You are on page 1of 43

คู่มือการปฏิบัติงาน

การใช้มัลติมิเตอร์

นายฮูเซ็ง ชายดานา
ตาแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์

คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ปีการศึกษา 2561
คูม่ ือการปฏิบัติงานเรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์

นายฮูเซ็ง ชายดานา
ตาแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์

คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ปีการศึกษา 2561

คำนำ
การจัดทาคู่มือในการปฏิบัติงานนักวิทยาศาสตร์ด้านปฏิบัติการฟิสิกส์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวปฏิบัติใน
การปฏิบัติงานด้านทักษะการอ่านและทดสอบ เรื่องการใช้มัลติมิเตอร์ เพื่ออานวยในการปฏิบัติงานและการ
ทดลองในห้อ งปฏิ บั ติก ารเป็ นไปด้ วยความสะดวก รวดเร็ ว และถูก ต้อ งแม่ นย า ท าให้ มีป ระสิ ทธิ ภาพตาม
รายวิชาปฏิบัติฟิสิกส์พื้นฐาน การดาเนินการมีประสิทธิภาพได้ ทั้งนี้นักวิทยาศาสตร์ด้านปฏิบัติ การฟิสิกส์ ได้
อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานในทุกงานที่ส่วนรวบรวมข้อมูลหลักการอ่านและเทคนิคการปฏิบัติงาน เพื่อ ให้
คู่มือเล่มนี้มีประโยชน์และบรรลุวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานการปฏิบัติงานนักวิทยาศาสตร์และเพื่อเป็นแนว
ปฏิบัติอย่างเดียวกันงานนักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา

หวัง ว่าคู่ มือเล่ม นี้จะเป็นประโยชน์ต่อ หน่วยงานต่าง คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาในการดาเนินภารกิจต่างๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ต่อไป

นายฮูเซ็ง ชายดานา
นักวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์

สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
สำรบัญภำพ ค
สำรบัญตำรำง ง
บทที่ 1
ความเป็นมาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตของคู่มือ 2
คาจากัดความเบื้องต้น 4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5
บทที่ 2
โครงสร้างการบริหารจัดการ 6
ภาระหน้าที่สาคัญและความรับผิดชอบ 11
กรอบภาระงาน กลุ่มงานห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 11
ลักษณะการปฏิบัติงานตามวงจร (PDCA) 12
บทที่ 3
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติ 13
เนื้อหา 13
การใช้งานมัลติมิเตอร์ 19
การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 19
การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง 20
การวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter) 21
ข้อควรระวังการปฏิบัติงาน 24
การบารุงรักษามัลติมิเตอ 26
บทที่ 4
กิจกรรม/แผนการปฏิบัติงาน 27
ขั้นตอนการเตรียมการสอนรายวิชาของนักปฏิบัติการ 28
เทคนิคการปฏิบัติงาน 29
ตัวอย่างการใช้งานอุปกรณ์การวัด 29
ข้อที่ต้องสังเกต 32
ตัวอย่างแบบบันทึกการปฏิบัติงาน 34
บทที่ 5
ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางานข้อเสนอแนะ 38
ข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหา 39
บรรณำนุกรม 40
ประวัติส่วนตัว 41

สำรบัญภำพ ข

ภำพที่ หน้ำ

1. แสดงมัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog) ยี่ห้อ BLU รุ่น YH – 372D 1


2. แสดงหน้าปัดสเกลของมัลติมิเตอร์ 3
3. แสดงหน้าปัดสเกลของมัลติมิเตอร์ 3
4. โครงสร้างการบริหารจัดการคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร 7
5. โครงสร้างของงาน (Organization chart) 8
6. โครงสร้างการบริหารของหน่วยงาน (Administration chart) 9
7. โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart) 10
8. การต่อวัดมัลติมิเตอร์เมื่อปรับให้เป็นโวลท์มิเตอร์กระแสตรง 14
9. โครงสร้างเบื้องต้นย่านวัดโอห์มมิเตอร์ 15
10. การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟสลับ 16
11. ย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 17
12. การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟตรง 18
13. การต่อมัลติมิเตอร์วัดกระแสไฟตรง 18
14. ย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 19
14 ย่านการวัดกระแสไฟฟูากระแสตรง 20
15 ย่านการวัดโอห์ม 21
16 ตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี 22
17 ตาแหน่งแบตเตอรี่และ ฟิวส์ในมัลติมิเตอร์ 25
18 แสดงวงจรการวัดความต่างศักย์ที่หม้อแปลงไฟสลับ 26
19 แสดงวงจรการใช้มัลติมิเตอร์เพื่อวัดกระแสทั้งหมดในวงจร 27

สำรบัญตำรำง

ตำรำงที่ หน้ำ
1. หลักการเลือกขีดวัดโวลท์มิเตอร์กระแสตรงที่เหมาะสม 13
2. การตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมต่อการวัดค่าความต้านทาน 14
3. การตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมต่อการวัดค่าแรงดันไฟสลับ 15
4. การตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมต่อการวัดค่าแรงดันไฟตรง 17
5. การอ่านค่าและการใช้สเกลย่านวัดกระแสไฟตรง 19
6. รหัสสีสาหรับอ่านค่าความต้านทาน 22
บทที่ 1
บทนำ
1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ
เครื่องมือวัดทางอิเล็กทรอนิกส์เป็น เครื่องมือที่สาคัญ มากสาหรับ นักอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากเป็ น
เครื่องมือที่แสดงค่าปริมาณทางไฟฟ้าของวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ตรวจสอบหาจุดบกพร่องของการทางาน
ของวงจรเมื่อวงจรไม่สามารถทางานได้ หรือใช้ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่าง ๆ ได้
มัลติมิเตอร์ที่นิยมใช้งานกันโดยทั่วไปประกอบดัวย มัลติมิเตอร์แบบอนาล็อกและมัลติมิเตอร์แบบ ดิจิตอล การ
ใช้ ง านเครื่ อ งมื อ เหล่ านี้ ผู้ ใช้ งานต้ อ งมี ค วามรู้ค วามเข้ า ใจจึ ง จะสามารถน าไปใช้ ง านได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ตาม
วัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน
มัลติมิเตอร์ เป็นเครื่องมือพื้นฐานประเภทตรวจวัดที่ได้รับความนิยมในการใช้งานมาก เนื่องจากมี
ความถูกต้อง แม่นยาในการใช้งานสูงเมื่อเทียบกับราคาที่ไม่สูง มากนัก มีความสามารถใช้วัดค่าปริมาณทาง
ไฟฟ้าได้หลายย่านวัด ประกอบด้วย แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ กระแสไฟฟ้ากระแสตรง
ความต้านทาน ดังนั้นจึงนินมเรียกเครื่องมือวัดประเภทนี้ว่า “มัลติมิเตอร์” มัลติมิเตอร์ในปัจจุบันแบ่งออก
เป็น 2 ชนิด คือ 1) มัลติมิเตอร์แบบอนาล็อก หรือบางครั้งนิยมเรียกว่า มัลติมิเตอร์แบบเข็ม 2) มัลติมิเตอร์
แบบดิจิตอล หรือบางครั้งนิยมเรียกว่า ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ซึ่งในด้านการใช้ งานนั้นทั้ง 2 ชนิดมีหน้าที่การ
ทางานเหมือนกันทุกประการ ยกเว้นรูปแบบของการแสดงผลและโดยทั่วไปจะมี ฟัง ค์ชั่นการทางานพิเศษ
เพิ่มเติมจาก มัลติมิเตอร์แบบเข็ม ซึ่งแล้วแต่ยี่ห้อและรุ่นของ มัลติมิเตอร์
มัลติมิเตอร์แบบอนาล็อก นิยมเรียกอีกชื่อว่า มัลติมิเตอร์แบบเข็ม ชนิดที่นิยมใช้งานโดยทั่วไปจะเป็น
แบบลูกบิดหมุ นเลือกย่าน การวัดปริมาณทางไฟฟ้า แสดงผลโดยการเคลื่อนที่ของเข็มซึ่ง ติดตั้งบนขดลวด
เคลื่อนที่ (Moving coil) ประกอบด้วยย่านการวัดดังนี้ ย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC Volt meter) ย่าน
วัดกระแสไฟฟ้า กระแสตรง (DC Ampere meter) ย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Volt meter) และ
ย่านวัดค่าความ ต้านทานไฟฟูา (Ohm Meter) การศึกษาและทาความเข้าใจการใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็มใน
ครั้งนี้จะ ยกตัวอย่างการใช้งานของมัลติมิเตอร์ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog) ยี่ห้อ BLU รุ่น YH – 372D เป็น
ตัวอย่างในการศึกษาเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ ง่ายขึ้น
2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้บอกรายละเอียดและส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์ได้
2. เพื่ อ ศึ ก ษาการใช้ มั ล ติ มิ เ ตอร์ ส าหรั บ วั ด ค่ า กระแส และความต่ า งศั ก ย์ ส าหรั บ ไฟ ตรง
(Direct current, d.c.) และไฟสลับ (Alternating current, a.c.) และใช้มัลติมิเตอร์สาหรับวัด
ค่าความต้านทาน
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดของมัลติมิเตอร์ การใช้ง าน การอ่านค่า
สเกลของมัลติมิเตอร์ ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ตลอดจนสามาถนาความรู้ไ ป
ประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันได้
2

3 ขอบเขตของคู่มือ
ศึ ก ษาการใช้ มั ล ติ มิ เตอร์ ง ำนมั ล ติ มิ เ ตอร์ แ บบเข็ ม (Analog) ยี่ ห้ อ BLU รุ่ น YH – 372D
สาหรับวัดค่ากระแส และความต่างศักย์สาหรับไฟตรง (Direct current, d.c.) และไฟสลับ (alternating
current, a.c.) และ ใช้มัลติมิเตอร์สาหรับวัดค่าความต้านทาน

1
11

10

9 2
3
4
8 5
7 6

ภาพที่ 1 แสดงมัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog) ยี่ห้อ BLU รุ่น YH – 372D


ส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์ จากภาพที่ 2 อธิบายส่วนประกอบภายนอกของมัลติมิเตอร์
ดังต่อไปนี้
หมายเลข 1 คือ หน้าปัดแสดงสเกลต่างๆ ของมัลติมิเตอร์
หมายเลข 2 คือ ปุ่มปรับศูนย์ย่านปรับโอห์มมิเตอร์
หมายเลข 3 คือ ย่านปรับแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV)
หมายเลข 4 คือ ปุ่มปรับสเกลบอกย่านกับหน่วยที่ต้องการวัด
หมายเลข 5 คือ ย่านปรับโอห์มมิเตอร์
หมายเลข 6 คือ แจ๊ก + สาหรับต่อสายสีแดง
หมายเลข 7 คือ แจ๊ก - สาหรับต่อสายวัดสีดา สวิตช์เลือกย่านวัด
หมายเลข 8 คือ ย่านวัดกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)
หมายเลข 9 คือ ย่านปรับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)
หมายเลข 10 คือ ปุ่มปรับศูนย์หยาบ
หมายเลข 11 คือ เข็มมิเตอร์

