใ่ นตัว
ก. Circuit breaker ข. Motor protection switch
ค. Magnetic contactor ง. Cut-out
4. รู ปต่อไปนีรูปใดคือ Interrupter Switch
ก. ข.

ค. ง.

5. การเลือกใช้ Motor protection switch ควรเลือกอย่างไร


ก. เลือกให้เหมาะสมกับกระแสพิกดั ของมอเตอร์ ข. เลือกให้เหมาะสมกับกระแสของแหล่งจ่ายไฟ
ค. เลือกให้เหมาะสมกับแรงดันพิกดั ของมอเตอร์ ง. เลือกให้เหมาะสมกับแรงดันของแหล่งจ่ายไฟ
5. การเลือกใช้ Motor protection switch ควรเลือกอย่างไร
ก. เลือกให้เหมาะสมกับกระแสพิกดั ของมอเตอร์ ข. เลือกให้เหมาะสมกับกระแสของแหล่งจ่ายไฟ
ค. เลือกให้เหมาะสมกับแรงดันพิกดั ของมอเตอร์ ง. เลือกให้เหมาะสมกับแรงดันของแหล่งจ่ายไฟ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 180
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วย หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

6. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ สามารถใช้งานเฉพาะตัวของมันในการควบคุมมอเตอร์ ได้หรื อไม่


ก. ไม่ได้ ข. ได้
ค. บางแบบได้ บางแบบไม่ได้ ง. ถูกทุกข้อ

7. Jogging Switch มีหลักการทํางานอย่างไร


ก. กดแล้วล็อคตลอดเวลา ข. ทํางานเมือถูกกด เลิกทํางานเมือปล่อย
ค. บางแบบกดแล้วล็อค บางแบบกดแล้วไม่ล็อค ง. ถูกทุกข้อ

8. Jogging Switch กับ Push Button Switch มีหลักการทํางานเหมือนกันหรื อไม่


ก. เหมือน ข. ไม่เหมือน
ค. บางแบบเหมือน บางแบบไม่เหมือน ง. ผิดทุกข้อ

9. การใช้ Jogging Switch และ Push Button Switch ควบคุมมอเตอร์ ถา้ ต้องการให้มอเตอร์ ทาํ งาน
ตลอดเวลาต้องทําอย่างไร
ก. กดสวิทช์แล้วปล่อยมืออก ข. ใช้รีโมตควบคุม
ค. กดแช่ไว้ ง. ไม่มีขอ้ ถูก

10. การนําโอเวอร์ โหลดรี เลย์มาต่อใช้งานในวงจรกําลังเพือให้ทาํ หน้าทีใด


ก. ให้มอเตอร์ หมุนเร็ วขึน ข. ให้มอเตอร์ หมุนช้าลง
ค. ป้ องกันมอเตอร์ ใช้งานเกินกําลัง ง. ป้ องกันสายวงจรควบคุม

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 181
ใบงานที 1
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Magnetic contactor “FORWARD”
9. K1 คือ Magnetic contactor “REVERSE” 10. S1 คือ Push button "STOP / OFF"
11. S2 คือ Push button " FORWARD " 12. S3 คือ Push button "REVERSE"
13. H1 คือ Pilot lamp "FORWARD" 14. H2 คือ Pilot lamp "REVERSE"
15. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 182
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบทันทีทนั ใด
โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการกลับทางหมุ นมอเตอร์ 3 เฟสแบบ
ทันทีทนั ใด โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถอธิ บ ายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการกลับทางหมุ น
มอเตอร์ 3 เฟสแบบทันทีทนั ใด โดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง
1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า
งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้า มนํา อุ ป กรณ์ ที ช ํา รุ ด
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก มาใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติดตังให้ระยะความห่ าง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุปกรณ์แต่ละตัวให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 183
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ า ม ป อ ก ส า ย ต่ อ


ถูกต้อง และครบถ้วน ระหว่างทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรคเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารัวลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 184
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อทํา ตามขัน ตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ต รวจสอบความถู ก ต้อง พร้ อมกับ
ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจร กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. K1 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ง. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
2. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. K1 และ H1 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K2 และ H2 ให้พร้อมทีจะทํางาน
ค. K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ง. K2 และ H2 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน
3. กดสวิทช์ S3 แล้วปล่อย จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. K1 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ง. K2 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
4. หลังจากกดสวิทช์ S3 แล้วให้กดสวิทช์ S2 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. สวิทช์จะสลับมาให้ K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ค. K1 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ง. ถูกทุกข้อ

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 185
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. กดสวิทช์ S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. วงจรทุกส่ วนหยุดทํางาน
ข. K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. K2 และ H2 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน
ง. K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก

6. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ เข้าใน


วงจร แล้วทดสอบวงจรโดยกด S2 แล้วปล่อยมือ ผลทีได้เป็ นอย่างไร
ก. K2 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H1ออก
ค. K1 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. K2 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
7. กดสวิทช์ S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ค. วงจรทุกส่ วน และมอเตอร์ หยุดทํางาน
ง. K2, H2 และมอเตอร์ หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน

8. กดสวิทช์ S3 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K2 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H 1 ออก
ค. K2 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
ง. K1 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 186
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
9. หลังจากกดสวิทช์ S3 แล้วให้กดสวิทช์ S2 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนซ้ายตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนขวาตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ค. สวิทช์จะสลับมาให้ K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานหมุนขวาตลอดเวลา พร้อมตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. ถูกทุกข้อ
10. กดสวิทช์ S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. K1, H1 และมอเตอร์ หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H2 ให้พร้อมทีจะทํางาน
ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 187
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 1 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 10
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 188
ใบงานที 2
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจาก หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
หยุดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Magnetic contactor “FORWARD”
9. K1 คือ Magnetic contactor “REVERSE” 10. S1 คือ Push button "STOP / OFF"
11. S2 คือ Push button " REVERSE " 12. S3 คือ Push button " FORWARD "
13. H1 คือ Pilot lamp "FORWARD" 14. H2 คือ Pilot lamp "REVERSE"
15. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 189
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจาก หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
หยุดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้แมกเนติค
คอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้
แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถอธิ บ ายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการกลับทางหมุ น
มอเตอร์ 3 เฟสโดยใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง
1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า
งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี ก ารใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้า มนํา อุ ป กรณ์ ที ช ํา รุ ด
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก มาใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติดตังให้ระยะความห่ าง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุปกรณ์แต่ละตัวให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 190
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจาก หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
หยุดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ า ม ป อ ก ส า ย ต่ อ


ถูกต้อง และครบถ้วน ระหว่างทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรคเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารัวลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 191
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
ทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อทํา ตามขัน ตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ต รวจสอบความถู ก ต้อง พร้ อมกับ
ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจร กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. K1 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ง. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
2. ปล่อยไว้ 2 นาที แล้วกด S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. วงจรทุกส่ วนหยุดทํางาน
ค. K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H 1 ออก
ง. K2 และ H2 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน
3. กดสวิทช์ S3 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. K1 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ง. K2 และ H1 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
4. หลังจากกดสวิทช์ S3 แล้วให้กดสวิทช์ S2 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 ทํางานตลอดเวลาเหมือนเดิม พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลาเหมือนเดิม พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. สวิทช์จะสลับมาให้ K2 และ H2 ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ง. K2 และ H2 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 192
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจาก หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
หยุดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. กดสวิทช์ S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K2 และ H2 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน
ข. K2 และ H2 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
ง. K1 และ H1 ยังทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก

6. ผลการทดลองจากข้อ 1 ถึงข้อ 5 K1 และ K2 สามารถทํางานสลับกันโดยไม่ตอ้ งกด S1 ได้หรื อไม่ เพราะอะไร


ก. ได้ เพราะวงจรควบคุมอยูค่ นละชุด
ข. ไม่ได้ เพราะโอเวอร์ โหลดเปิ ดวงจร
ค. ได้ เพราะวงจรควบคุมทํางานสลับกันได้
ง. ไม่ได้ เพราะ Interlock contact ของ K1 และ K2 จะป้ องกันไม่ให้ทาํ งานพร้อมกัน
7. ถ้ากดสวิทช์ S2 และ S3 พร้อมกันจะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K1 และ H1 จะทํางานก่อนเสมอ
ข. K2 และ H2 จะทํางานก่อนเสมอ
ค. จะเกิดการลัดวงจรของไฟกําลัง
ง. ไม่มีชุดใดทํางานเลย เพราะ Interlock contact ของ S1 และ S2 เปิ ดวงจร

8. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ เข้าใน


วงจร แล้วทดสอบวงจรโดยกด S2 แล้วปล่อยมือ ผลทีได้เป็ นอย่างไร
ก. K2 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K1 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. K2 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 193
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจาก หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
หยุดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

9. กดสวิทช์ S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร
ก. K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ค. K1, H1 และมอเตอร์ หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K2 และ H2 ให้พร้อมทีจะทํางาน
ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

10. กดสวิทช์ S3 จะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K2 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1 กับ H2 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K2 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนซ้ายและตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
ง. K1 กับ H1 ทํางานตลอดเวลาพร้อมจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ หมุนขวาและตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก

11. หลังจากกดสวิทช์ S3 แล้วให้กดสวิทช์ S2 จะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนซ้ายตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ข. K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานหมุนขวาตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ค. สวิทช์จะสลับมาให้ K1, H1 และมอเตอร์ ให้ทาํ งานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. ถูกทุกข้อ

12. กดสวิทช์ S1 จะมีผลอย่างไรอย่างไร


ก. K1, H1 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ข. K2, H2 และมอเตอร์ ยงั ทํางานตลอดเวลา พร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก
ค. วงจรทุกส่ วนและมอเตอร์ หยุดทํางาน
ง. K2 และ H2 หยุดทํางาน พร้อมกับต่อคอยล์ K1 และ H1 ให้พร้อมทีจะทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 194
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจาก หัวข้ อวิชา การกลับทางหมุนมอเตอร์
หยุดด้ วยระบบควบคุม 3 เฟสด้วยระบบควบคุม
งานย่ อยที 8 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 2 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 12
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 195
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัตถุประสงค์ : 1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลดแรงดันได้อย่างถูกต้อง


2. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด
แรงดันได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรเริ มเดิ นมอเตอร์ 3
เฟสโดยวิธีลดแรงดันได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอน : 1. บรรยาย
2. สาธิ ต
3. ดูรูปภาพ และฝึ กปฏิบตั ิจากของจริ ง
หัวข้ อสํ าคัญ : - การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ – เดลต้า แบบควบคุมด้วยมือ
- การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ – เดลต้า แบบอัตโนมัติ
- การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ – เดลต้า
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก : 1. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊
2. เครื องฉายโปรเจ็กเตอร์
3. ตูส้ วิทช์บอร์ ดทีมีระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย
4. มอเตอร์ 3 เฟส
5. แมกเนติคคอนแทคเตอร์
การมอบหมายงาน : ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอ่านในใบข้อมูลทีแจกให้ และตอบคําถามในใบทดสอบ
การวัดผล : ตอบคําถามในใบทดสอบท้ายบทเรี ยนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
หนังสื ออ้ างอิง :
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 196
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
การลดแรงดันขณะสตาร์ ทแบบสตาร์ เดลต้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสทีมีขนาดใหญ่เกินกว่า 5 กิ โลวัตต์นนั ไม่สามารถใช้วิธีการสตาร์ ตรง
(Direct Start) ได้ เนื องจากกระแสสตาร์ ทสู งมาก(ปกติค่ากระแสสตาร์ ทสู งประมาณ 4 - 8 เท่า ของค่ากระแส
ตามปกติของค่าพิกดั มอเตอร์ ) จึงต้องการอาศัยเทคนิ คการสตาร์ ทมอเตอร์ ทีสามารถลดกระแสขณะสตาร์ ท
มอเตอร์ ได้มิฉะนันแล้วการสตาร์ ทมอเตอร์ ขนาดใหญ่จะทําให้เกิดผลเสี ยแก่ระบบไฟฟ้ าหลายประการ เช่น
1. ทําให้อุปกรณ์ป้องกันไฟตก (Under voltage protective devices) ทํางาน
2. กระทบกระเทือนต่ออินดักชันมอเตอร์ ทีทาํ งานใกล้โหลดเต็มที หรื อโอเวอร์ โหลดเล็กน้อย
เพราะอาจทําให้มอเตอร์ ตวั อืนหยุดทํางานชัวขณะ เนืองจากแรงดันไฟฟ้ าในระบบตํากว่าปกติ
3. ทําให้เกิดไฟกระพริ บ
4. ในกรณี ทีโรงจ่ายกําลังไฟฟ้ าขนาดเล็ก อาจทําให้เครื องกําเนิดเกิดโอเวอร์ โหลดได้

ปกติมอเตอร์ ขนาดสู งกว่า 5 กิโลวัตต์ สามารถสามารถใช้วิธีการสตาร์ ตรงกับแหล่งจ่ายได้ แต่


ต้องดู ข ้อกํา หนดของการไฟฟ้ าด้วย ถ้า มอเตอร์ มี ข นาดใหญ่ ขึ นกระแสสตาร์ ท ก็ มี ค่ า สู ง ขึ นด้ว ย ดัง นันจึ ง
จําเป็ นต้องหาวิธีลดกระแสขณะสตาร์ ท ซึ งมีอยูด่ ว้ ยกัน 3 วิธี
1. การสตาร์ ทแบบสตาร์ -เดลต้า
2. การสตาร์ ทแบบลดกระแสแบบตัวต้านทาน
3. การสตาร์ ทโดยใช้หม้อแปลงลดแรงดัน

โดยทัวไปแล้วนิ ยมใช้การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ - เดลต้า สําหรับอินดักชันมอเตอร์ 3 เฟส


แบบทีเป็ นโรเตอร์ กรงกระรอก เพราะประหยัดและสะดวก มอเตอร์ ที นาํ มาใช้กบั การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบนี
ต้องเหมาะสมกับระบบไฟฟ้ าที ใช้ดว้ ย แรงดันระบุในมอเตอร์ สําหรับการต่อแบบเดลต้า ต้องเท่ากับแรงดัน
ของระบบไฟฟ้ า เช่น ระบบไฟฟ้ า 3N 380/220 V 50 Hz แผ่นป้ ายของมอเตอร์ (Name plate) ต้องกําหนดพิกดั
แรงดันไว้ดงั นี 3N 380/660 V 50 Hz
การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ - เดลต้านี ช่ วงแรกขอลวดของมอเตอร์ ต่อแบบสตาร์ แรงดันที
ขดลวดประมาณ 1/3 ของแรงดันในระบบ หลังจากช่วงเวลาการสตาร์ ทผ่านไปด้วยความเร็ ว 75% ของความเร็ ว
พิกดั ขดลวดของมอเตอร์ จะต่อแบบเดลต้า แรงดันขณะนี เท่ากับแรงดันจากแหล่งจ่ายของระบบไฟฟ้ า
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 197
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

กระแสและแรงบิด (Torque) ในการสตาร์ ทของการสตาร์ ทมอเตอร์ แบบนี ประมาณ 1/3 เท่าของ


กระแสทีใช้การสตาร์ ทโดยตรงกับแหล่งจ่าย ช่วงเวลาทีเหมาะสมในการเปลียนการต่อขดลวดของมอเตอร์ จาก
สตาร์ เป็ นเดลต้า คือ ที ความเร็ วประมาณ 75 - 80% ของความเร็ วรอบปกติ ที ความเร็ วช่วงนี สําหรับการต่อ
แบบเดลต้า แรงบิ ดของมอเตอร์ มีค่ าสู งมากและกระแสของมอเตอร์ ลดลงเหลื อประมาณ 1/2 ของกระแส
สตาร์ ท

การสตาร์ ทแบบสตาร์ -เดลต้ า สามารถทําได้ 2 วิธี


1.ใช้สตาร์ -เดลต้าสวิตช์
2. ใช้แมกเนติคคอนแทคเตอร์

การสตาร์ ทแบบใช้ สตาร์ - เดลต้ าสวิทช์


สตาร์ -เดลต้าสวิตช์ เป็ นสวิตช์ที มีลกั ษณะเป็ นดรัมสวิทช์ โรตารี แคมสวิตช์ คล้ายกับสวิตช์กลับ
ทางหมุนมอเตอร์ แต่โครงสร้างต่อภายในเปลี ยนแปลงไปให้เหมาะสมกับหลักการสตาร์ ท การสตาร์ ทแบบนี โร
ตารี แคมสวิตช์ทาํ หน้าทีเป็ น สตาร์ -เดลต้า

การสตาร์ ทแบบใช้ แมกเนติคคอนแทคเตอร์


การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ - เดลต้านี วงจรกําลังของการสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ - เดลต้า
การทํา งานจะต้อ งเรี ย งกัน ไป จากสตาร์ ไ ปเดลต้า และแมกเนติ ก คอนแทคเตอร์ ส ตาร์ ก ับ เดลต้า จะต้อ งมี
Interlock ซึ งกันและกัน การควบคุมมี 2 อย่าง คือ
1. การควบคุมด้วยมือ(Manual control) โดยใช้ Push button switch ในการเปลียนจากสตาร์ ไปเดลต้า
2. การควบคุมแบบอัตโนมัติ (Automatic control) โดยใช้รีเลย์หน่วงเวลา (Timer) ในการเปลี ยน
จาก สตาร์ ไปเดลต้า
การควบคุมทัง 2 อย่างนี ยังสามารถแบ่งการทํางานของวงจร Power ออกเป็ น 2 วิธี คือ
1. ทํางานโดยการต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟเข้ามอเตอร์
2. ทํางานโดยจ่ายไฟเข้ามอเตอร์ ก่อนการต่อจุดสตาร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 198
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

นอกจากนี ยังมีการสตาร์ ทมอเตอร์ แบบสตาร์ - เดลต้า โดยใช้แมกเนติกคอนแทคเตอร์ 2 ตัว


ซึ งวิธีนีจะไม่นิยมใช้เพราะมีขอ้ เสี ย คือ อาจทําให้เกิดปั ญหาขึ นกับมอเตอร์ ได้เพราะ ระบบไฟ 380 V จะแช่
อยูใ่ นขดลวดของมอเตอร์ ตลอดเวลา ถึงแม้จะไม่ได้เปิ ดใช้งานก็ตาม (ในกรณี ทีลืมปิ ดเบรคเกอร์ )
ในวงจรกําลังการสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ - เดลต้า โดยใช้แมกเนติก 2 ตัวและ 3 ตัว ยัง
สามารถต่อได้อีกอย่างละ 2 วิธี คือ
1. การต่อแบบให้มอเตอร์ กินกระแสผ่านโอเวอร์ โหลดเต็มพิกดั (Full load) การต่อแบบนี
ขนาดกระแสทริ ปของโอเวอร์ โหลดต้องไม่ตาํ กว่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์ ลักษณะของวงจรดูจากภาพที 9.1

ภาพที 9.1 การต่อวงจรไฟกําลังการสตาร์ ทสตาร์ – เดลต้า แบบ Full Load

2. การต่อแบบให้มอเตอร์ กินกระแสผ่านโอเวอร์ โหลดเพียงครึ งเดียว (Half load) การต่อแบบ


นี ขนาดกระแสทริ ปของโอเวอร์ โหลดต้องไม่ต าํ กว่า 1/2 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์ ลักษณะของวงจรดู
จากภาพที 9.2
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 199
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ภาพที 9.2 การต่อวงจรไฟกําลังการสตาร์ ทสตาร์ – เดลต้า แบบ Half Load

อุปกรณ์ ทีใช้ ในการควบคุมการสตาร์ ทแบบสตาร์ - เดลต้ า


1. สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch) จํานวน 2 ตัว โดยแยกหน้าทีของสวิทช์แต่ละตัวดังนี
- สวิทช์สีแดงใช้คอนแทคปกติปิด (NC) กําหนดให้เป็ น S1 ทําหน้าทีหยุดการทํางานของ
วงจร (STOP/OFF)
- สวิทช์สีเขียวใช้คอนแทคปกติเปิ ด (NO) กําหนดให้เป็ น S2 ทําหน้าทีเริ มการทํางานของ
วงจร (START/ON)

ภาพที 9.3 สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 200
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

2. คาร์ ทริ คฟิ วส์ จํานวน 4 ตัว โดยแยกหน้าทีของสวิทช์แต่ละตัวดังนี


- ฟิ วส์ป้องกันวงจรกําลัง (Power fuse) ใช้จาํ นวน 3 ตัว ใช้ป้องกันสายไฟวงจรกําลังเฟสละ
1 ตัว กําหนดให้เป็ น F1
- ฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุม (Control fuse) ใช้จาํ นวน 1 ตัว ใช้ป้องกันสายไฟวงจรควบคุม
กําหนดให้เป็ น F2

ภาพที 9.4 คาร์ ทริ คฟิ วส์

3. โอเวอร์ โหลดรี เลย์ (Overload relay) 3 เพส จํานวน 1 ตัว กําหนดให้เป็ น F3 ทําหน้าที
ป้ องกันมอเตอร์ กินกระแสเกินพิกดั

ภาพที 9.5 โอเวอร์ โหลดรี เลย์ (Overload relay)

4. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) จํานวน 3 ตัว กําหนดให้เป็ น K…. แต่ละ


ตัวมีหน้าทีดงั นี
- ตัวที 1 กําหนดให้เป็ น K1 ทําหน้าทีจ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์
- ตัวที 2 กําหนดให้เป็ น K2 ทําหน้าทีต่อจุดสตาร์ ให้มอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 201
ใบข้ อมูล
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

- ตัวที 3 กําหนดให้เป็ น K3 ทําหน้าทีต่อขดลวดให้มอเตอร์ ต่อแบบเดลต้า

ภาพที 9.6 แมกเนติคคอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)

9.5 มอเตอร์ 3 เฟส ( Three Phase Induction Motor) จํานวน 1 ตัว กําหนดให้เป็ น M1 เป็ น
ตัวเปลียนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานกล ทําหน้าที เป็ นต้นกําลังให้กบั เครื องจักรต่างๆ

ภาพที 9.7 มอเตอร์ 3 เฟส ( Three Phase Induction Motor)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 202
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน)

1. การทําให้มอเตอร์ เปลียนการทํางานจากการต่อขดลวดแบบสตาร์ เป็ นเดลต้า อยูท่ ี ความเร็ วประมาณเท่าใดของ


ความเร็ วรอบปกติ
ก. 55 - 60% ข. 65 - 70%
ค. 75 - 80% ง. 85 - 90%

2. ถ้านําอินดักชันมอเตอร์ มาต่อแบบสตาร์ ทตรง กระแสขณะสตาร์ ทจะมีค่าสู งประมาณกี เท่าของกระแสพิกดั


ก. 15 - 20 เท่า ข. 14 - 18 เท่า
ค. 8 - 14 เท่า ง. 4 - 8 เท่า

3. มอเตอร์ ทีจะนํามาสตาร์ ทแบบสตาร์ -เดลต้าได้จะต้องมีขนาดกี แรงม้า


ก. 1 ข. 3
ค. 5 ง. 7.5 ขึนไป

4. มอเตอร์ ทีจะนํามาสตาร์ ทแบบสตาร์ -เดลต้าได้จะต้องมีพิกดั แรงดันของขดลวดเท่าใด


ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์
ค. 440 โวลต์ ง. 660 โวลต์

5. สวิทช์ทีใช้ในการควบคุมวงจรสตาร์ มอเตอร์ สีใดเป็ นสวิทช์ทีใช้ในการหยุดการทํางาน


ก. ดํา ข. เขียว
ค. เหลือง ง. แดง

6. F2 หมายถึงอะไร
ก. ฟิ วส์ป้องกันสายวงจรกําลัง ข. ฟิ วส์ป้องกันมอเตอร์ ไหม้
ค. ฟิ วส์ป้องกันสายวงจรควบคุม ง. ฟิ วส์ป้องกันวงจรทังหมด
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 203
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลด หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แรงดัน โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

7. F3 ทําหน้าทีอะไร
ก. ป้ องกันสายวงจรกําลัง ข. ป้ องกันมอเตอร์ ไหม้
ค. ป้ องกันสายวงจรควบคุม ง. ป้ องกันวงจรทังหมด

8. K2 ทําหน้าทีอะไร
ก. ต่อจุดสตาร์ ให้มอเตอร์ ข. ต่อขดลวดมอเตอร์ ให้ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. จ่ายไฟกําลังให้มอเตอร์ ง. ตัดวงจรทังหมด

9. การต่อวงจรกําลังแบบ Full Load กระแสทริ ปของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ตอ้ งเป็ นเท่าใด


ก. ไม่ตาํ กว่า 1/4 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ข. ไม่ตาํ กว่า 1/2 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ค. ไม่ตาํ กว่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์
ง. เท่าใดก็ได้
10. การต่อวงจรกําลังแบบ Half Load กระแสทริ ปของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ตอ้ งเป็ นเท่าใด
ก. ไม่ตาํ กว่า 1/4 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ข. ไม่ตาํ กว่า 1/2 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ค. ไม่ตาํ กว่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์
ง. เท่าใดก็ได้

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 204
ใบงานที 1
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Line Magnetic Contactor
9. K2 คือ Star Magnetic contactor 10. K3 คือ Delta Magnetic Contactor
11. S1 คือ Push button "STOP / OFF" 12. S2 คือ Push button "START"
13. S3 คือ Push button "DELTA" 14. H1 คือ Pilot lamp "STAR"
15. H2 คือ Pilot lamp "DELTA" 16. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 205
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบ
ควบคุมด้วยมือ โดยต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟให้มอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
เดลต้าแบบควบคุมด้วยมือ โดยต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟให้มอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3
เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบควบคุมด้วยมือ โดยต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟให้มอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. โสายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี การใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้ามนําอุ ปกรณ์ ที ชาํ รุ ดมา
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก ใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติ ด ตัง ให้ ร ะยะความห่ า ง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะตัว ให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 206
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารั วลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 207
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจรกดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ข. K1, H1 ทํางานต่อให้ K3 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K2, H2 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. K2, H1 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก

2. เมือเวลาผ่านไป 5 วินาที กด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K1 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน

3. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K3 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

4. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลท์ เข้า


ในวงจรกดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1, K3 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ข. K2, H1, K1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ค. K3, H1, K1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบเดลต้า
ง. K2, H1, K3 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 208
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. เมือเวลาผ่านไป 5 วินาที กด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ง. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า

6. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

7. ปลดวงจรกําลังออกให้หมด นําสายไฟมาต่อ Short แทน NC ของ K3 ในแถวที 1 ของวงจรควบคุม


จ่ายไฟ 220 V เข้าวงจร กด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ข. K1, H1 ทํางานต่อให้ K3 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K2, H2 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. K2, H1 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก

8. เมือเวลาผ่านไป 5 วินาที กด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K2 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน

9. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 209
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 1 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 9
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 210
ใบงานที 2
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยจ่ ายไฟให้
โดยวิธีลดแรงดัน
มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Line Magnetic Contactor
9. K2 คือ Star Magnetic contactor 10. K3 คือ Delta Magnetic Contactor
11. S1 คือ Push button "STOP / OFF" 12. S2 คือ Push button "START"
13. S3 คือ Push button "DELTA" 14. H1 คือ Pilot lamp "STAR"
15. H2 คือ Pilot lamp "DELTA" 16. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 211
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยจ่ ายไฟให้
โดยวิธีลดแรงดัน
มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบ
ควบคุมด้วยมือ โดยจ่ายไฟให้มอเตอร์ ก่อนต่อจุดสตาร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
เดลต้าแบบควบคุมด้วยมือ โดยจ่ายไฟให้มอเตอร์ ก่อนต่อจุดสตาร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3
เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบควบคุมด้วยมือ โดยจ่ายไฟให้มอเตอร์ ก่อนต่อจุดสตาร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี การใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้ามนําอุ ปกรณ์ ที ชาํ รุ ดมา
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก ใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติ ด ตัง ให้ ร ะยะความห่ า ง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะตัว ให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 212
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยจ่ ายไฟให้
โดยวิธีลดแรงดัน
มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารั วลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 213
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยจ่ ายไฟให้
โดยวิธีลดแรงดัน
มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจรกดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3 ล็อกตัวเองและต่อให้ K2 และ H1 ทํางานพร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
ข. K1 ล็อกตัวเองและต่อให้ K2 และ H1 ทํางานพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ค. K2 ล็อกตัวเองและต่อให้ K1 และ H1 ทํางานพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ง. K1 ล็อกตัวเองและต่อให้ K3 และ H2 ทํางานพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก

2. เมือเวลาผ่านไป 5 วินาที กด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K1 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน

3. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K3 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

4. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลท์ เข้า


ในวงจรกดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3, H2 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ข. K1, K2, H1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ค. K1, K3, H1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบเดลต้า
ง. K2, K3, H2 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 214
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยจ่ ายไฟให้
โดยวิธีลดแรงดัน
มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. เมือเวลาผ่านไป 5 วินาที กด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ง. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า

6. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

7. ปลดวงจรกําลังออกให้หมด นําสายไฟมาต่อ Short แทน NC ของ K2 ในแถวที 4 ของวงจรควบคุม


จ่ายไฟ 220 V เข้าวงจร กด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K3 และ H2 พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ข. K1 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K2 และ H1 พร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ค. K2 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K1 และ H1 พร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ง. K3 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K1 และ H2 พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก

8. เมือเวลาผ่านไป 5 วินาที กด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K2 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน

9. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 215
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยจ่ ายไฟให้
โดยวิธีลดแรงดัน
มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 2 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 9
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 216
ใบงานที 3
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุดสตาร์ ก่อน
โดยวิธีลดแรงดัน
จ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Line Magnetic Contactor
9. K2 คือ Star Magnetic contactor 10. K3 คือ Delta Magnetic Contactor
11. S1 คือ Push button "STOP / OFF" 12. S2 คือ Push button "START"
13. K4T คือ Timer "DELTA" 14. H1 คือ Pilot lamp "STAR"
15. H2 คือ Pilot lamp "DELTA" 16. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 217
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุดสตาร์ ก่อน
โดยวิธีลดแรงดัน
จ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบ
อัตโนมัติ โดยต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟให้มอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
เดลต้าแบบอัตโนมัติ โดยต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟให้มอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3
เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบอัตโนมัติ โดยต่อจุดสตาร์ ก่อนจ่ายไฟให้มอเตอร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ 10. Timer
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี การใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้ามนําอุ ปกรณ์ ที ชาํ รุ ดมา
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก ใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติ ด ตัง ให้ ร ะยะความห่ า ง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะตัว ให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 218
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อจุดสตาร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารัวลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 219
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุดสตาร์ ก่อน
โดยวิธีลดแรงดัน
จ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. เมือจ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจร ตัง K4T ไว้ที 7 วินาที กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลที
ได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, K4T, H1 ทํางานต่อให้ K1 ทํางานล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ข. K1, K4T, H1 ทํางานต่อให้ K3 ทํางานล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ค. K2, K4T, H2 ทํางานต่อให้ K3 ทํางานล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก
ง. K2, K4T, H2 ทํางานต่อให้ K3 ทํางานล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
2. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K1 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน
3. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K4T, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K2 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
4. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลท์ เข้า
ในวงจรตังเวลาของ K4T ไว้ที 10 วินาที กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1, K3 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ข. K2, H1, K1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ค. K3, H1, K1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบเดลต้า
ง. K2, H1, K3 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 220
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุดสตาร์ ก่อน
โดยวิธีลดแรงดัน
จ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. เมือเวลาผ่านไป 10 วินาที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ง. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
6. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
7. ปลดวงจรกําลังออกให้หมด นําสายไฟมาต่อ Short แทน NC ของ K3 ในแถวที 1 ของวงจรควบคุม
จ่ายไฟ 220 V เข้าวงจร กด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ข. K1, H1 ทํางานต่อให้ K3 ล็อกตัวเองพร้อมกับต่อคอยล์ K2 และ H1 ให้ทาํ งาน
ค. K2, H2 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H2 ออก
ง. K2, H1 ทํางานต่อให้ K1 ล็อกตัวเองพร้อมกับต่อคอยล์ K3 และ H2 ให้ทาํ งาน
8. . เมือเวลาผ่านไป 10 วินาที หลังจากกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K2 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน
9. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 221
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุดสตาร์ ก่อน
โดยวิธีลดแรงดัน
จ่ ายไฟให้ มอเตอร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 3 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 9
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 222
ใบงานที 4
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Line Magnetic Contactor
9. K2 คือ Star Magnetic contactor 10. K3 คือ Delta Magnetic Contactor
11. S1 คือ Push button "STOP / OFF" 12. S2 คือ Push button "START"
13. K4T คือ Timer "DELTA" 14. H1 คือ Pilot lamp "STAR"
15. H2 คือ Pilot lamp "DELTA" 16. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 223
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบ
อัตโนมัติ โดยจ่ายไฟให้มอเตอร์ ก่อนต่อจุดสตาร์ ได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
เดลต้าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ายไฟให้มอเตอร์ ก่อนต่อจุดสตาร์ ได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ของส่ วนประกอบต่างๆ ของวงจรการเริ มเดิ นมอเตอร์ 3
เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ายไฟให้มอเตอร์ ก่อนต่อจุดสตาร์ ได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ 10. Timer
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี การใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้ามนําอุ ปกรณ์ ที ชาํ รุ ดมา
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก ใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติ ด ตัง ให้ ร ะยะความห่ า ง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะตัว ให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 224
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารัวลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 225
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. จ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจรตัง K4T ไว้ที 7 วินาที กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้
จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 ล็อกตัวเอง K4T, K2 และ H1 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก K4T เริ มนับเวลา
ข. K1 ล็อกตัวเอง K4T, K3 และ H2 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก K4T เริ มนับเวลา
ค. K2 ล็อกตัวเอง K4T, K3 และ H2 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K1 และ H1 ออก K4T เริ มนับเวลา
ง. K3 ล็อกตัวเอง K4T, K2 และ H1 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K1 และ H2 ออก K4T เริ มนับเวลา
2. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K1 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน
3. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K2, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K3 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
4. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลท์ เข้า
ในวงจรตังเวลาของ K4T ไว้ที 7 วินาที กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3, K4T, และ H2 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ข. K1, K2, K4T, และ H1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ค. K1, K3, K4T, และ H1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบเดลต้า
ง. K2, K3, K4T, และ H2 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 226
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ง. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
6. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
7. ปลดวงจรกําลังออกให้หมด นําสายไฟมาต่อ Short แทน NC ของ K2 ในแถวที 2 ของวงจรควบคุม
จ่ายไฟ 220 V เข้าวงจร กด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K3 และ H2 พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
ข. K1 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K2 และ H1 พร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ค. K2 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K1 และ H1 พร้อมกับตัดคอยล์ K3 และ H2 ออก
ง. K3 ทํางานล็อกตัวเองต่อให้ K1 และ H2 พร้อมกับตัดคอยล์ K2 และ H1 ออก
8. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3 และ H1 หยุดทํางาน K2 และ H2 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K2 และ H1 ทํางาน
ค. K2, และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน
9. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K3, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K3, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 227
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยจ่ ายไฟให้ มอเตอร์
โดยวิธีลดแรงดัน
ก่ อนต่ อจุดสตาร์
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 4 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 2
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 9
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 228
ใบงานที 5
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ

กําหนดให้
1. L1 คือ สายเส้นไฟเฟสที 1 2. L2 คือ สายเส้นไฟเฟสที 2
3. L3 คือ สายเส้นไฟเฟสที 3 4. N คือ สายเส้น 0
5. F1 คือ Power Fuse 6. F2 คือ Control fuse
7. F3 คือ Overload relay 8. K1 คือ Line Magnetic Contactor “FORWARD”
9. K2 คือ Line Magnetic Contactor “REVERSE” 10. K3 คือ Delta Magnetic Contactor
11. K4 คือ Star Magnetic Contactor 12. S1 คือ Push button "STOP / OFF"
13. S2 คือ Push button "FORWARD" 14. S3 คือ Push button "REVERSE "
15. K5T คือ Timer "DELTA" 16. H1 คือ Pilot lamp "STAR"
17. H2 คือ Pilot lamp "DELTA" 18. M3~ คือ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 229
ใบงานที 5
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ให้ผรู ้ ับการฝึ กต่อวงจรตามแบบ พร้อมทังทดสอบการทํางานและตอบคําถามในใบทดสอบ


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 230
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถอธิ บายลักษณะของการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้า
แบบอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
2. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถบอกส่ วนประกอบของวงจรการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ
สตาร์ -เดลต้า แบบอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
3. ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กสามารถอธิ บายหน้าที ข องส่ วนประกอบต่า งๆ ของวงจรการกลับ ทางหมุ น
มอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้า แบบอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
เครืองมือ : 1. คีมรวม 2. คีมตัด 3. คีมปากจิงจก 4.ไขควงแบน-แฉก 5. คัทเตอร์ 6. คีมยําหางปลา
วัสดุ – อุปกรณ์ :
1. AC Three Phase Motor 2. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ 3. สายไฟฟ้ า VSF 1 x 1 ตร.มม.
4. สายไฟฟ้ า THW 1 x 2.5 ตร.มม. 5. สายไฟฟ้ า VCT 5 x 2.5 ตร.มม 6. โอเวอร์ โหลดรี เลย์
7. ปลักฟิ วส์ ขนาด 16 A พร้อมฐาน 8. สวิทช์ปุ่มกด 9. หลอดไฟสัญญาณ 10. Timer
ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

1. เตรี ยมเครื องมือ ตรวจสอบสภาพเครื องมือว่าอยูใ่ นสภาพทีพร้อมจะใช้ ค รู ฝึ ก ค ว ร แ น ะ นํ า


งานหรื อไม่ เช่น วิ ธี การใช้ ง านและการ
- คีม ไขควง คัตเตอร์ คีมยําหางปลา ชํารุ ดหรื อไม่ บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี
- ขดลวดมอเตอร์ รัวลงโครงหรื อไม่
2. เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ตรวจสอบความเรี ย บร้ อยของอุ ป กรณ์ ทุก ตัวว่า อยู่ใ น ห้ามนําอุ ปกรณ์ ที ชาํ รุ ดมา
สภาพที พ ร้ อมใช้ง านได้อย่า งปลอดภัย หรื อ ไม่ หาก ใช้งานโดยเด็ดขาด
ชํารุ ดให้ซ่อมแซมให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปใช้งาน
3. ติดตังอุปกรณ์ ติ ดตัง อุ ปกรณ์ ที เตรี ย มไว้ล งในตูค้ วบคุ มให้เหมาะสม ติ ด ตัง ให้ ร ะยะความห่ า ง
และพอดีกบั ขนาดของตู ้ ของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะตัว ให้
พอเหมาะ สวยงาม
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 231
ใบขันตอนการปฏิบัติงาน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

ขันตอนการปฏิบตั ิงาน คําอธิ บาย ข้อควรระวัง

4. การต่อวงจรควบคุม 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ห้ามปอกสายต่อระหว่าง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทางโดยเด็ดขาด
2. ต่อวงจรควบคุมด้วยสาย VSF ขนาด 1 ตร.มม. ห้า มเปิ ดเมนเบรกเกอร์
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ค้างไว้ขณะต่อวงจร
ใบทดสอบ ระวังกระแสไฟฟ้ ารั วลง
โครงตู ้ และอุปกรณ์

5. การต่อวงจรกําลัง 1. ใส่ ห มายเลขกํา กับ ขัว ของอุ ป กรณ์ ล งในแบบให้ ก่ อ นทดสอบวงจรต้อ ง


ถูกต้อง และครบถ้วน ทดสอบวงจรควบคุมให้
2. ต่อวงจรกําลังด้วยสาย THW ขนาด 2.5 ตร.มม. เรี ยบร้อยก่อน
หรื อขนาดทีเหมาะสมกับมอเตอร์ แจ้ ง ใ ห้ ค รู ฝึ ก ทํ า ก า ร
3. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุมตามขันตอนใน ตรวจสอบก่อนทดสอบ
ใบทดสอบ ต่อขัวมอเตอร์ ให้ถูกต้อง
ตามที ก ํ า หนดบนเนม
เพลทของมอเตอร์
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 232
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