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


3

9
1 8
7
2
3 6
5
4

ภาพที่ 2 แสดงหน้าปัดสเกลของมัลติมิเตอร์
ส่วนประกอบของหน้ำปัดแสดงสเกลต่ำงๆ ของมัลติมิเตอร์
จากภาพที่ 2 แสดงส่วนประกอบของหน้าปัดแสดงสเกลต่างๆ ของมัลติมิเตอร์
หมายเลข 1 คือ สเกลกระแสและแรงดันทั้ง AC และ DC
หมายเลข 2 คือ 0-centerig (NULL) +/- DCV scale
หมายเลข 3 คือ สเกลวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (hFE) มีสีน้าเงิน
หมายเลข 4 คือ สเกลวัดกาลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (dB) มีสีแดง
หมายเลข 5 คือ สเกลวัดกระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (LEAK, ICEO, Ll) มีสีน้าเงิน
หมายเลข 6 คือ สเกลสาหรับทดสอบแบตเตอร์รี่ 1.5 V 0.25A.
หมายเลข 7 คือ สเกลวัดแรงดัน AC 2.5 volt.
หมายเลข 8 คือ กระจกเงาเพื่อทาให้การอ่านค่ าบนสเกลที่ แสดงด้วยเข็มชี้ของมิเตอร์ถูกต้อง
ที่สุด การอ่านค่าที่ถูกต้องคือตาแหน่งที่เข็มชี้ของมิเตอร์จริงกับตาแหน่ง เข็มชี้
ของมิเตอร์ในกระจกเงาซ้อนกันพอดี
หมายเลข 9 คือ Resistance (OHMS) scale หรือ สเกลวัดความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม
4 คำจำกัดควำมเบื้องต้น
โวลต์มิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดปริมาณแรงดันไฟฟ้า (Voltage) ในวงจรไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า จัดเป็น
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าแบบแอนาล็อก หรือเรียกว่าเครื่องมือวัดแบบเข็มชี้
แอมมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สาคัญชนิดหนึ่งในทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้วัดปริมาณ
ก ร ะ แ ส ไฟ ฟ้ าใน ว ง จ ร ไฟ ฟ้ าใด ๆ แ บ่ งอ อ ก ได้ 2 ช นิ ด ต าม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ร ะ แ ส ไฟ ฟ้ า คื อ
1) แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (2) แอมมิเตอร์ไฟฟูากระแสสลับ
โอห์มมิเตอร์ (Ohm-meter) เป็นเครื่องมือสาหรับวัดค่าความต้านทานของอุปกรณ์ไฟฟ้า

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


4

5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. สามารถทาความเข้าใจในทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติการทดลองให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
2. สามารถใช้อุปกรณ์การวัดได้อย่างถูกต้อง และแม่นยา
3. เพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงาน ทั้งในด้านความเที่ยงตรง
4. สามารถตรวจสอบและทดสอบความรวดเร็วในการบันทึกผลการทดลอง

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


5

บทที่ 2
โครงสร้างและหน้าที่ความรับผิดชอบ

คณะวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี แ ละการเกษตร (Faculty of Science Technology and


Agriculture) เป็นส่วนราชการทาหน้าที่จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาการมาจากโรงเรียนอาชีพกสิกรรม จังหวัดยะลา โรงเรียนฝึกหัดครู
ยะลา วิทยาลัยครูยะลา และสถาบันราชภัฏยะลา มีวิวัฒนาการด้านวิชาการมาอย่างต่อเนื่องกว่า 40
ปี โดยมีเหตุการณ์สาคัญด้านการพัฒนาทางวิชาการตามลาดับ ดังนี้
พ.ศ. 2506 หมวดวิชาวิทยาศาสตร์เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง วิชาเอก
วิ ท ยาศาสตร์ ทั่ ว ไป ฟิ สิ ก ส์ เคมี ชี ว วิ ท ยา และวิ ธี ส อนวิ ท ยาศาสตร์ ระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช า
การศึกษา
พ.ศ. 2520 เปิดสอนระดับปริญ ญาตรีหลักสูตร 2 ปี สาขาครุศาสตร์ วิชาเอกวิทยาศาสตร์
ทั่วไป
พ.ศ. 2522 เปิดสอนระดับปริญ ญาตรี หลักสูตร 2 ปี สาขาครุศาสตร์ วิชาเอกวิทยาศาสตร์
ทั่วไป ตามโครงการ อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาการ (อคป.)
พ.ศ. 2527 เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง วิชาเอกเทคนิคการอาชีพ
การอาหาร สัตวบาลและกสิกรรม ระดับปริญ ญาตรีหลักสูตร 2 ปี วิชาเอกสุขศึกษา พลศึกษา ระดับ
ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณิตศาสตร์
พ.ศ. 2528 เปิดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี สาขาวิชาการศึกษา พลศึกษา ปริญญา
ตรีหลักสูตร 2 ปี สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ เกษตรศาสตร์ อนุปริญญาสาขาการอาหาร
พ.ศ. 2531 เปิดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์อนุปริญญา
วิทยาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร
พ.ศ. 2532 เปิ ด สอนระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั ก สู ต ร 2 ปี สาขาวิ ช าเกษตรกรรม ระดั บ
อนุปริญญาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาสุขศึกษา
พ.ศ. 2534 เปิดสอนระดับ ปริญ ญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (วท.บ.) วิชาเอกสุขศึกษา
(2ปี) อนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2535 เปิดสอนระดับปริญ ญาตรี หลักสูตร 4 ปี สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ อนุปริญ ญา
สาขาวิชาเคมีปฏิบัติ ใช้ชื่อคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏยะลา
พ.ศ. 2536 เปิ ด สอนระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ (วท.บ.) หลั ก สู ต ร 4 ปี
โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


6

พ.ศ. 2540 เปิด สอนระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั กสู ตร 4 ปี สาขาวิท ยาศาสตร์ โปรแกรมวิช า
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปี โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีการเกษตร โปรแกรมวิชา
คอมพิวเตอร์ศึกษา
พ.ศ. 2541 เปิดสอนระดับปริญ ญาตรี หลักสูตร 4 ปี สาขาวิทยาศาสตร์ 3 โปรแกรมวิชา
ได้ แ ก่ เคมี วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ก ารอาหาร และวิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์
เทคโนโลยี แ ละการเกษตร ได้ ร่ ว มโครงการส่ ง เสริ ม การผลิ ต ครู ที่ มี ความสามารถพิ เศษทาง
วิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ (สควค.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 ในโปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ เคมี
และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อสนองความต้องการของท้องถิ่นและให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม
ส่วนรวม
พ.ศ. 2547 คณะเปลี่ยนชื่อเป็น “คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร” เป็นผลจาก
การยกฐานะจาก “สถาบันราชภัฏยะลา” เป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา” ตามพระราชบัญ ญั ติ
มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกาศในพระราชกิ จจานุเบกษา เมื่อวัน ที่ 14 มิ ถุนายน พ.ศ.
2547 จัดการเรียนการสอนได้ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก
พ.ศ. 2549 คณะวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละการเกษตร มี โครงสร้ า งการบริ ห ารเป็ น
สานักงานคณบดีและภาควิชา 3 ภาควิชา ดังนี้
1) ภาควิชาวิทยาศาสตร์
2) ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
3) ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร
พ.ศ. 2551 เปิด สอนหลักสูต รปริญ ญาตรี วิท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต (วท.บ.) สาขาเทคโนโลยี
มัลติมีเดีย
พ.ศ. 2553 จัดการเรีย นการสอนระดับ บั ณ ฑิ ตศึ กษา หลัก สูต รวิท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต
(วท.ม.) สาขาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
พ.ศ. 2556 เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พ.ศ. 2557 คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร ลงนามความร่วมมือ (MoA) กับ
Faculty of Mathematics and Natural Science, State University of Yogyakarta (UNY)
ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อร่วมพัฒนาทางวิชาการและพัฒนานักศึกษาร่วมกัน
เปิดบริการคลินิกนวดแผนไทยร่วมกับโรงพยาบาลกรงปินัง
พ.ศ.2558 คณะวิท ยาศาสตร์เทคโนโลยี และการเกษตร จัดส่ง นักศึกษาไปเรีย นที่ (UNY)
จานวน 7 คน จากสาขาเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา เรียนเป็นเวลา 1 ภาคเรียน และได้เทียบโอนหน่วยกิต
กลับมาที่มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


7

คณะวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละการเกษตร ลงนามในความร่ ว มมื อ (MoU) กั บ คณะ


วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และคณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส เพื่อร่วมกันพัฒนาวิชาการและพัฒนานักศึกษา
ทั้ง 3 มหาวิทยาลัยด้านการเกษตร
คณะวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละการเกษตร ลงนามความร่ ว มมื อ กั บ 4 คณะ คณะ
วิท ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของมหาวิท ยาลั ยราชภั ฏ 4 แห่ ง ได้ แ ก่ มหาวิท ยาลัย ราชภั ฏ สงขลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เพื่อ
ร่วมมือกันพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการด้านดาราศาสตร์ โดยมีสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
(องค์กรมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยสนับสนุน
1 โครงสร้างการบริหารจัดการ
1.1.1 โครงสร้างการบริหารจัดการองค์กร
- โครงสร้างของงาน (Organization chart)

คณบดี
คณะกรรมการประจา
คณะ

ผู้อานวยการ รองคณบดีฝ่าย รองคณบดีฝ่าย รองคณบดีฝ่ายกิจการ


สานักงาน บริหาร วิชาการ นักศึกษา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
หัวหน้างาน
1. สาขาวิชาฟิสิกส์ 2. สาขาวิชาเคมี
จัดการศึกษา
3. สาขาวิชาชีววิทยา 4. สาขาวิชาจุลชีววิทยา
5. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 6. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
7. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวหน้างาน 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 10. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
วิจัยและบริการ 11. สาขาวิชาสุขศึกษา 12. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
วิชาการ สิ่งแวดล้อม
13. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 14. สาขาวิชาเทคโนโลยีการ
หัวหน้างาน อาหาร
บริหารงาทั่วไป
หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
1. สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
1. สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาพที่ 3 โครงสร้างการบริหารจัดการคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


8

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

สานักงานคณบดี

งานบริหารและธุรการ งานการเงินและพัสดุ งานนโยบายและแผน

งานบริการการศึกษา งานกิจการนักศึกษา
และพัฒนาท้องถิ่น

งานบริการวิชาการ

งานพัฒนานักศึกษา

งานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม

ภาพที่ 4 โครงสร้างของงาน (Organization chart)

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


9

- โครงสร้างการบริหารของหน่วยงาน (Administration chart)


โครงสร้างการบริหารหน่วยงานของคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
ประกอบด้วย

คณบดี

รองคณบดี

ผู้อานวยการสานักงานคณบดี

หัวหน้างานบริหารงานทั่วไป หัวหน้างานจัดการศึกษา หัวหน้างานวิจัยและบริการวิชาการ

ภาพที่ 5 โครงสร้างการบริหารของหน่วยงาน (Administration chart)

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


10

- โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart)


- โครงสร้างการปฏิบัติงานของนักวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตรประกอบด้วย

อาจารย์ ดร.ลิลลา ดุลศาสตร์


(คณบดี)

อาจารย์โรสลีนา อนันตนุกูลวงค์
(ผู้อานวยการสานักงานคณบดี)

อาจารย์ ดร.ดาริกา จาเอาะ


(ประธานหลักสูตร)

นายฮูเซ็ง ชายดานา
(นักวิทยาศาสตร์)

ภาพที่ 6 โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart)

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


11

2 ภาระหน้าที่สาคัญและความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยากพอสมควร โดยมีคู่มือ หรือแนวปฏิบัติ หรือคาสั่ง
อย่างกว้างๆ และอยู่ภายใต้การกากับตรวจสอบเฉพาะกรณีที่จาเป็นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับ
มอบหมายลักษณะงานที่ปฏิบัติ
2.1ตาแหน่งนักวิทยาศาสตร์
ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใด
อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่นวิเคราะห์เคมีภัณฑ์ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหาร วัตถุดิบ น้า สารอินทรีย์
สารอนินทรีย์และสิ่งของอื่น ๆ เพื่อหาองค์ประกอบหรือคุณสมบัติทางวิทยาศาสตร์ รวบรวมข้ อมูล
และจั ด ท ารายงานผลการวิ เคราะห์ การทดสอบช่ ว ยสอนและให้ ค าแนะน าการปฏิ บั ติ ก ารทาง
วิท ยาศาสตร์หรือปฏิบั ติงานด้านกากาหนดมาตรฐานผลิตภัณ ฑ์อุตสาหกรรมช่วยนักวิทยาศาสตร์
ระดั บ สู งในการศึ ก ษา วิเคราะห์ ในเรื่อ งต่ างๆตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ค าปรึก ษาแนะน าในการ
ป ฏิ บั ติ ง า น แ ก่ เจ้ า ห น้ า ที่ ร ะ ดั บ ร อ ง ล ง ม า แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ๆ เกี่ ย ว ข้ อ ง

2.2 คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้
2.3 ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
1.มีความรู้ความสามารถในงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเหมาะสมแก่การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่
2.มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนใน
สถาบันอุดมศึกษา กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ
ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
3.มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมืองเศรษฐกิจและสังคม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศไทย
4.มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาและคอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมแก่การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่
5.มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล
6.มีความสามารถในการติดต่อประสานงา

3 กรอบภาระงาน กลุ่มงานห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
3.1 ด้านการจัดการเรียนการสอนปฏิบัติการ
- เตรีย มความพร้อ มห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารส าหรับ การเรี ยนการสอนในรายวิ ช า
ปฏิบัติการตามบทปฏิบัติการทดลอง
- ช่วยสอนและให้คาแนะนาในการปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
- จัดทาระเบียบและเอกสารการขอใช้บริการห้องปฏิบัติการ

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


12

3.2 ด้านการจัดการวัสดุและครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์
- จั ด ท าแผน/ โครงการด้ า นการจั ด การและการซื้ อ วั ส ดุ แ ละครุ ภั ณ ฑ์
วิทยาศาสตร์สาหรับการเรียนการสอนและวิจัย
- จัดทาทะเบียนการเบิกจ่ายวัสดุ และบันทึกการใช้งาน
- เตรีย ม จัด หา และเก็บ รั ก ษา เครื่องมื อ เครื่ องใช้ในห้ อ งปฏิ บั ติก าร และ
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์
3.3 ด้านการพัฒนาและการฝึกอบรม
- พัฒนาเทคนิค หรืออุปกรณ์สาหรับงานทดลองหรืองานวิจัย
- แนะนา เสนอแนะให้ความรู้แก่นักศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์และ
การใช้อุปกรณ์

4 ลักษณะการปฏิบัติงานตามวงจร (PDCA)
P = Plan วางแผนจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กาหนดขึ้นโดยการตั้งปัญหาการ
ปฏิบัติการทดลองของนักศึกษาถึงทักษะการอ่าน การใช้และการบันทึกผล เพื่อให้เป็นไปตาม
มาตรฐานเดียวกัน
D = Do ปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่เขียนไว้ได้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง
โดยการสังเกตพฤตติกรรมการทดลองและเสนอแนะช่วงการปฏิบัติการของนักศึกษา
C = Check การตรวจสอบผลการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหา
อะไรเกิดขึ้น จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผนงานในขั้นตอนใดบ้างพร้อมตรวจถึงปัญหาที่พบ
เห็นเพื่อเสนอแนะและปรับปรุง
A = Action การปรับปรุง แก้ไขส่วนที่มีปัญ หาใดๆ ก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัติตาม
แผนงานที่ได้ผลสาเร็จ เพื่อนาไปใช้ในการทางานครั้งต่อไป (P) นาไปปฏิบัติ (D) ระหว่างปฏิบัติ
ดาเนินการตรวจสอบ (C) ปัญหาที่พบหรือการแก้ไข (A) การปรับปรุงเริ่มจากการวางแผนก่อน
นาไปสู่ปฏิบัติการจริง

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์


บทที่ 3
หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติการ

1 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติ
ในการปฏิบัติงานตามคู่มือ เรื่อง การใช้ มั ลติมิเตอร์ ในบทปฏิบั ติการทางฟิสิกส์ทั่วไป ผู้ปฏิบั ติด้าน
วิทยาศาสตร์ ต้องเป็นผู้รอบรู้ในงานที่พึงปฏิบัติ ทั้งในวิธีปฏิบัติงาน กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยมีหน้าที่ต้อง
ศึกษา ปฏิบัติ แนะนา ตรวจสอบ และรายงานผลการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติงาน ดังนี้

2 เนื้อหา
มัลติมิเตอร์ เป็นเครื่องมือพื้นฐานประเภทตรวจวัดที่ไ ด้รับความนิยมในการใช้งานมาก เนื่องจากมี
ความถูกต้อง แม่นยาในการใช้งานสูงเมื่อเทียบกับราคาที่ไม่สูงมากนัก มีความสามารถใช้วัดค่าปริมาณทาง
ไฟฟ้าได้หลายย่านวัด ประกอบด้วย แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ กระแสไฟฟ้ากระแสตรง
ความต้านทาน ดังนั้นจึงนินมเรียกเครื่องมือวัดประเภทนี้ว่า “มัลติมิเตอร์” มัลติมิเตอร์ในปัจจุบันแบ่งออก
เป็น 2 ชนิด คือ 1) มัลติมิเตอร์แบบอนาล็อก หรือบางครั้งนิยมเรียกว่า มัลติมิเตอร์แบบเข็ม 2) มัลติมิเตอร์
แบบดิจิตอล หรือบางครั้งนิยมเรียกว่า ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ ซึ่ง ในด้านการใช้ งานนั้นทั้ง 2 ชนิดมีหน้าที่การ
ทางานเหมือนกันทุ กประการ ยกเว้นรูปแบบของการแสดงผลและโดยทั่วไปจะมี ฟัง ค์ชั่นการทางานพิ เศษ
เพิ่มเติมจาก มัลติมิเตอร์แบบเข็ม ซึ่งแล้วแต่ยี่ห้อและรุ่นของ มัลติมิเตอร์
มั ล ติ มิ เตอร์ คื อ เครื่อ งวั ด ทางไฟฟ้ าที่ ส ามารถวั ด ค่ า ทางไฟฟ้ า ได้ ห ลายๆ ค่ า แต่ วั ด ได้ ที ล ะอย่ า ง
(ไม่ใช่วัดครั้งเดียวแล้วจะได้ค่าทุกอย่าง)
1. การใช้มัลติเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) มีขั้นตอนการใช้งาน ดังต่อไปนี้
1.1 คาดคะเนความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุดที่คร่อมอุปกรณ์ ว่าน่าจะไม่เกินกี่โวลท์
1.2 บิดปุ่มมาชี้บริเวณ DCV ขีดที่มากกว่าความศักย์ที่คาดคะเน โดยควรเลือกขีดที่ มากกว่า
อย่างเหมาะสมแต่ไม่มากจนเกินไป
ความต่างศักย์ที่คาดคะเน ขีดที่เหมาะสม เหตุผลที่เลือกขีดนี้
ไม่เกิน 0.1 โวลท์ 0.1 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 10 โวลท์
ไม่เกิน 0.5 โวลท์ 0.5 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 50 โวลท์
ไม่เกิน 2.5 โวลท์ 2.5 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 2.5 โวลท
ไม่เกิน 10 โวลท์ 10 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 10 โวลท์
ไม่เกิน 50 โวลท์ 50 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 50 โวลท์
ไม่เกิน 250 โวลท์ 250 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 250 โวลท์
ไม่เกิน 1000 โวลท์ 1000 ขณะนี้วัดมากสุดไม่เกิน 1000โวลท์
เกินกว่า 1000 โวลท ใช้ไม่ได้ เพราะเกิน ระดับสูงสุด
ที่วัดได้
ตารางที่ 1 หลักการเลือกขีดวัดโวลท์มิเตอร์กระแสตรงที่เหมาะสม
14

ตัวอย่าง ถ้าคาดคะเนว่า ความต่างศักย์ไม่น่าจะเกิน 5-6 โวลท์ ขีดที่เหมาะสมคือ 10 โวลท์ เป็นต้น


1.3 นามัลติมิเตอร์ซึ่งขณะนี้แปลสภาพเป็นโวลท์มิเตอร์กระแสตรงไปต่อวัด ดัง
ตัวอย่างภาพที่ 9 และ 10โดยคานึงขั้วบวกและลบ อย่างระมัดระวัง (เพราะเป็นกระแสตรง)

ภาพที่ 7 การต่อวัดมัลติมิเตอร์เมื่อปรับให้เป็นโวลท์มิเตอร์กระแสตรง
3. การใช้งานมัลติมิเตอร์
3.1 การวัดความต้านทาน โดยอ่านค่าบนสเกลความต้านทานปฏิบัติดังนี้
- การตั้งย่านวัดของการวัดความต้านทานส่วนใหญ่มีดังนี้ คือ x1, x10, x1K, 10K
- ก่อนวัดจะต้องตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมกับค่าความต้านทานของจุดวัดจะทาให้ค่าที่อ่าน
ได้จากการวัดมีความเที่ยงตรง หรือมีความแม่นยาสูง ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 การตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมต่อการวัดค่าความต้านทาน
ย่านการวัด ค่าต่่าสุดและค่าสูงสุดที่ใช้วัดได้ ค่าที่ควรใช้วัด
X1 0.2 Ω - 2 KΩ 0 Ω - 50 Ω
X10 2 Ω - 20 KΩ 50 Ω - 2 KΩ
X1K 200 Ω - 2 MΩ 2 KΩ - 50 KΩ
X10K 200 KΩ - 20 MΩ 20 MΩ

- ถ้าเป็นจุดวัดที่ไม่ทราบค่าความต้านทานประมาณเท่าไร ให้ตั้งย่านการวัด x1 วัดก่อนถ้าวัดแล้วเข็ม


มิเตอร์ไม่ขึ้นหรือขึ้นน้อย ก็เปลี่ยนไปใช้ย่านที่สูงขึ้นไป พยายามให้เข็มมิเตอร์อยู่กลางหน้าปัด สาหรับรูป7 เป็น
โครงสร้างภายในของมัลติมิเตอร์ในย่านวัดความต้านทาน