เมื อ ทํา ตามขันตอนในใบขันตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านแล้ว ให้ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง พร้ อ มกับ


ทดลองวงจร และตอบคําถามต่อไปนี (ข้อละ 1 คะแนน)
1. จ่ายไฟกระแสสลับ 220 V. เข้าไปในวงจรตัง K5T ไว้ที 7 วินาที กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้
จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 ล็อกตัวเอง K5T, K4 และ H1 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K2 K3 และ H2 ออก
ข. K1 ล็อกตัวเอง K5T, K3 และ H2 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K2 K4 และ H1 ออก
ค. K2 ล็อกตัวเอง K5T, K4 และ H1 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K1 K3 และ H1 ออก
ง. K2 ล็อกตัวเอง K5T, K3 และ H2 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K1 K4 และ H2 ออก
2. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3 และ H2 หยุดทํางาน K2, K4, K5T และ H1 ทํางาน
ข. K2, K3 และ H2 หยุดทํางาน K1, K4, K5T และ H1 ทํางาน
ค. K4, K5T และ H1 หยุดทํางาน K2, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, K5T และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน
3. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K4, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K3 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน
4. กดสวิทช์ S3 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1 ล็อกตัวเอง K5T, K4 และ H1 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K2 K3 และ H2 ออก
ข. K1 ล็อกตัวเอง K5T, K3 และ H2 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K2 K4 และ H1 ออก
ค. K2 ล็อกตัวเอง K5T, K4 และ H1 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K1 K3 และ H2 ออก
ง. K2 ล็อกตัวเอง K5T, K3 และ H2 ให้ทาํ งานพร้อมตัดคอยล์ K1 K4 และ H2 ออก

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 233
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
แบบสตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ
โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

5. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K3, K5T และ H2 หยุดทํางาน K2 K4 และ H1 ทํางาน
ข. K2, K3, K5T และ H2 หยุดทํางาน K1 K4 และ H1 ทํางาน
ค. K4, K5T และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 และ H2 ทํางาน
ง. K3, K5T และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 และ H1 ทํางาน

6. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K4, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K3 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

7. ต่อวงจรไฟกําลังตามใบงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วจ่ายไฟสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลท์ เข้า


ในวงจรตังเวลาของ K5T ไว้ที 7 วินาที กดสวิทช์ S2 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K1, K3, K5T, และ H2 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ข. K2, K4, K5T, และ H1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์
ค. K1, K3, K5T, และ H1 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบเดลต้า
ง. K2, K3, K5T, และ H2 ทํางานจ่ายไฟให้มอเตอร์ แบบสตาร์

8. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S2 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K2, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ง. K1, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า

9. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K4, K1, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ ข. K1, K2, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ค. K4, K2, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 234
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

10. กดสวิทช์ S3 แล้วปล่อยทันที ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1 ล็อกตัวเอง K5T, K4, H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ พร้อมตัดคอยล์ K2 K3 และ H2 ออก
ข. K1 ล็อกตัวเอง K5T, K3, H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้าพร้อมตัดคอยล์ K2 K4 และ H1 ออก
ค. K2 ล็อกตัวเอง K5T, K4 H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์ พร้อมตัดคอยล์ K1 K3 และ H2 ออก
ง. K2 ล็อกตัวเอง K5T, K3 H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้าพร้อมตัดคอยล์ K1 K4 และ H2 ออก

11. เมือเวลาผ่านไป 7 วินาที หลังจากกด S3 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร


ก. K1, K3. K5T และ H2 หยุดทํางาน K2 K4 H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
ข. K2, K3, K5T และ H2 หยุดทํางาน K1 K4 H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ค. K4, K5T และ H1 หยุดทํางาน K1, K3 H2 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบเดลต้า
ง. K3, K5T และ H2 หยุดทํางาน K1, K2 H1 และมอเตอร์ ทาํ งานแบบสตาร์
12. กด S1 ผลทีได้จะเป็ นอย่างไร
ก. K4, H1 และ K1 ทํางานปกติ ข. K1, K3 และ H2 ทํางานปกติ
ค. K3 และ K2 ทํางานพร้อมกัน ง. วงจรทังหมดหยุดทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 235
ใบให้ คะแนน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบ หัวข้ อวิชา การเริ มเดินมอเตอร์ 3 เฟส
สตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ โดยวิธีลดแรงดัน
งานย่ อยที 9 เวลา 2 : 12 ชัวโมง

วัสดุ – อุปกรณ์
เซอร์ กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส ขนาด 20 A., มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้า, แมกเนติกคอนแทค
เตอร์ , โอเวอร์ โหลดรี เลย์, สวิทซ์ปุ่มกด, หลอดไฟสัญญาณ, คาร์ ทริ จฟิ วส์, สายไฟ THW ขนาด 2 x 2.5 ตร.มม.,
สายไฟ VCT ขนาด2 x 2.5 ตร.มม., เครื องมือช่างไฟฟ้ า, เทปพันสายไฟ
คําสั ง
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กต่อวงจรแบบตามแบบในใบงานที 5 ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ทีสุดและทดสอบตาม
ขันตอนในใบทดสอบ
คะแนน
ขันตอนการปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ
เต็ม ได้
1, วงจรไฟกําลัง - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. วงจรควบคุม - การเลือกขนาดสาย 1
- ความถูกต้องของวงจร 2
- การเข้าสายกับอุปกรณ์ 2
- การติดตังอุปกรณ์ 2
- ความสวยงาม 2
2. การทดสอบการทํางาน - ข้อละ 1 คะแนน 12
ตามขันตอนในใบทดสอบ

รวมคะแนน 30
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 236
ใบเตรียมการสอน
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชั วโมง
วัตถุประสงค์ :
1. ผูเ้ ข้ารับการฝึ กสามารถตอบคําถามในใบทดสอบภาคทฤษฎี ได้อย่างถูกต้อง
2. เป็ นการวัดผลก่อนการจบหลักสู ตร
วิธีการสอน :
บรรยายวิธีการทําข้อสอบ และเกณฑ์การประเมิน
หัวข้ อสํ าคัญ :
- คะแนนรวมภาคทฤษฎีของแต่ละงานย่อย
- คะแนนรวมภาคปฏิบตั ิของแต่ละงานย่อย
- คะแนนรวมภาคทฤษฎีจากหัวข้อการวัดและประเมินผล
อุปกรณ์ ช่วยฝึ ก :
1. ข้อสอบภาคทฤษฎีจาํ นวน 60 ข้อ
2. กระดาษคําตอบ
การมอบหมายงาน :
ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กตอบคําถามในใบทดสอบโดยทําเครื องหมาย X ทับข้อทีถูกต้องทีสุดเพียงข้อ
เดียว ในเวลา 1 ชัวโมง
การวัดผล :
คะแนนรวมภาคทฤษฎีแต่ละงานย่อยเท่ากับ 70 คะแนน คะแนนภาคทฤษฎีจากหัวข้อการวัด
และประเมินผลเท่ากับ 30 คะแนน รวมคะแนนภาคทฤษฎี ท ังหมดเท่ากับ 100 คะแนน คะแนนรวม
ภาคทฤษฎีทงั หมดเท่ากับ 100 คะแนน และต้องได้คะแนนภาคทฤษฎีไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60
คะแนนรวมภาคปฏิบตั ิจากทุกงานย่อยรวมกัน เท่ากับ 400 คะแนน และต้องได้คะแนนไม่นอ้ ย
กว่าร้อยละ 80
ผลคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิรวมกันแล้วต้องไม่ต ํากว่าร้อยละ 70 และต้องมีเวลาเข้าฝึ ก
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 จึงจะถือว่าผ่าน
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 237
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

คําสั ง จงทําเครื องหมายกากบาท (X) ทับบนคําตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 0.5 คะแนน)


1. ข้อใดคือความหมายของไฟฟ้ าช้อต
ก. ส่ วนใดส่ วนหนึงของร่ างกายสัมผัสกับวงจรไฟฟ้ า ข. ฟิ วส์ขาดเพราะไฟฟ้ าช้อต
ค. กระแสไฟฟ้ าครบวงจรโดยไม่ผา่ นเครื องใช้ไฟฟ้ า ง. เบรกเกอร์ ตดั เพราะไฟฟ้ าช้อต
2. ผลจากไฟฟ้ าลัดวงจรจะทําให้กระแสไฟฟ้ าในวงจรเป็ นแบบใด
ก. กระแสไฟฟ้ าไหลน้อยลง ข. กระแสไฟฟ้ าไหลปกติ
ค. กระแสไฟฟ้ าไม่ไหลเลย ง. กระแสไฟฟ้ าไหลมาก
3. ข้อใดไม่ใช่ขนั ตอนในการปฏิบตั ิเพือความปลอดภัยทางไฟฟ้ า
ก. ขันตอนการติดตัง ข. ขันตอนการปฏิบตั ิงาน
ค. ขันตอนการใช้งาน ง. ขันตอนการบํารุ งรักษา
4. กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านร่ างกายจนทําให้รู้สึกถึงความเจ็บปวดได้มีประปริ มาณกี แอมแปร์
ก. 1 ข. 1 - 3
ค. 3 - 10 ง. มากกว่า 10
5. การตรวจชีพจรของผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูดทําโดยวิธีใด
ก. คลําทีหน้าท้อง ข. คลําทีขอ้ เท้า
ค. คลําทีคอหรื อข้อมือ ง. คลําทีหวั ใจ
6. การปฐมพยาบาลผูท้ ีถูกกระแสไฟฟ้ าดูดจนหมดสติทาํ โดยวิธีใด
ก. ให้ดมยาดมหรื อยาหม่อง ข. กรอกปากด้วยเหล้าให้เลือดไหลเวียนดีขีน
ค. ให้ลมหายใจทางปากหรื อเป่ าปาก ง. นวดทัวตัวเพือกล้ามเนือคลายตัว
7. ถ้าผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูดหัวใจหยุดเต้น จะทําการตรวจการเต้นของหัวใจโดยวิธีใด
ก. คลําชีพจร ข. ใช้หูแนบทีหวั ใจเพือฟังเสี ยง
ค. สังเกตการเปิ ดของเปลือกตา ง. ใช้มือคลําทีจมูก