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


15

ภาพที่ 8 โครงสร้างเบื้องต้นย่านวัดโอห์มมิเตอร์

3.2 การวัดแรงดันไฟสลับ (ACV) ปฏิบัติดังนี้


1.) การตั้งย่านแรงดันไฟสลับ
- ย่านแรงดัน ไฟสลับของมั ลติมิเตอร์ โดยทั่ วไปมี 4 ย่ าน คือ AC 10 V, AC 50 V, AC 250 V, AC
1000 V
- ก่อนวัดจะต้องตั้งย่านให้เหมาะสมกับแรงดันไฟของวงจรวัดนั้น เพื่อจะให้อ่านได้มีความเที่ยงตรง
และแม่นยามากที่สุด ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 การตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมต่อการวัดค่าแรงดันไฟสลับ

ย่านการวัด ค่าสูงสุดที่ใช้วัดได้ ค่าที่ควรใช้วัด


AC 10 V 10 V 1 V - 10 V
AC 50 V 50 V 10 V - 50 V
AC 250 V 250 V 50 V - 250 V
AC 1000 V 1000 V

- ถ้าเป็นจุดที่ไม่ทราบค่าว่ามีแรงดันไฟอยู่ที่จุดจะกระทาการวัดนั้นเท่าใดก็ให้ตั้งย่านที่สูง ไว้ก่อน เมื่อ


ทาการวัดแล้วปรากฏว่า เข็มของมิเตอร์เบี่ยงเบนไปทางขวาเล็กน้อยหรือไม่กระดิกเลย ก็ค่อยเปลี่ยนลงมาวัดใน
ย่านที่ต่ากว่าลงมาตามลาดับ
2.) วิธีวัดค่าแรงดันไฟสลับ
นาปลายสายวัดทั้งสองวัดคร่อมจุดวัดแบบขนาน ดังแสดงในรูปที่ 1.5 โดยสายวัดใดจะวัดขั้วใดก็ได้
เฉพาะแรงดันไฟสลับเท่านั้น ถ้าเป็นไฟตรงต้องดูขั้วบวกและลบให้ถูกต้องด้วย

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


16

ภาพที่ 9 การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟสลับ

3.3 การวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ปฏิบัติดังนี้


การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง โวลต์มิเตอร์ไฟฟูากระแสตรง (DC Volte-meter) ใช้สาหรับการวัดค่า
ปริมาณแรงดันไฟฟูากระแส ตรงที่เกิดขึ้นบนอุปกรณ์ไฟฟูาใด ๆ การใช้งานจะต่อมิเตอร์ในลักษณะขนานกับ
อุปกรณ์ที่ต้องการวัดและต้อง กาหนดขั้วของมัลติมิเตอร์ให้ถูกต้องในการวัด โดยต่อสายบวกของมิเตอร์เข้ากับ
ขั้วบวกของขั้วไฟฟูา และต่อ สายลบเข้ากับขั้วลบทุก ครั้ง หากทาการวัดแล้วเข็มมิเตอร์เบนไปทางซ้ายให้รีบ
กลั บ ขั้ว สายวั ด ทั น ที ย่ านการวั ด ของโวลต์ มิ เตอร์ไ ฟฟู ากระแสตรง ประกอบด้ ว ย 7 ย่ าน คื อ 0 - 0.1 V,
0 - 0.5V, 0 - 2.5V, 0 - 10V, 0 - 50V, 0 - 250V และ 0 - 1,000V วิธีการอ่านค่าแรงดันไฟฟูาจะสัมพันธ์กับ
การตั้งย่านวัดและสเกลแสดงผล ซึ่งมี 3 สเกล คือ 0 - 10, 0 – 50 และ 0 – 250 การอ่านค่าจากสเกลต้องให้
เข็มและเงาของเข็มบนกระจกเงา ซ้อนทับกันเสมอ
ลาดับขั้นการใช้โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
1. ตั้งย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงไปยังย่านวัดที่ใกล้เคียงกับค่าแรงดันไฟฟ้าที่ต้องการวัด
หากไม่รู้ค่าให้ตั้งไปยังย่านวัดสูงที่สุด (1,000V) ก่อน
2. ต่อสายวัดของโวลต์มิเตอร์ไฟฟูากระแสตรงคร่อมขนานกับโหลดหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการวัด
3. สังเกตเข็มของมิเตอร์ หากเข็มขยับเพียงเล็กน้อยให้ปรับลดย่านการวัดลงทีละย่านวัด จนกระทั่ง
เข็มชี้ค่าประมาณกึ่งกลางสเกลจึงทาการอ่านค่า
4. หากตาแหน่งที่วัดนั้นเข็มของมิเตอร์ไม่มีการขยับเบน แต่ขณะแตะสายวัดขั้วบวกเข้าหรือขณะดึง
สายวั ด ขั้ วบวกออก เข็ ม มิ เตอร์ มี ก ารขยั บ เล็ ก น้ อ ยเสมอ แสดงว่ าจุ ด ที่ วั ด นั้ น มี ค่ า แรงดั น ไฟฟ้ า เป็ น ไฟฟ้ า
กระแสสลับ (AC)

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


17

ภาพที่ 10 ย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
1.) การตั้งย่านของการวัดแรงดันไฟตรง
- ย่ า นแรงดั น ไฟตรงของมั ล ติ มิ เตอร์ ส่ ว นใหญ่ จ ะมี อ ยู่ 7 ย่ า นด้ ว ยกั น คื อ DC 0.1 V,
DC 0.5 V, DC 2.5 V, DC 10 V, DC 250 V, DC 1000 V
- ก่อนวัดจะต้องตั้งย่านให้เหมาะสมกับแรงดันไฟของวงจรวัดนั้น เพื่อจะให้อ่านได้ดีความ
เที่ยงตรงและแม่นยามากที่สุด ดังตารางที่ 4

ตารางที่ 4 การตั้งย่านการวัดให้เหมาะสมต่อการวัดค่าแรงดันไฟตรง
ย่านการวัด ค่าสูงสุดที่ใช้วัดได้ ค่าที่ควรใช้วัด
DC 0.1 V V 0 V – 0.1 V
DC 0.5 V V 0.1 V – 0.5 V
DC 2.5 V 2.5 V 0.5 V – 2.5 V
DC 10 V 10 V 2.5 V – 10 V
DC 50 V 50 V 10 V – 50 V
DC 250 V 250 V 50 V – 250 V
DC 1000 V 1000 V 250 V – 1000 V

- ถ้าเป็นจุดที่ไม่ทราบค่าว่ามีแรงดันไฟอยู่ที่จุดจะทาการวัดนั้นเท่าใดก็ให้ตั้งย่านที่ สูงไว้ก่อน เมื่อทา


การวัดแล้วปรากฏว่า เข็มของมิเตอร์เบี่ยงเบนไปทางขวาเล็กน้อยหรือไม่กระดิกเลย ก็ค่อยเปลี่ยนลงมาวัดใน
ย่านที่ต่ากว่าลงมาตามลาดับ

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


18

2.) การวัดค่าแรงดันไฟตรง
- นาสายวัดสีแดงเสียบแจ๊ก + และสายวัดสีดาเสียบแจ๊ก - ของมิเตอร์นาปลายสายวัดทั้งสองวัดคร่อม
จุดวัดแบบขนาน ดังรูปที่ 1.6 โดยสายจะต้องต่อสายวัดให้ตรงกับขั้วไฟของจุดวัดนั้นด้วย คือ สายวัดบวกที่
ขั้วบวก แหละสายวัดลบต่อที่ขั้วลบของจุตวัด ถ้าต่อสายวัดกลับขั้วกันจะทาให้ เข็มมิเตอร์เบี่ยงแบนมาทาง
ซ้ายมืออาจทาให้มิเตอร์เสียหายได้โดยเฉพาะกรณีที่วัดไฟค่ามาก
- การตั้งย่าน DCVไปยังจุดวัดที่มี ACV เข็มของมิเตอร์จะไม่เกิดการเบี่ยงเบนและถ้าค่า ACV ที่จุดวัดมี
ค่าสูงกว่าย่านการวัดมาก อาจทาให้มิเตอร์เสียหายได้

ภาพที่ 11 การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟตรง
3.4 การวัดกระแสไฟตรง (DCA) ปฏิบัติดังนี้
ตั้งสวิทช์เลือกย่านไปที่ DC mA มัลติมิเตอร์มีทั้งหมด 4 ย่านวัดเต็มสเกล คือ ย่าน 50  A , 2.5 mA ,
25 mA และ 0.25A (250 mA) การวัดปฏิบัติดังนี้
1. สายวัดสีแดงเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วบวก (+) สายวัดสีดาเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วลบ (- COM) ของมิเตอร์
การวัดค่าใช้สายวัดทั้งสองขั้วไปวัดค่ากระแส
2. ปรับสวิทช์เลือกย่านวัดไปย่านที่เหมาะสม หากไม่ทราบค่ากระแสไฟตรง ให้ตั้งย่านวัดที่ย่านสูงสุด
ไว้ก่อนที่ 0.25A
3. การวัดกระแสไฟตรงต้องนามิเตอร์ไปต่ออนุกรมกับวงจร และต้องคานึงถึงขั้วมิเตอร์ขณะต่อวัด
โดยยึดหลักดังนี้ ใกล้บวกต่อบวก ใกล้ลบต่อลบ การต่อมัลติมิเตอร์วัดกระแสไฟตรง แสดงดังรูปที่
1.7 การอ่านค่าและการใช้สเกลย่านวัดแสดงดังตาราง 5

ภาพที่ 12 การต่อมัลติมิเตอร์วัดกระแสไฟตรง

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


19

ตารางที่ 5 การอ่านค่าและการใช้สเกลย่านวัดกระแสไฟตรง
ย่านตั้งวัด สเกลใช้อ่าน การอ่านค่า ค่าที่วัดได้
50  A 0 – 50 อ่านโดยตรงในหน่วย  A 0 – 50  A
2.5 mA 0 – 250 ใช้ 0.01 คู ณ ค่ า ที่ อ่ า นได้ ใ นหน่ ว ย 0 – 2.5 mA
25 mA 0 – 250 mA 0 – 25 mA
0.25 A 0 - 250 ใช้ 0.1 คูณค่าที่อ่านได้ในหน่วย mA 0 – 250 mA
(250 mA) อ่านโดยตรงในหน่วย mA

4. การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
โวลต์ มิ เตอร์ ไ ฟฟู า กระแสสลั บ (AC Volte-meter) ใช้ ส าหรั บ การวั ด ค่ า ปริ ม าณแรงดั น ไฟฟู า
กระแสสลั บ ที่ เกิ ด ขึ้ น บนอุ ป กรณ์ ไฟฟู าใด ๆ การใช้ ง านจะต่ อ ในลั ก ษณะขนานกั บ อุ ป กรณ์ ที่ ต้ อ งการวั ด
เช่นเดียวกับโวลต์มิเตอร์ไฟฟูากระแสตรง แต่ไม่ต้องกาหนดขั้วของมิเตอร์ให้ถูกต้องในการวัด เนื่องจากไฟฟูา
กระแสสลับไม่มีขั้วทางไฟฟูา ย่านการวัดของโวลต์มิเตอร์ไฟฟูากระแสสลับ ประกอบด้วย 5 ย่าน คือ 0 – 2.5
V, 0 – 10 V, 0 – 50 V, 0 – 250 V และ 0 - 1,000V วิธีการอ่านค่าแรงดันไฟฟูาจะสัมพันธ์กับการตั้งย่านวัด
และสเกลแสดงผล ซึ่งมี 4 สเกล คือ 0 – 2.5, 0 – 10, 0 – 50 และ 0 – 250 การอ่านค่าจากสเกลต้องให้เข็ม
และเงาของเข็มบนกระจกเงาซ้อนทับกันเสมอ

ภาพที่ 13 ย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
การอ่านสเกลของโวลต์มิเตอร์
การอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าจากสเกลของโวลต์มิเตอร์ให้ดูว่าตั้งย่านการวัดไว้ที่ย่านใด การอ่านค่าให้อ่าน
บนสเกล DCV.A & ACV และ AC2.5V ที่มีค่าสูงสุดซึ่งมีความสัมพันธ์กับย่านวัดนั้น โดยจะสามารถอ่านได้ดังนี้
1. ตั้งย่านวัด 2.5 V ให้อ่านสเกลบนแถว AC2.5V วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด 2.5 V เป็นการอ่านค่าปกติ
2. ตั้งย่านวัด 10 V ให้อ่านสเกลบนแถวเลข 10 วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด 10 V ช่องละ 0.1 V เป็น
การอ่านค่าปกติ
3. ตั้งย่านวัด 50 V ให้อ่านสเกลบนแถวเลข 50 วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด 50 V ช่องละ 1 V เป็นการ
อ่านค่าปกติ

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


20

4. ตั้งย่านวัด 250 V ให้อ่านสเกลบนแถวเลข 250 วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด 250 V ช่องละ 5 V เป็น


การอ่านค่าปกติ
ตั้งย่านวัด 1,000 V ให้อ่านสเกลบนแถวเลข 10 วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด 1,000 V ช่องละ 20 V หรือ
อ่านค่าปกติและคูณด้วย 100

5 การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง
แอมป์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC Current-meter) ใช้สาหรับการวัดค่าปริมาณกระแสไฟฟ้ ากระแส
ตรงที่ไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือวงจรไฟฟ้า การใช้งานจะต่อในลักษณะอนุกรมกับอุปกรณ์ที่ต้องการวัด การ
ต่อแอมป์มิเตอร์จะต้องต่อให้ถูกต้องกับขั้วไฟฟ้ามิฉะนั้นเข็มมิเตอร์จะตีกลับด้านและทาให้แอมป์มิเตอร์เสียหาย
และก่อนการวัดกระแสไฟฟ้าต้องทาการตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากวงจรก่อนทาการวัดทุกครั้ง ย่านการวัดของ
แอมป์มิเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง ประกอบด้วย 5 ย่าน คือ 0 – 2.5 V, 0 – 10 V, 0 – 50 V, 0 – 250 V และ
0 - 1,000V วิ ธีก ารอ่ านค่ าแรงดั น ไฟฟ้ า จะสั ม พั น ธ์ กั บ การตั้ ง ย่ านวั ด และสเกลแสดงผล ซึ่ ง มี 4 สเกล คื อ
0 – 2.5 mA, 0 – 25 mA และ 0 – 0.25 A การอ่ านค่าจากสเกลต้ องให้ เข็มและเงาของเข็ม บนกระจกเงา
ซ้อนทับกัน เสมอ

ภาพที่ 14 ย่านการวัดกระแสไฟฟูากระแสตรง

ลาดับขั้นการใช้แอมป์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
1. ปิดสวิทช์หรือตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากวงจรไฟฟ้าที่ต้องการวัด
2. ตั้งย่านวัดของแอมป์มิเตอร์ไปยังย่านวัดที่ใกล้เคียงกับค่ากระแสไฟฟ้าที่ต้องการวัด หากไม่รู้ค่าให้
ตั้งไปยังย่านวัดสูงที่สุด (0.25 A) ก่อน
3. ต่อสายวัดของแอมป์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงอนุกรมกับโหลดหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการวัด โดย
ให้สายไฟบวกต่อเข้ากับขั้วบวกของแหล่งจ่ายไฟฟ้าและสายไฟลบต่อเข้ากับขาข้างหนึ่งของอุปกรณ์ไฟฟ้า
4. เปิดสวิทช์หรือต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากวงจรไฟฟ้าที่ต้องการวัด
5. สังเกตุเข็มของมิเตอร์ หากเข็มขยับเพียงเล็กน้อยให้ปรับลดย่านการวัดลงทีละย่านวัด จนกระทั่ง
เข็มชี้ค่าประมาณกึ่งกลางสเกลจึงทาการอ่านค่า

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


21

6. การวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter)


พัฒนาขึ้นสาหรับวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ โดย
สามารถใช้วัดเพื่อตรวจสอบว่าอุปกรณ์เหล่านั้นยังสามารถใช้งานได้หรือไม่ การใช้งานจะต่อในลักษณะขนาน
กับอุปกรณ์ที่ต้องการวัด โดยปกติแล้วการต่อโอห์มมิเตอร์จะไม่คานึงถึง 145 ขั้วไฟฟ้าของอุปกรณ์ แต่จะมี
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บางชนิดที่จาเป็นต้องต่อให้ถูกขั้วมิฉะนั้นจะไม่สามารถวัด ค่าความต้านทานไฟฟ้าได้
(เนื่องจากมีค่าความต้านทานสูงเป็นอนันต์) การวัดค่าความต้านทานไฟฟูาต้องทา การตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออก
จากวงจรก่อนทาการวัดทุกครั้ง ย่านการวัดของแอมป์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย 5 ย่าน คือ × 1,
× 10, × 100, × 1k และ × 10k วิธีการอ่านค่าความต้านทานจะอ่านที่สเกล บนสุด (Ω) เท่านั้น การอ่านค่า
จ า ก ส เ ก ล ต้ อ ง ใ ห้ เ ข็ ม แ ล ะ เ ง า ข อ ง เ ข็ ม บ น ก ร ะ จ ก เ ง า ซ้ อ น ทั บ กั น เ ส ม อ

ภาพที่15 ย่านการวัดโอห์ม
ลาดับขั้นตอนการใช้โอห์มมิเตอร์
1. ปิดสวิทช์หรือตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากอุปกรณ์ที่ต้องการวัด
2. ปรับสวิทช์เลือกไปที่ย่านโอห์มที่ต้องการวัด เช่น × 100 3. ต่อสายวัดขั้วบวก (สีแดง) และสายวัด
ขั้วลบ (สีดา) เข้าที่มิเตอร์
4. นาปลายสายวัดทั้งสองข้างมาต่อเข้าด้วยกัน สังเกตว่าเข็มมิเตอร์จะเบนขึ้นมาทางขวา ให้หมุนปุ่ม
ปรับศูนย์โอห์ม (Zero Adjustable) จนกระทั่งเข็มมิเตอร์ชี้ที่ ศูนย์โอห์ม การกระทานี้เรียกว่า การปรับศูนย์
โอห์ม ของมิเตอร์
5. ต่อสายวัดขั้วบวก (สีแดง) และสายวัดขั้วลบ (สีดา) เข้าที่อุปกรณ์ที่ต้องการวัด
6. ถ้าเข็มมิเตอร์เบนขึ้นมาน้อยกว่า ¼ ของสเกล ให้ปลดสายมิเตอร์ออกจากอุปกรณ์ที่ต้องการวัด และ
เปลี่ยนย่านวัดให้สูงขึ้น พร้อมทั้งทาซ้าที่ 4 อีกครั้ง จึงจะทาการวัดใหม่ได้
7 ค่าความต้านทานจากสีของตัวต้านทาน
การอ่านค่าความต้านทาน ตัวต้านทานทุกชนิดมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
1. ค่าความต้านทาน
2. ค่าความคลาดเคลื่อน

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


22

ปัจจุบันการอ่านค่าอาจจะอ่านจากตัวอักษรที่พิมพ์ไว้หรืออ่านจากรหัสสี ซึ่งรหัสสีนี้ส่วนใหญ่จะมี
อัตราการทนกาลังไฟต่า ซึ่งการอ่านรหัสสีมีหลายแบบ เช่น 4 แถบสี 5 แถบสี เป็นต้น

ตารางที่ 6 รหัสสีสาหรับอ่านค่าความต้านทาน

หลักการอ่านค่าความต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี

แถบสีที่ 4
แถบสีที่ 3
แถบสีที่ 2
แถบสีที่ 1

ภาพที่ 16 ตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี

สีแถบที่ 1 แทน ตัวเลขตาแหน่งที่ 1


สีแถบที่ 2 แทน ตัวเลขตาแหน่งที่ 2
สีแถบที่ 3 แทน ตัวเลข 10 ยกกาลังตามสี
สีแถบที่ 4 แทน ค่าผิดพลาด
คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์
23

ตัวอย่างที่ 1.1 ตัวต้านทานตัวหนึ่งมีแถบสีเรียงตามลาดับดังนี้ น้าตาล ดา แดง ทอง การอ่านค่าความต้านทาน


คือ
น้าตาล ดา แดง ทอง = 10 x 102 ±5%
= 103 ±5%
= 1000 ±5% หรือ 1 k  ±5%
น้าตาล ดา ดา ทอง = 10 x 100 ±5%
= 10 ±5%
แดง แดง แดง เงิน = 20 x 102 ±10%
= 2200 ±10% หรือ 2.2 k  ±10%
ม่วง เขียว ทอง ทอง = 75 x 10-1 ±5%
= 7.5 ±5%
โปรดสังเกตการณ์อ่าน แถบสีที่ 1 บอกตัวเลขตัวแรกของค่าความต้านทาน
แถบสีที่ 2 บอกตัวเลขตัวที่สองของค่าความต้านทาน
แถบสีที่ 3 บอกเลขตัวคูณกับเลขสองตัวแรก (เป็นเลขยกกาลังของ 10)
แถบสีที่ 4 บอกค่าความคลาดเคลื่อนเป็นเปอร์เซ็นต์

2.1 ความคลาดเคลื่อน
ในการทดลองจาเป็นต้องทาการวัดหลาย ๆ ครั้งหรือหลาย ๆ วิธี แล้วนาผลที่ได้มาคานวณหาค่าที่
ต้องการซึ่งแน่นอนต้องมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น ดัง นั้น จึงต้องแสดงค่าที่คลาดเคลื่อนหรือผิดพลาดไว้ใน
บันทึกผลการทดลองด้วย
ความคลาดเคลื่อน (Error) หมายถึง ค่าที่วัดได้ไม่เท่ากับค่ามาตรฐานหรือค่าที่เชื่อถือได้ โดยถ้าค่าที่วัด
ได้มากกว่าค่ามาตรฐานเรียกว่า ค่าคลาดเคลื่อ นไปทางบวก แต่ถ้าค่าที่วัดได้น้อยกว่าค่ามาตรฐานเรียกว่า ค่า
คลาดเคลื่อนไปทางลบ ความคลาดเคลื่อนนี้อาจจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ
และความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