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 238
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชั วโมง
8. ระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ าให้แก่ผใู ้ ช้ไฟในปั จจุบนั ของการไฟฟ้ าฯ มีอยูก่ ี ระบบ อะไรบ้าง
ก. 2 ระบบ คือ 1 เฟส 2 สาย กับ 3 เฟส 3 สาย ข. 1 ระบบ คือ 3 เฟส 4 สาย
ค. 2 ระบบ คือ 1 เฟส 2 สาย กับ 3 เฟส 4 สาย ง. 1 ระบบ คือ 1 เฟส 2 สาย
9. หม้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีใช้สาํ หรับงานแบบใด
ก. รักษาระดับแรงดันไฟฟ้ าให้คงที ข. แปลงกระแสไฟฟ้ าให้สูงขึน หรื อตําลง
ค. รักษาระดับกระแสไฟฟ้ าให้คงที ง. แปลงแรงดันไฟฟ้ าให้สูงขึน หรื อตําลง
10. ในวงจรใดๆ ถ้ากําหนดให้แหล่งจ่ายมีแรงดันไฟฟ้ า 50 โวลต์ มีความต้านทาน 10 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าที
ไหลในวงจรมีค่าเท่าใด
ก. 5 วัตต์ ข. 5 แอมแปร์
ค. 5 ยูนิต ง. 5 โอห์ม
11. หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้ าเรี ยกว่าอะไร
ก. โอห์ม ข. แอมแปร์
ค. โวลต์ ง. วัตต์
12. อิเล็กตรอนมีทิศทางการเคลื อนทีจากประจุใด ไปสู่ ประจุใด
ก. จากประจุลบไปสู่ ประจุบวก ข. จากประจุบวกไปสู่ ประจุลบ
ค. มีทงั ลบไปบวก และบวกไปลบ ง. ถูกทุกข้อ
13. กระแสไฟฟ้ ามีกีชนิด อะไรบ้าง
ก. 2 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าลบและกระแสไฟฟ้ าบวก ข. 1 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าสลับ
ค. 2 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าตรงและกระแสไฟฟ้ าสลับ ง. 1 ชนิด คือกระแสไฟฟ้ าตรง
14. ความต้านทานไฟฟ้ าคืออะไร
ก. การต้านการไหลของกระแสไฟฟ้ า ข. ค่าความต่างศักย์ทางไฟฟ้ าระหว่างจุดสองจุด
ค. การเคลือนทีของอิเล็กตรอน ง. อัตราการเปลียนแปลงทางไฟฟ้ า
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 239
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชั วโมง

15. 1 กิโลวัตต์ มีค่าตรงกับข้อใด


ก. 1,000 มิลลิวตั ต์ ข. 100 วัตต์
ค. 10,000 มิลลิวตั ต์ ง. 1,000 วัตต์
16. 1 แรงม้า มีค่าเท่ากับกี วตั ต์
ก. 476 ข. 746
ค. 647 ง. 764
17. มอเตอร์ ตวั หนึงมีกาํ ลังไฟฟ้ าเท่ากับ 37.3 kW มีค่าเท่ากับกีแรงม้า
ก. 5 ข. 25
ค. 50 ง. 75
18. IP (Index of protection) คืออะไร
ก. ค่ามาตรฐานของเครื องอุปกรณ์ ข. ค่าความสามารถในการป้ องกัน
ค. ค่ามาตรฐานเฉพาะ ง. ค่ามาตรฐานทัวไป
19. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. คอนแทคช่วย ข. สวิทช์ปิด - เปิ ดธรรมดา
ค. สวิทช์ปุ่มกด ง. รี เลย์แบบ 1 NO, 1 NC

20. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี


ก. รี เลย์แบบ 1 NO, 1 NC ข. คอนแทคเตอร์ ชนิด 3 ขัว
ค. รี เลย์กาํ ลังทํางาน ง. รี เลย์ตงั เวลา
21. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. คอนแทคเตอร์ ชนิ ด 3 ขัว ข. คอนแทคเตอร์ ชนิด 3 ขัว กําลังทํางาน
ค. รี เลย์กาํ ลังทํางาน ง. เซอร์กิตเบรกเกอร์กาํ ลังทํางาน

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 240
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง

22. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี


ก. ขดลวดสนามแม่เหล็ก ข. หวูดสัญญาณ
ค. หลอดไฟสัญญาณ ง. ลิมิตสวิทช์
23. ข้อใดคือความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปนี
ก. สายดิน ข. จุดต่อสายดิน
ค. สายเส้นศูนย์ ง. สายเส้นไฟ
24. การเขียนแบบโดยแยกวงจรกําลังและวงจรควบคุมออกมาเขียนไว้คนละที เป็ นแบบชนิดใด
ก. แบบงานจริ ง ข. แบบประกอบการติดตัง
ค. แบบแสดงการทํางาน ง. แบบแสดงวงจรสายเดียว
25. การเขียนแบบของอุปกรณ์ใดๆ ทีเขียนเป็ นชิ นเดียวกันโดยไม่แยกออกจากกัน เป็ นการเขียนวงจรชนิดใด
ก. แบบงานจริ ง ข. แบบแสดงการทํางาน
ค. แบบแสดงวงจรสายเดียว ง. แบบวงจรประกอบการติดตัง
26. มอเตอร์ ไฟฟ้ าคืออะไร
ก. เครื องมือเปลียนพลังงานกลให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า.
ข. เครื องมือเปลียนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานกล
ค. เครื องมือเปลียนพลังงานกลให้เป็ นพลังงานหมุน
ง. เครื องมือเปลียนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานหมุน
27. ก่อนทําการต่อขัวมอเตอร์ จะศึกษาได้จากทีใด
ก. หนังสื อ ข. เนมเพลทของมอเตอร์
ค. แหล่งจ่ายแรงดัน ง. ตัวอย่างทีต่อใช้ตามโรงงาน
28. การต่อขัวมอเตอร์ 3 เฟส ทีกาํ หนดแรงดันไฟฟ้ าไว้ที 220/380 V. ความถี 50/60 Hz. ต้องต่อแบบใด
เมือมีแหล่งจ่าย 220 V.
ก. สตาร์ – เดลต้า ข. สตาร์
ค. เดลต้า ง. ถูกทัง ข และ ค
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 241
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง
29. การต่อขัวมอเตอร์ 3 เฟส ทีกาํ หนดแรงดันไฟฟ้ าไว้ที 380/660 V. ความถี 50/60 Hz. ต้องต่อแบบใด
เมือมีแหล่งจ่าย 380 V
ก. สตาร์ – เดลต้า ข. สตาร์
ค. เดลต้า ง. ถูกทัง ข และ ค
30. ส่ วนประกอบทีสาํ คัญของมอเตอร์ มี 3 ส่ วน อะไรบ้าง
ก. เนมเพลท, พูลเลย์, ลูกปื น ข. โรเตอร์ , ลูกปื น, เนมเพลท
ค. สเตเตอร์ , เนมเพลท, ฝาปิ ดหัว – ท้าย ง. โรเตอร์ , สเตเตอร์ , ฝาปิ ดหัว – ท้าย
31. เนมเพลทของมอเตอร์ มีความสําคัญอย่างไร
ก. บอกรายละเอียดคุณสมบัติและคุณลักษณะของมอเตอร์
ข. บอกลักษณะการพันขดลวดของมอเตอร์
ค. บอกวิธีการต่อขดลวด
ง. บอกขนาดแรงดันและกระแสไฟฟ้ า
32. ถ้าวัดความต้านทานขดลวดของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส ได้เกิน 3 คู่แสดงว่า
ก. มอเตอร์ ใช้งานได้ปกติ
ข. ขดลวดของมอเตอร์ เกิดการลัดวงจร
ค. ลูกปื นแตก
ง. มอเตอร์ เกิดโอเวอร์ โหลด
33. เซอร์ กิตเบรคเกอร์ จะเปิ ดวงจรเมือเกิดเหตุการณ์ใด
ก. แรงดันไฟฟ้ าเกินกว่าทีกาํ หนด ข. ความต้านทานมากกว่าทีกาํ หนด
ค. กําลังไฟฟ้ ามากกว่าทีกาํ หนด ง. กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเกินกว่าทีกาํ หนด
34. ข้อใดไม่ใช่หลักการทํางานของเซอร์ กิตเบรคเกอร์
ก. ทํางานด้วยความร้อน ข. ทํางานด้วยอํานาจแม่เหล็ก
ค. ทํางานด้วยความเย็น ง. ทํางานด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 242
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง
35. พิกดั กระแสของฟิ วส์คืออะไร
ก. ค่ากระแสใช้งานตําสุ ด ข. ค่ากระแสใช้งานสู งสุ ด
ค. ค่าแรงดันใช้งานสู งสุ ด ง. ค่าแรงดันใช้งานตําสุ ด
36. ฟิ วส์มีกีชนิด อะไรบ้าง
ก. 2 ชนิด คือชนิดหน่วงเวลา และชนิดขาดเร็ ว ข. 2 ชนิด คือชนิ ดขาดเร็ ว และชนิดไม่ขาด
ค. 2 ชนิด คือชนิดหน่วงเวลา และชนิดไม่ขาด ง. 2 ชนิด คือชนิ ดขาดเร็ ว และชนิดรี เซ็ต
37. ฟิ วส์ป้องกันวงจรกําลังของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ ต้องทนกระแสได้เท่าใด
ก. 3 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที ข. 2 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที
ค. 1 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที ง. 1.5 เท่าของกระแสมอเตอร์ ขณะรับโหลดเต็มที
38. ฟิ วส์ป้องกันวงจรควบคุมของมอเตอร์ ไฟฟ้ า ต้องทนกระแสได้เท่าใด
ก. มีค่ากระแสตํากว่ากระแสสู งสุ ดทีสายทนได้ ข. มีค่ากระแสมากกว่ากระแสสู งสุ ดที สายทนได้
ค. มีค่ากระแสเท่ากับกระแสสู งสุ ดที สายทนได้ ง. มีค่ากระแสตํากว่าแรงดันสู งสุ ดทีสายทนได้
39. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ทาํ งานโดยอาศัยหลักการใด
ก. หลักการกดของสวิทช์ ข. หลักการทํางานของแม่เหล็กไฟฟ้ า
ค. หลักการทํางานของแม่เหล็กถาวร ง. หลักการดันของสปริ งดันกลับ
40. หน้าสัมผัสของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ แบ่งออกเป็ นกี ส่วน อะไรบ้าง
ก. 2 ส่ วน คือปกติเปิ ด และปกติปิด ข. 3 ส่ วน คือปกติเปิ ด ปกติปิด และคอนแทคเมน
ค. 2 ส่ วน คือคอนแทคเมน และคอนแทคช่วย ง. 3 ส่ วน คือปกติเปิ ด ปกติปิด และคอนแทคช่วย
41. คอนแทคช่วยของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ แบ่งออกเป็ นกี แบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ คือคอนแทคแบบปกติเปิ ด และคอนแทคแบบปกติปิด
ข. 3 แบบ คือคอนแทคแบปกติเปิ ด คอนแทคแบบปกติปิด และแบบคอนแทคเมน
ค. 2 แบบ คือแบบคอนแทคเมน และแบบคอนแทคปกติเปิ ด
ง. 3 แบบ คือคอนแทคแบบปกติเปิ ด คอนแทคแบบปกติปิด และคอนแทคแบบโยกได้ 2 ทาง