24

2.1.1 ความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (Systematic Error)


1. ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องมือวัด
ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องมือวัดเป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากเครื่องมือวัด
เสื่อมคุณ ภาพหรือมีคุณ ภาพต่า เช่น โวลต์มิเตอร์ ที่อ่านค่าเต็มสเกลได้ 10 โวลต์ เมื่อใช้ไปนาน ๆ แม่เหล็ก
ภายในเครื่องเสื่อมลง ทาไห้ค่าเต็มสเกลกลายเป็น 12 โวลต์ ทั้งที่ขีดบนสเกลยังคงเป็น 10 โวลต์ เท่าเดิม
2. เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน (Percentage Error, PE)
เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนใช้เมื่อมีค่าที่ยอมรับหรือมีค่าจริงที่เชื่อถือได้ของสิ่งนั้นหรือข้อมูลนั้น ๆ
ได้โดยใช้สมการได้ดังต่อไปนี้

ค่าทดลอง
เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน =  100
ค่
า จริ ง
คลาดเคลือ่ น
= ค่าจากการทดลอง - ค่าจริ ง  100 (1)
ค่าจริ ง

ถ้าคานวณแล้วผลลัพธ์ที่ได้ออกมามีเครื่องหมายบวก (+) แสดงว่า ค่าที่ได้จากการทดลอง


มากกว่าค่าจริงหรือค่าที่เชื่อถือได้หรือค่าที่กาหนดให้แต่ถ้าคานวณแล้วผลลัพธ์ที่ได้ออกมามีเครื่องหมายลบ (-)
แสดงว่า ค่าที่ได้จากการทดลองน้อยกว่าค่าจริงหรือค่าที่เชื่อถือได้หรือค่าที่กาหนดให้
3. เปอร์เซ็นต์ความแตกต่าง (Percentage Difference, PD)
เปอร์เซ็นต์ความแตกต่างใช้เมื่อไม่ทราบค่าที่ถูกต้องหรือค่าจริง หรือค่าที่เชื่อถือได้ของสิ่งนั้น ๆ เช่น
ไม่มีตารางบอกหรือไม่สามารถหาค่าที่เชื่อถือได้จากแหล่งอื่น แต่หาได้โดยการนาค่าที่ได้จากการทดลองเรื่อง
เดียวกัน 2 วิธี โดยแต่ละวิธีทาซ้า ๆ กันหลายครั้งแล้วนาข้อมูลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยของแต่ละวิธี ดังนี้
ค่าความแตกต่าง
เปอร์เซ็นต์ความแตกต่าง = =  100
ค่าเฉลีย่
= ค่าจากวิธีที่ 1– ค่าจากวิธีที่ 2 (2)
 100
ค่าเฉลีย่ ของ 2 วิธี

การหาเปอร์เซ็นต์ความแตกต่างนี้ ถ้าการทดลองมีมากกว่า 2 วิธี อนุโลมให้ใช้สมการ (1) โดย


ใช้ค่าเฉลี่ยของทุกวิธีแทนค่าจริงได้

8. ข้อควรระวังการปฏิบัติงาน
มัลติมิเตอร์เป็นมิเตอร์ที่มีส่วนประกอบของอุปกรณ์หลายชนิด แต่ละชนิดมีขนาดเล็กและบอบบาง ยิ่ง
ในส่วนเครื่องไหวประกอบร่วมกับเข็มชี้มิเตอร์ยิ่ งต้องระมัดระวังอย่างมาก ตลอดจนการนาไปใช้ง านก็ต้อง
ระมัดระวังในเรื่องปริมาณไฟฟ้าในการวัด และอีกหลายสิ่งหลายอย่าง สามารถกล่าวสรุปเป็นข้อๆได้ดังนี้
1.ส่วนเคลื่อนไหวของมัลติมิเตอร์ ประกอบด้วยขดลวดเส้นเล็กมากๆและมีส่วนของเดือยและรอง
เดือยขนาดเล็กเช่นกัน มีความบอบบาง มีโอกาสชารุดเสียหายได้ง่าย หากได้รับกระแสไหลผ่านมากเกินไป หรือ
คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์
25

หากได้รับการกระทบกระเทือนแรงๆที่เกิดจากการตกหล่น เกิดจากการถูกกระแทกแรงๆตลอดจนตั้งย่าน
ปริมาณไฟฟ้าผิดพลาด
2. การวัดปริมาณไฟฟ้าต่างๆ ที่ไม่ทราบค่า ครั้งแรกควรตั้งย่านวัดไว้สูงสุดไว้ก่อน เมื่อวัดค่าแล้วจึง
ค่อยๆลดย่านวัดต่าลงมาให้ถูกต้องกับปริมาณไฟฟ้าที่ต้องการวัดค่า และต่อขั้ววัด บวก + ลบ – ให้ถูกต้อง
3.การตั้งย่านวัดปริมาณไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง แต่ นาไปวัดไฟฟ้ าอี กชนิ ดหนึ่ ง จะมีผลต่ อการทาให้มัล ติ
มิเตอร์ชารุดเสียหายได้ เช่น ตั้งย่านวัดกระแส แต่นาไปวัดแรงดันเป็นต้น
4.ห้ามวัดค่าความต้านทานด้วยย่านวัดโอห์มของมัลติมิเตอร์ ในวงจรที่มีกาลังไฟฟ้าจ่ายอยู่ เพราะจะ
ทาให้ ย่านวัด โอห์ มช ารุดเสีย หายได้ ต้อ งตัด ไฟจากวงจรก่ อนและปลดขาตั วต้ านทานหรือ ขาอุ ป กรณ์ ตัว ที่
ต้องการวัดออกจากวงจรเสียก่อน
5.ขณะพั กการใช้มั ลติมิ เตอร์ทุก ครั้ง ควรปรับ สวิตซ์ เลือ กย่านไฟฟ้ าที่ ย่าน 1000 VDC หรือ 1000
VAC เสมอ เพราะเป็นย่านวัดที่มีความต้านทานผ่ายในมัลติมิเตอร์สูงสด เป็นการป้องกันการผิดพลาดในการใช้
งานครั้งต่อไป เมื่อลืมตั้งย่านวัดที่ต้องการ ในมัลติมิเตอร์บางรุ่นอาจมีตาแหน่ง off บนสวิตซ์เลือกย่านวัด ให้
ปรับสวิตซ์เลือกย่านวัดไปที่ตาแหน่ง off เสมอ เพราะเป็นการตัดวงจรมัลติมิเตอร์ออกขากจากขั้ววัด
6.ถ้าต้องการหยุดการใช้งานมัลติมิเตอร์เป็นเวลานานๆ หรืองดใช้มัลติมิเตอร์ ควรปลดแบตเตอรี่ที่ ใส่
ไว้ในมัล ติมิเตอร์ออกจากมั ลติมิ เตอร์ให้ห มด เพื่ อป้ องกัน การเสื่อมของแบตเตอรี่และการเกิด สารเคมีไ หล
ออกมาจากแบตเตอรี่ อาจกัดกร่อนอุปกรณ์ภายในมัลติมิเตอร์จนชารุดเสียหายได้

ภาพที่ 17 ตาแหน่งแบตเตอรี่และ ฟิวส์ในมัลติมิเตอร์

7.ในกรณีที่ตั้งย่านวัดผิดพลาด จนทาให้มัลติมิเตอร์วัดค่าประมาณไฟฟ้าอื่นๆไม่ขึ้น ให้ตรวจสอบฟิวส์ที่


อยู่ภายในมัลติมิเตอร์ เป็นตัวป้องกันไฟเกิ นว่าขาดหรือไม่ หากฟิวส์ขาดให้ใส่ฟิวส์สารองที่มีอยู่ใส่แทน และ
ทดลองใช้มัลติมิเตอร์อีกครั้ง

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


26

9 การบ่ารุงรักษามัลติมิเตอร์
1. ก่ อ นการใช้ ง านมั ล ติ มิ เตอร์ แ ต่ ล ะรุ่ น แต่ ล ะยี่ ห้ อ ควรศึ ก ษาคู่ มื อ การใช้ ง านให้ เข้ า ใจก่ อ นเสมอ
เนื่องจากมัลติมิเตอร์แต่ละรุ่นแต่ละยี่ห้ออาจมีข้อจากัดหรือข้อปลีกย่อยในการใช้งานแตกต่างกัน
2. ก่อ นการวัดปริม าณทางไฟฟ้ าทุ กครั้ง ต้อ งตรวจสอบให้ แน่ ใจว่าปรับตั้ ง สวิท ช์เลือกย่านการวั ด
ถูกต้องและเหมาะสมกับปริมาณทางไฟฟ้าที่ต้องการวัดทุกครั้ง
3. การใช้งานมัลติมิเตอร์ควรวางราบกับพื้นเสมอไม่ควรวางในแนวตั้งหรือแนวเอียง
4. อย่ าให้ มัลติ มิเตอร์ได้รับ การกระทบกระเทือ นหรือ ตกกระแทกอย่างรุนแรง เพราะจะทาให้ชุ ด
ขดลวดเคลื่อนที่เสียหายได้
5. หากมีความจาเป็นที่จะไม่ได้ใช้งานมัลติมิเตอร์เวลานาน ควรถอดแบตเตอร์รี่ออก มิฉะนั้น สารเคมี
จากแบตเตอร์รี่จะก่อความเสียหายแก่มัลติมิเตอร์ได้
6. หากปรับตั้งย่านวัดความต้านทานที่ R ×1 แล้วไม่สามารถปรับตาแหน่งให้เข็มมิเตอร์ชี้ค่าศูนย์ได้
แสดงว่าแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ลดลงเกินขีดจากัดการใช้งาน ควรเปลี่ยนแบตเตอร์รี่ทันที
7. ควรจัดเก็บมัลติมิเตอร์ไว้ในกล่องจัดเก็บโดยเฉพาะซึ่งสามารถกั นฝุ่นละออง ความร้อน ความชื้น
และการรบกวนจากสนามแม่เหล็กภายนอก
8. ไม่ควรการจัดเก็บมัลติมิเตอร์ไว้ในตู้เหล็กหรือวางบนชั้นวางที่ทาด้วยเหล็ก เพื่อปูองกันการครบ
วงจรของสนามแม่เหล็กถาวรซึ่งจะทาให้แม่เหล็กเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว หากจาเป็นต้องวางควรใช้ฉนวน เช่น
โฟม วางรองมัลติมิเตอร์ไว้ก่อน 1 ชั้น 9. หากมีความจาเป็นต้องเปลี่ยนฟิวส์ของมัลติมิเตอร์ ต้องเปลี่ยนฟิวส์ให้
มีค่าทนกระแสไฟฟ้าขนาด เดียวกัน ห้ามเปลี่ยนให้มีค่าทนกระแสไฟฟูาสูงกว่า เพราะอาจจะทาให้มัลติมิเตอร์
เสียหายได้
10. เมื่อเลิกการใช้งานควรตั้งสวิทช์เลือกย่านการวัดไปที่ตาแหน่ง off ทุกครั้ง หากมัลติมิเตอร์ไม่มี
ตาแหน่ง off ให้ปรับเลือกไปที่ 1,000 VAC แทน เพื่อประหยัดแบตเตอร์รี่ และไม่ควรตั้งย่านการวัดค้างไว้ที่
ย่านวัดความต้านทาน 11. หากมีความจาเป็นต้องใช้งานมัลติมิเตอร์ในงานวัดที่มีความถูกต้องสูงอยู่เสมอ ควร
ส่งมัลติมิเตอร์ ไปทาการเทียบมาตรฐาน (Calibration) ทุก 1 ปี