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 243
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง

42. ในการควบคุมมอเตอร์ นาํ โอเวอร์ โหลดรี เลย์มาใช้งานเพืออะไร


ก. ป้ องกันสายวงจรกําลัง ข. ป้ องกันสายวงจรควบคุม
ค. ป้ องกันมอเตอร์ กินกระแสเกินพิกดั ง. ป้ องกันแมกเนติคคอนแทคเตอร์
43. การปรับตังกระแสการทริ ปของโอเวอร์ โหลด มีค่าเท่ากับเท่าใดของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ก. 1 เท่า หรื อ 100 % ข. 1.25 เท่า หรื อ 125 %
ค. 2 เท่า หรื อ 200 % ง. 2.25 เท่า หรื อ 225 %
44. ในการควบคุมมอเตอร์ สวิทช์ทีใช้ในการ Start ใช้สวิทช์สีใด
ก. แดง ข. เหลือง
ค. นําเงิน ง. เขียว
45. ในการควบคุมมอเตอร์ สวิทช์ทีใช้ในการ Stop ใช้สวิทช์สีใด
ก. แดง ข. เหลือง
ค. นําเงิน ง. เขียว
46. คอนแทคของรี เลย์ตงั เวลามีหลักการทํางานแบบใดบ้าง
ก. หน่วงเวลาหลังจากจ่ายไฟเข้า Coil ข. หน่วงเวลาหลังจากตัดไฟออกจาก Coil
ค. คอนแทคทํางานทันทีเมือจ่ายไฟเข้า Coil ง. ถูกทัง ก และ ข
47. รู ปต่อไปนีรูปใดคือ Interrupter Switch
ก. ข.

ค. ง.

48. อุปกรณ์ใดทีไม่ใช่อุปกรณ์ทีใช้ในการสตาร์ ทมอเตอร์


ก. เซอร์ กิตเบรคเกอร์ ข. คัทเอาท์
ค. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ ง. โวลต์มิเตอร์

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 244
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง

49. ในการสตาร์ ทมอเตอร์ อุปกรณ์ใดทีมีระบบป้ องกันอยูใ่ นตัว


ก. Circuit breaker ข. Motor protection switch
ค. Magnetic contactor ง. Cut-out
50. การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส ทําได้โดยวิธีใด
ก. ย้ายทีติดตังมอเตอร์ ข. นําคาปาซิ เตอร์ มาต่อเข้าทีขดลวดทัง 3 ชุด
ค. สลับสายไฟทีต่อเข้ามอเตอร์ ทุกเฟส ง. สลับสายเฟสทีต่อเข้ามอเตอร์ คู่ใดคู่หนึ ง
51. ในการต่อใช้งานมอเตอร์ 3 เฟส ต้องต่อสายนิวตรอลเข้าในขดลวดของมอเตอร์ หรื อไม่ เพราะเหตุใด
ก. ต้องต่อเข้าไฟฟ้ าจึงจะครบวงจร ข. ต้องต่อเข้า ถ้าไม่ต่อเข้ามอเตอร์ จะไม่หมุน
ค. ไม่ตอ้ งต่อ เพราะจะทําให้มอเตอร์ ไหม้ ง. ถูกทัง ก และ ข
52. ในการกลับทางหมุ นมอเตอร์ 3 เฟส นอกจากใช้ดรั ม หรื อแคมสวิทช์แล้ว อุ ปกรณ์ ชนิ ดใดที สามารถ
ควบคุมให้มอเตอร์ กลับทางหมุนได้
ก. คัทเอาท์ 2 ทาง ข. แมกเนติคคอนแทคเตอร์
ค. ฟิ วส์วงจรกําลัง ง. ถูกทัง ก และ ข
53. ถ้าจ่ายแรงดันไฟฟ้ าให้มอเตอร์ ไม่ครบทุกเฟสมอเตอร์ จะเป็ นอย่างไร
ก. ไม่หมุนและมีเสี ยงดัง ข. เกิดความร้อนขึนทีตวั มอเตอร์
ค. ปล่อยไว้นานๆ มอเตอร์ จะไหม้ได้ ง. ถูกทุกข้อ
54. มอเตอร์ 3 เฟส จะต่อใช้งานแบบสตาร์ หรื อเดลต้า ต้องดูค่าของอะไรที กาํ หนดไว้บนเนมเพลท
ก. แรงดันไฟฟ้ า ข. กระแสไฟฟ้ า
ค. แรงม้า ง. ความถีไฟฟ้ า
55. แมกเนติคคอนแทคเตอร์ สามารถใช้งานเฉพาะตัวของมันในการควบคุมมอเตอร์ ได้หรื อไม่
ก. ไม่ได้ ข. ได้
ค. บางแบบได้ บางแบบไม่ได้ ง. ถูกทุกข้อ
ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 245
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง

56. การทําให้มอเตอร์ เปลียนการทํางานจากการต่อขดลวดแบบสตาร์ เป็ นเดลต้า อยูท่ ี ความเร็ วประมาณเท่าใด


ของความเร็ วรอบปกติ
ก. 55 - 60% ข. 65 - 70%
ค. 75 - 80% ง. 85 - 90%

57. ถ้านําอินดักชันมอเตอร์ มาต่อแบบสตาร์ ทตรง กระแสขณะสตาร์ ทจะมีค่าสู งประมาณกี เท่าของกระแสพิกดั


ก. 15 - 20 เท่า ข. 14 - 18 เท่า
ค. 8 - 14 เท่า ง. 4 - 8 เท่า

58. มอเตอร์ ทีจะนํามาสตาร์ ทแบบสตาร์ -เดลต้าได้จะต้องมีขนาดกี แรงม้า


ก. 1 ข. 3
ค. 5 ง. 7.5 ขึนไป

59. การต่อวงจรกําลังแบบ Full Load กระแสทรี ปของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ตอ้ งเป็ นเท่าใด
ก. ไม่ตาํ กว่า 1/4 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ข. ไม่ตาํ กว่า 1/2 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ค. ไม่ตาํ กว่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์
ง. เท่าใดก็ได้
60. การต่อวงจรกําลังแบบ Half Load กระแสทรี ปของโอเวอร์ โหลดรี เลย์ตอ้ งเป็ นเท่าใด
ก. ไม่ตาํ กว่า 1/4 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ข. ไม่ตาํ กว่า 1/2 เท่าของกระแสพิกดั ของมอเตอร์
ค. ไม่ตาํ กว่ากระแสพิกดั ของมอเตอร์
ง. เท่าใดก็ได้

ชือ ผรฝ. ว/ด/ป คะแนนทีได้


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 246
ใบทดสอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
การวัดผลภาคทฤษฎี หัวข้ อวิชา การวัดผลและประเมินผล
งานย่ อยที 10 เวลา 1 : 0 ชัวโมง
สรุ ปผลการฝึ ก หลักสู ตรการฝึ กยกระดับฝี มือ
สาขา............................................................................
ดําเนินการฝึ กระหว่างวันที......................................................................................................
สถานทีดาํ เนินการฝึ ก...............................................................................................................
ผูท้ าํ หน้าทีฝึก นาย/นาง/นางสาว...............................................................................................
ภาคปฏิบัติ

รวมปฏิบัติ
รวมทฤษฎี

รวม ท./ป.

(ชั )
เวลาฝึ ก
ภาคทฤษฎี (100)
(100)

ผลการฝึ ก ผ่าน / ไม่ ผ่าน


ที ชื อ-นามสกุล
งานย่อยที 1
งานย่อยที 2
งานย่อยที 3
งานย่อยที 4
งานย่อยที 5
งานย่อยที 6
งานย่อยที 7
งานย่อยที 8
งานย่อยที 9

งานย่อยที 3
งานย่อยที 6
งานย่อยที 7
งานย่อยที 8
งานย่อยที 9

ร้ อยละ (%)

ร้ อยละ (%)

ร้ อยละ (%)

ร้ อยละ (%)
การวัดผลฯ

คะแนน

คะแนน

คะแนน

ชั
150
100
110
400
100
500
100

100
10
10

10
10
10
30
40
60
90
60

60
5
5

5
5

ลงชือ.................................................ผูท้ าํ หน้าทีฝึก ลงชือ...................................................หัวหน้างานฯ


(....................................................) (....................................................)

ลงชือ.................................................หัวหน้าฝ่ ายฯ ลงชือ..................................................ผูอ้ าํ นวยการฯ


(....................................................) (..................................................)
246

สรุ ปผลการฝึ ก หลักสู ตรการฝึ กยกระดับฝี มือ


สาขา............................................................................
ดําเนินการฝึ กระหว่างวันที......................................................................................................
สถานทีดาํ เนินการฝึ ก...............................................................................................................
ผูท้ าํ หน้าทีฝึก นาย/นาง/นางสาว...............................................................................................

)
ภาคปฏิบัติ

รวมปฏิบัติ
รวมทฤษฎี

รวม ท./ป.
ภาคทฤษฎี (100)

เวลาฝึ ก (ชั
(100)

ผลการฝึ ก ผ่าน / ไม่ ผ่าน


ที ชื อ-นามสกุล
งานย่อยที 1
งานย่อยที 2
งานย่อยที 3
งานย่อยที 4
งานย่อยที 5
งานย่อยที 6
งานย่อยที 7
งานย่อยที 8
งานย่อยที 9

งานย่อยที 3
งานย่อยที 6
งานย่อยที 7
งานย่อยที 8
งานย่อยที 9

ร้ อยละ (%)

ร้ อยละ (%)

ร้ อยละ (%)

ร้ อยละ (%)
การวัดผลฯ

คะแนน

คะแนน

คะแนน

ชั
150
100
110
400
100
500
100
10
10

10
10
10
30
40
60
90
60

60
60
5
5

5
5

ลงชือ.................................................ผูท้ าํ หน้าทีฝึก ลงชือ...................................................หัวหน้างานฯ


(....................................................) (....................................................)

ลงชือ.................................................หัวหน้าฝ่ ายฯ ลงชือ..................................................ผูอ้ าํ นวยการฯ


(....................................................) (..................................................)
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 247
ใบเฉลยคําตอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ภาคผนวก
งานย่ อยที - เวลา - ชั วโมง

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 1 ความปลอดภัยในการทํางาน


ข้อ (1) ค (2) ก (3) ง (4) ค (5) ค (6) ก (7) ง (8) ข (9) ค (10) ค

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 2 ทฤษฎีไฟฟ้า


ข้อ (1) ข (2) ค (3) ก (4) ง (5) ก (6) ค (7) ข (8) ข (9) ค (10) ง
(11) ก (12) ค (13) ก (14) ง (15) ง (16) ง (17) ข (18) ข (19) ค (20) ค

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 3 การอ่ านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า


ข้อ (1) ข (2) ข (3) ค (4) ก (5) ข (6) ค (7) ก (8) ค (9) ก

(10)
ทํางานด้วยการดึง หลอดไฟสัญญาณ
ทํางานด้วยเท้า แอมป์ มิเตอร์
แมกเนติคคอนแทคเตอร์
โวลต์มิเตอร์
ชนิด 3 ขัว
รี เลย์ตงั เวลา สวิทช์ปุ่มกด 1NO, 1 NC
โอเวอร์ โหลดรี เลย์แบบ
รี เลย์กาํ ลังทํางาน
มี RESET

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ คอนแทคปรับได้ 2 ทาง

หม้อแปลงไฟฟ้ า รอเวลาเคลือนทีไปทางซ้าย
ทํางานร่ วมแกนเดียวกัน ทํางานแบบล็อค
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 248
ใบเฉลยคําตอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ภาคผนวก
งานย่ อยที - เวลา - ชั วโมง

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 3 การอ่ านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า (ใบงานที 1)

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 3 การอ่ านแบบ – เขียนแบบวงจรไฟฟ้า (ใบงานที 2)


หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 249
ใบเฉลยคําตอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ภาคผนวก
งานย่ อยที - เวลา - ชัวโมง

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 4 อุปกรณ์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้า


ข้อ (1) ง (2) ค (3) ข (4) ข (5) ก (6) ก (7) ก (8) ข (9) ค (10) ก
(11) ข (12) ค (13) ค (14) ข (15) ก (16) ง (17) ก (18) ข (19) ค (20) ง

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 5 หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้า 3 เฟส


ข้อ (1) ข (2) ข (3) ง (4) ค (5) ค (6) ง (7) ก (8) ง (9) ก (10) ข

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 6 การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบธรรมดา


ข้อ (1) ค (2) ง (3) ข (4) ข (5) ก

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 6 การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ด้ วยเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (ใบงานที 1)


ข้อ (1) ค (2) ก
เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 6 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
ข้อ (1) ก (2) ง (3) ค (4) ก (5) ข

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 6 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส (ใบงานที 2)


ข้อ (1) ข (2) ก (3) ค (4) ก (5) ข (6) ค

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 7 การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ


ข้อ (1) ก (2) ข (3) ก (4) ค (5) ค

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 7 การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ (ใบงานที 1)


ข้อ (1) ง (2) ก (3) ง (4) ข (5) ก (6) ข (7) ข (8) ง (9) ง (10) ค
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 250
ใบเฉลยคําตอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ภาคผนวก
งานย่ อยที - เวลา - ชัวโมง

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 7 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ


ข้อ (1) ข (2) ง (3) ค (4) ข (5) ง

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 7 การการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบควบคุมกึงอัตโนมัติ


(ใบงานที 2)
ข้อ (1) ง (2) ข (3) ก (4) ข (5) ง (6) ก (7) ง (8) ค (9) ง (10) ง
(11) ง (12) ข (13) ก (14) ข (15) ง (16) ก (17) ข (18) ค (19) ง (20) ง

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 7 การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส ให้ ทาํ งานตามลําดับ (ใบงานที 3)


ข้อ (1) ง (2) ค (3) ค (4) ง (5) ก (6) ค (7) ง (8) ค (9) ค (10) ง
(11) ก (12) ค (13) ข (14) ข (15) ข
เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 8 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสด้ วยระบบควบคุม
ข้อ (1) ข (2) ง (3) ข (4) ค (5) ก (6) ก (7) ข (8) ก (9) ค (10) ค

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 8 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบทันทีทนั ใดด้ วยระบบควบคุม


(ใบงานที 1)
ข้อ (1) ง (2) ข (3) ค (4) ข (5) ก (6) ค (7) ค (8) ก (9) ค (10) ง

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 8 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสหลังจากหยุดด้ วยระบบควบคุม


(ใบงานที 2)
ข้อ (1) ข (2) ข (3) ก (4) ก (5) ค (6) ง (7) ง (8) ก (9) ง (10) ง
(11) ข (12) ค

เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 9 การเริมเดินมอเตอร์ 3 เฟสโดยวิธีลดแรงดัน


ข้อ (1) ค (2) ง (3) ง (4) ข (5) ง (6) ค (7) ข (8) ก (9) ค (10) ข
หลักสู ตร ฝึ กยกระดับฝี มือ หน้า 251
ใบเฉลยคําตอบ
หน่ วยการฝึ ก การควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า
3 เฟส ด้วยระบบวงจรไฟฟ้ า
ภาคผนวก
งานย่ อยที - เวลา - ชัวโมง

เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 9 การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดยต่ อ


จุดสตาร์ ก่อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์ (ใบงานที 1)
ข้อ (1) ก (2) ค (3) ง (4) ข (5) ง (6) ง (7) ก (8) ค (9) ง
เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 9 การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้ าแบบควบคุมด้ วยมือ โดย
จ่ ายไฟให้ มอเตอร์ ก่อนต่ อจุดสตาร์ (ใบงานที 2)
ข้อ (1) ข (2) ค (3) ง (4) ข (5) ง (6) ง (7) ก (8) ค (9) ง
เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 9 การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุด
สตาร์ ก่อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์ (ใบงานที 3)
ข้อ (1) ก (2) ค (3) ง (4) ข (5) ง (6) ง (7) ก (8) ค (9) ง
เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 9 การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้ าแบบอัตโนมัติ โดยต่ อจุด
สตาร์ ก่อนจ่ ายไฟให้ มอเตอร์ (ใบงานที 4)
ข้อ (1) ก (2) ค (3) ง (4) ข (5) ง (6) ง (7) ข (8) ค (9) ง
เฉลยคําตอบภาคปฏิบัติงานย่ อยที 9 การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้ า แบบอัตโนมัติ
(ใบงานที 5)
ข้อ (1) ค (2) ข (3) ง (4) ก (5) ค (6) ง (7) ข (8) ข (9) ง (10) ก
(11) ค (12) ง
เฉลยคําตอบภาคทฤษฎีงานย่ อยที 10 การวัดผลภาคทฤษฎี
ข้อ (1) ค (2) ง (3) ค (4) ค (5) ค (6) ค (7) ก (8) ค (9) ง (10) ข
(11) ค (12) ก (13) ค (14) ง (15) ง (16) ข (17) ค (18) ข (19) ค (20) ก
(21) ข (22) ค (23) ก (24) ค (25) ก (26) ข (27) ข (28) ค (29) ค (30) ง
(31) ก (32) ข (33) ง (34) ค (35) ข (36) ก (37) ก (28) ก (39) ข (40) ค
(41) ก (42) ค (43) ข (44) ง (45) ก (46) ง (47) ค (48) ง (49) ข (50) ง
(51) ค (52) ง (53) ง (54) ก (55) ก (56) ค (57) ง (58) ง (59) ค (60) ง
252

บรรณานุกรม

เอมอร คชเสนี. (2 ตุลาคม 2551 13:22 น.). การช่ วยเหลือผู้ทถี ูกไฟดูดอย่ างถูกวิธ.ี [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.iurban.in.th/highlight/ems1130/. (วันทีคน้ ข้อมูล : 5 กันยายน 2555).
Syutana@ratree.psu.ac.th. ระบบการจ่ ายแรงดันไฟฟ้าให้ แก่ ผ้ ใู ช้ ไฟในปัจจุบันของการไฟฟ้าฯ.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http:// homepage.eng.psu.ac.th/adm/akarn/electric-basic.htm . (วันทีคน้ ข้อมูล : 21 มิถุนายน 2555).
นายวัชรพงษ์ ยงไสว. กฏของโอห์ มและหน่ วยวัดทางไฟฟ้า.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric8.htm. (วันทีคน้ ข้อมูล :
21 มิถุนายน 2555).
อํานาจ ทองผาสุ ก. วิทยา ประยงค์พนั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ . กรุ งเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ไพฑูรย์ ถินสู ง. การควบคุมมอเตอร์ ดว้ ยระบบวงจรไฟฟ้ า. พิมพ์ครังที กพร.1/2548. :
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรู ปแบบการฝึ ก. สํานักพัฒนาผูฝ้ ึ กและเทคโนโลยีการฝึ ก.
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน, 2548.
สานันท์ คงแก้ว. การควบคุมเครืองกลไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
www.freewebs.com/epowerdata4/motorcontrol.htm. (วันทีคน้ ข้อมูล : 25 มิถุนายน 2555).
วิจิตร บุญยธโรกุล. ระบบควบคุมมอเตอร์ . พิมพ์ครังที 5. กรุ งเทพฯ : ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัดโรงพิมพ์แปซิ ฟิค.

You might also like