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


27

บทที่ 4
เทคนิคการปฏิบัติงาน
1. กิจกรรม/แผนการปฏิบัติงาน

เริ่มต้น

จัดเตรียมคู่มือและบทปฏิบัติการตาม
ตารางการเรียนการสอน

ผู้ใช้บริการเข้า
ใช้อุปกรณ์

ใช้งานไม่ได้ ใช้งานได้

แก้ไขอุปกรณ์ที่มี
ปัญหา

จัดเตรียมคู่มือและบทปฏิบัติการตาม
แก้ไขไม่ได้ ตารางการเรียนการสอน
แก้ไขได้
ส่งซ่อมตามขั้นตอนพัสดุ

ตรวจความ
เรียบร้อย

พบความผิดปกติ

ตรวจเช็คความเรียบร้อยของ
ห้องเรียนและอุปกรณ์เพื่อใช้งาน
ภาพที่ 17 แผนการปฏิบัติงานของนักวิทยาศาสตร์ต่Flowchart
อไป
คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การวัดและเลยนัยสาคัญ
28

2. ขั้นตอนการเตรียมการสอนรายวิชาของนักปฏิบัติการต่อรายวิชา
2.1 การเตรียมการรายวิชาของนักปฏิบัติการ
ลาดับ ผังกระบวนการ เวลา รายละเอียดงาน ผู้รับผิดชอบ เอกสารอ้างอิง
1 1 อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น อาจารย์ผู้สอน คู่มือปฏิบัติการ
แจ้งคู่มือปฏิบัติการรายวิชา
สัปดาห์ รายวิ ช า แจ้ ง คู่ มื อ
ปฏิบัติการ
2 1 นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ นักวิทยาศาสตร์ คู่มือปฏิบัติการ
เตรียมเอกสาร สัปดาห์ จั ด เตรี ย มรายงาน
ปฏิ บั ติ ก ารแต่ ล ะบท
ให้แก่นักศึกษา
3 1 วัน นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ นักวิทยาศาสตร์ คู่มือปฏิบัติการ
ตรวจสอบวัตถุตวั อย่างวัสดุ และ ดาเนินการตรวจสอบ
อุปกรณ์ ทดลองความถูก ต้อ ง
ชุ ด อุ ป กรณ์ ก่ อ นให้
นั ก ศึ ก ษ า ล ง มื อ
ป ฏิ บั ติ ก า ร ก า ร
ทดลองปฏิบัติจริง
4 ไม่ถกู ต้ อง อาจารย์ผู้สอนและ อาจารย์ผู้สอน คู่มือปฏิบัติการ
1 นักวิทยาศาสตร์ และ
ตรวจสอบ
สัปดาห์ ร่วมกันตรวจสอบการ นักวิทยาศาสตร์
ความถูกต้ อง ทดลองของนักศึกษา
ถูกต้ อง เพื่อหาค่าความคาด
เคลื่อนน้อยที่สุด
5 1 วัน นักศึกษา ศึกษาและ นักศึกษา กับ คู่มือปฏิบัติการ
ศึกษาและทาการทดลอง ทดลองตามเนื้ อ หา นักวิทยาศาสตร์
โดยมีนักวิทยาศาสตร์
ท าหน้ า ที่ เ สนอแนะ
แล ะ อ าน วย ค วาม
สะดวกขณ ะ
ป ฏิ บั ติ ก า ร ข อ ง
นักศึกษา
6 1 วัน นักวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ คู่มือปฏิบัติการ
เก็บวัสดุอปุ กรณ์ จัดเก็บชุดอุปกรณ์
และตรวจสอบความ
เรียบร้อยเพื่อการใช้
งานครั้งต่อไป
ภาพที่ 18 การเตรียมการรายวิชาของนักปฏิบัติการ
คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์
29

1. เทคนิคการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์ในห้องปฏิบัติการเรื่องการใช้มัลติมิเตอร์ในห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป 1 เป็น
ทดลองเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์การหาลักษณะเครื่องมือที่ใช้ทดลอง ซึ่ง ประกอบด้วยเครื่องมัลติมิเตอร์ชนิด
แบบเข็มพร้อมชุดอุปกรณ์ ประกอบด้วย แบตเตอร์ (Power Supply) ตัวต้านทานชนิด 4 แถบสี สายฟ้าและ
แผงต่อวงจร ลักษณะการทดลองจะเป็นการทดการใช้มัลติมิเตอร์ในการวัดทดสอบตัวต้านทานจากการวัด การ
วัด แรงดัน ไฟฟ้าต่อวงจรแบบขนาน และวัดกระแสไฟฟ้ าการวงจรอนุ กรม โดยการทดลองการเก็ บข้อมู ล
ตัวอย่างก่อนนาไปจัดเตรียมการสอนต่อนักศึกษาและตรวจสอบเครื่องมือให้อยู่ในสถานะที่พร้อมใช้งาน เพื่อให้
เป็นมาตรฐานการทดลองที่เป็นแนวเดียวกันทั้ งหมด และได้มีการสังเกตการทดปฏิบัติทดลองของนักศึกษาต่อ
การใช้อุปกรณ์การวัดและการบันทึกผลถึงความถูกต้องพร้อมแนะนาเสนอการทดลอง โดยมีคู่มือ หรือแนว
ปฏิบัติ หรือคาสั่ง และอยู่ภายใต้การกากับตรวจสอบเฉพาะกรณีที่จาเป็น และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย ปฏิบัติงานที่ยากเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย
อย่าง เช่นวิเคราะห์เพื่อรับรองหรือตรวจสอบคุณภาพเป็นต้น วางแผนปฏิบัติงาน รวบรวมข้อมูล ประเมินผล
และจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานช่วยสอนและให้คาแนะนาการปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์หรื อการกาหนด
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ช่วยนักวิทยาศาสตร์ระดับสูงในการศึกษาวิเคราะห์ในเรื่องต่าง ๆ ตามที่ได้รับ
มอบหมายเป็นต้นให้คาปรึกษาแนะนาในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาและแก่นักศึกษา

2. ตัวอย่างการใช้งานอุปกรณ์

วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1 วัดความต่างศักย์ไฟตรง (VDC)
1. ต่อวงจรดังรูปที่ 18

หม้ อแปลงDC

ภาพที่ 19 แสดงวงจรการวัดความต่างศักย์ที่หม้อแปลงไฟตรง

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


30

ข้อควรระวัง ห้ามนามัลติมิเตอร์ที่ปรับเพื่อใช้วัดกระแสแล้วนาไปวัดค่าความต่างศักย์เพราะจะทา
ให้มัลติมิเตอร์เสียหายได้

2.ให้ใช้มัลติมิเตอร์วัดความต่างศักย์ระหว่างขั้วของหม้อแปลงไฟตรง 3 โวลต์ โดยใช้สวิตซ์เลือกช่วงวัด


ขนาด 10V, 50 V, 250V และ 1,000V ตามลาดับ บันทึกค่าที่วัดได้ลงในตารางที่ 1.1 จากนั้นทาการทดลองซ้า
รวมอย่างละ 3 ครั้ง
3.ทดลองตามข้อ (2) แต่ใช้แรงดันจากหม้อแปลงไฟตรง 12 โวลต์ โดยใช้สวิตซ์เลือกช่วงวัดขนาด
10V, 50 V, 250V และ 1,000V ตามลาดับ บันทึกผลลงในตารางที่ 1.1
ตอนที่ 2 วัดความต่างศักย์ไฟสลับ (VAC)
1. ต่อวงจรดังรูปที่ 20

หม้ อแปลงAC หม้ อแปลงAC

ภาพที่ 20 แสดงวงจรการวัดความต่างศักย์ที่หม้อแปลงไฟสลับ

2.ให้ใช้มัลติมิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟสลับจากหม้อแปลงโวลต์ต่าที่กาหนดให้ กาหนดจุดวัดระหว่าง
ขั้ว 0 V กับ 3 Vโดยใช้สวิตซ์เลือกช่วงวัดขนาด 10V , 50 V , 250V และ 1,000V และทดลองซ้ารวมอย่างละ
3 ครั้ง บันทึกผลลงในตารางที่ 1.2
3.ทดลองตามข้อ (2) แต่ใช้จุดวัดระหว่าง 0V กับ 12 Vโดยใช้สวิตซ์เลือกช่วงวัดขนาด10V , 50 V ,
250V และ 1,000V ตามลาดับ บันทึกผลลงในตารางที่ 1.2

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


31

ตอนที่ 3 วัดกระแสตรง
1.ต่อวงจรดังภาพที่ 21 แต่ให้เปิดวงจรไว้ก่อน

หม้ อแปลงDC

ภาพที่ 21 แสดงวงจรการใช้มัลติมิเตอร์เพื่อวัดกระแสทั้งหมดในวงจร

ข้อควรระวัง การวัดปริมาณกระแส ควรปฏิบัติด้วยความระมัดระวังอย่างมากเพราะมัลติมิเตอร์


เสียหายได้ง่าย
2.ให้วัดกระแสที่ไหลในวงจร ซึ่งเป็นกระแสที่ผ่านความต้านทาน 1k โดยใช้สวิตซ์เลือกช่วงขนาด
25 mA และ 250 mA ตามลาดับ แล้วให้ทดลองซ้ารวมอย่างละ 3 ครั้ง (เมื่อวัดกระแสได้แล้วให้เปิดวงจรไว้
ทันที) บันทึกผลลงในตารางที่ 1.3
3.ทดลองตามข้อ (2) แต่เปลี่ยนตัวต้านทานใหม่เป็นขนาด 100 โดยใช้สวิตซ์เลือกช่วงวัดขนาด 25
mA และ 250 mA ทดลองซ้ารวมอย่างละ 3 ครั้ง บันทึกผลลงในตารางที่ 1.3
ตอนที่ 4 วัดค่าความต้านทาน
1. .เลือกตัวต้านทานจากที่กาหนดให้จานวน 5 ตัวที่ระบุสีแตกต่างกัน แล้วอ่านค่าความ
ต้านทานจากรหัสสีเหล่านั้น บันทึกค่าลงในตารางที่ 1.4
2. เปิดสวิตซ์เลือกช่วงวัดไปยังสเกลความต้านทานที่เหมาะสม จากนั้นให้ปรับศูนย์
3. วัดค่าความต้านทานทุกตัว บันทึกผลในตารางที่ 1.4
4. เปรียบเทียบค่าความต้านทานที่วัดได้กับค่าความต้านทานที่อ่านได้จากรหัสสี จากนั้นอ่าน
ความคลาดเคลื่อนจากรหัสสี แล้วคานวณค่าความคลาดเคลื่อนเป็นเปอร์เซ็นต์ดังนี้

| ค่าที่วดั ได้จากมัลติ มิเตอร์ - ค่าที่อ่านได้ |


เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน = x 100
ค่าที่วดั ได้จากมัลติ มิเตอร์

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


32

3. ข้อที่ต้องสังเกต
มัลติมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่มีส่วนประกอบของอุปกรณ์หลายชนิด แต่ละชนิดมีขนาดเล็ก
และ บอบบาง ยิ่งในส่วนเคลื่อนไหวของมิเตอร์ยิ่งต้องระมัดระวัง อย่างมาก ตลอดจนการนาไปใช้งานก็ต้อง
ระมัดระวังในเรื่องของ ปริมาณไฟฟ้าที่จะวัด และอีกหลายสิ่งหลายอย่าง สามารถกล่าวโดยสรุปเป็นข้อๆ ได้
ดังนี้
1. ส่วนเคลื่อนไหวของมิเตอร์ ประกอบด้วยขดลวดเส้น เล็กมาก และมีส่วนของเดือยและรองเดือยมี
ขนาดเล็ ก มี ค วามบอบบาง อาจช ารุ ด เสี ย หายได้ ง่ า ยหากได้ รั บ กระแสมากเกิ น ไป หรื อ หากได้ รั บ การ
กระทบกระเทือนแรงๆ ที่เกิดจาก การตกหล่น ตลอดจนการตั้งย่านวัดผิด
2. การวัดปริมาณไฟฟ้าต่างๆ ที่ไม่ทราบค่า ครั้งแรกควรตั้งย่านวัดในย่านสูงสุดไว้ก่อน แล้วจึงค่อยๆ ลด
ย่านวัดลงมา ให้ถูกต้องกับปริมาณไฟฟ้าที่ทาการวัดค่าและต่อขั้ววัดให้ถูกต้อง
3. การตั้งย่านวัดโอห์มหรือย่านวัดกระแส และนาไปวัดค่าแรงดันจะมีผลให้ตัวต้านทานในวงจรมัล ติ
มิเตอร์เสียหายได้ เมื่อแรงดันที่วัดมีค่าสูงประมาณ 100 V ขึ้นไป
4. ห้ามวัดค่าความต้านทานในวงจรที่มีกาลังไฟฟ้ าจ่ายอยู่ เพราะจะทาให้ย่านวัดโอห์มของมัลติมิเตอร์
ชารุดได้ต้องตัด ไฟออกจากวงจรก่อนและปลดขาตัวต้านทานหรือขาอุปกรณ์ตัวที่ต้องการวัดออกจากวงจร
เสียก่อน
5. ขณะพั กการใช้มิ เตอร์ ทุ ก ครั้ งควรปรับ สวิต ช์ เลื อ กย่า นวัด ไปที่ ย่ าน 1,000 V DC หรื อ1,000 V AC
เพราะเป็นย่านวัดที่ มีค่าความต้านทานภายในมิเตอร์สูงสุด หรือในมัลติมิเตอร์รุ่นที่มีต าแหน่ง OFF บนสวิตช์
เลือกย่านวัด ให้ปรับสวิตช์เลือก ย่านวัดไปที่ตาแหน่ง OFF เสมอเพราะเป็นการตัดวงจรมิเตอร์ออกจากขั้วต่อ
วัด
6. เมื่อหยุดการใช้งานมัลติมิเตอร์เป็นเวลานานๆ ควรปลดแบตเตอรี่ที่ใส่ไว้ในมัลติมิเตอร์ออกจากมัลติ
มิเตอร์ให้หมด เพื่อป้องกันการเสื่อมของแบตเตอรี่ และเกิดสารเคมีไหลออกมาจากแบตเตอรี่ อาจกัดกร่อน
อุปกรณ์ต่างๆ ภายในมิเตอร์ จนชารุดเสียหายได้ การเก็บมัลติมิเตอร์ไม่ควรเก็บไว้ในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงและ
มีความชื้นสูง
7. ในกรณีการตั้งย่านวัดผิดพลาดจนทาให้มัลติมิเตอร์วัดค่าปริมาณไฟฟ้าอื่นๆไม่ขึ้น ให้ตรวจสอบฟิ วส์ที่
อยู่ภายใน มัลติมิเตอร์ ท าหน้าที่เป็นตัวป้องกันไฟเกิน ว่าขาดหรือไม่ หากฟิวส์ขาดให้ใช้ฟิ วส์สารองที่มีอยู่ใส่
แทน และทดลอง ใช้มัลติมิเตอร์อีกครั้ง

4 สรุปสาระสาคัญ
มัล ติมิ เตอร์แ บบแอนะล็อ ก หรือ ที่ นิ ยมเรี ยกว่า มิเตอร์เ ข็ม มี ค วามสามารถวัด ปริม าณทางไฟฟ้ าได้
มากกว่า 1 ชนิ ด ประกอบด้วย 1) แรงดั น ไฟฟู ากระแสตรง 2) แรงดั นไฟฟ้ ากระแสสลั บ 3) กระแสไฟฟ้ า
กระแสตรงและ 5) ความต้านทานไฟฟู า โดยการวัดปริมาณทางไฟฟ้ าแต่ละชนิดจะสามารถเลือกได้โดยใช้
สวิทช์เลือกย่านการวัด (Range selector switch)
วิธีการวัดแรงดันไฟฟ้ าและการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้ าต้องต่อมิเตอร์ขนานกับอุปกรณ์ ที่ต้องการวัด
ส่วนการวัดค่ากระแสไฟฟูาต้องต่ออนุกรมกับอุปกรณ์ไฟฟ้าเท่านั้น การอ่านค่าปริมาณทางไฟฟ้าจากมิเตอร์เข็ม
คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์
33

ทาได้โดยการดูตาแหน่งของเข็มชี้ค่าว่าตรงกับตาแหน่งใดบนสเกลแสดงผลและใช้การคูณหรือหารค่าที่อ่านได้
ร่วมกับตัวเลือกย่านการวัด
ดิจิทัลมัลติมิเตอร์ หรือ ที่นิยมเรียกว่า มิเตอร์แบบตัวเลข มีความสามารถในการวัดปริมาณทางไฟฟ้ า ได้
เช่นเดียวกับมิเตอร์เข็ม รวมทั้งยังมีความสามารถอีกหลายอย่างที่เหนือกว่า เช่น แสดงผลขั้วไฟฟ้ าอัตโนมัติ
เปลี่ยนย่านการวัดอัตโนมัติ วัดปริมาณความถี่ ฯลฯ วิธีการวัดจะทาเช่นเดียวกับแบบมิเตอร์เข็ม
ดิจิทัลมัลติมิเตอร์จะมีความทนทานน้อยกว่ามิเตอร์แบบเข็ม ดังนั้นการใช้งานจึงต้องมีความระมัดระวัง สูง
โดยเฉพาะการวัดแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ซึ่งอาจทาให้มิเตอร์เสียหายได้ง่าย

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การใช้มลั ติ มิเตอร์


บทที่ 5
ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางานข้อเสนอแนะ
ผู้ปฏิบัติงานด้านปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือวิทยาศาสตร์ และอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ มีหน้าที่ที่
จะต้องตรวจสอบอุปกรณ์ในการเบิกจ่ายและใช้ ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ และระเบียบที่เกี่ยวข้องอยู่หลาย
ส่วนด้วยกัน นอกจากผู้ปฏิบัติการด้านนักวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นผู้รอบรู้ในกฎหมาย ระเบียบของครุภัณ ฑ์
แล้วยังต้องทาหน้าที่ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้รับบริการ อีกทั้งยังมีส่วนร่วมการแก้ไขปัญหาเกี่ยวการซ่อมบารุง
การเบิกจ่าย และการใช้งานอีกด้วยสามารถสรุปเป็นประเด็นดังนี้
ปัญหาที่พบบ่อยๆ จากการตรวจสอบการใช้งานอุปกรณ์กาวัดในห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ 09-215
ขั้นตอนการดาเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข
การขอเบิกใช้อุปกรณ์ นักศึกษา (บางคน,ส่วนน้อย) ไม่ เป็นแบบอย่าง เป็นต้นแบบที่ดีให้
ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ นักศึกษา ตัวอย่างที่ดีมีประโยชน์
ห้องปฏิบัติการ มากกว่ากฎระเบียบ ข้อบังคับ
การเบิกจ่ายวัสดุ การเรียนการสอนห้องปฏิบัติการ
ทุกวันเวลาราชการ เวลา 8.30 -
17.00 น. และทุกช่วงที่มีชั่วโมง
ปฏิบัติการ
นักศึกษาใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ สอนนักศึกษาให้ใช้งานได้อย่าง
วิทยาศาสตร์ไม่เป็น ทาให้เกิด ถูกต้อง และต้องมั่นใจว่านักศึกษา
ความเสียหายกับอุปกรณ์ สามารถใช้งานได้
เครื่องมือได้
การทดลอง นักศึกษาทาอุปกรณ์ชารุดเสียหาย
ติดต่อกับงานกิจการนักศึกษาช่วย
แต่เรียกเก็บเงินค่าเสียหายไม่ได้
ประสานงาน หากเป็นงานวิจัยของ
นักศึกษาติดต่อฝ่ายวิจัยช่วย
ประสานงาน
ชุดอุปกรณ์การทดลองเป็นชุด ให้นักศึกษาทาการทดลองพร้อม
ประกอบการทางไฟฟ้าและต้องมี กับเจ้าหน้าที่นักวิทยาศาสตร์คอย
การต่อวงค่อนข้างซับซ้อน ให้คาแนะนาตลอดเวลา
ความคาดเคลือนของการทดลองมี แก้ ไ ขโดยก่ อ นการวั ด ปริ ม าณใด
ความแตกต่างมากหรือน้อย ต้องแน่ใจว่าตั้งสวิตซ์เลือกย่านการ
วัดตรงกับปริมาณที่จะวัด
การทดสอบอุปกรณ์ ทดสอบการหาค่าละเอียดที่ ก่อ นการวัด ปริม าณทางไฟฟ้ า ทุ ก
แตกต่างระหว่างเครื่องมือ ครั้ ง ต้ อ งตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า
ปรั บ ตั้ ง สวิ ท ช์ เ ลื อ กย่ า นการวั ด
ถูก ต้ อ งและเหมาะสมกั บ ปริม าณ

คู่มือการปฏิ บตั ิงาน เรื ่อง การวัดและเลยนัยสาคัญ


39

ทางไฟฟ้าที่ต้องการวัดทุกครั้ง
การบันทึกผลตามหลักเลข ในการวั ด ปริ ม าณทางไฟฟ้ า ใด ๆ
นัยสาคัญ ที่ยังไม่ตรงกัน ในการ หากเราตั้ ง ช่ว งการวัด ตากว่ าค่า ที่
ทดลองแต่ละครั้งของนักศึกษา วัดได้ จอแสดงผลจะแสดง ตัวเลข
1 หรือ -1 เท่านั้น เช่น สมมุติว่าวัด
ค่าความต้านทาน 100 k Ω แต่ตั้ง
ช่ว งการวั ด ไว้ที่ 10 kΩ มิ เตอร์ จ ะ
แสดงเลข 1 หรือ -1 แทนค่าสูงสุด
ที่ วั ด ได้ ดั ง นั้ น วิ ธี แ ก้ ไ ขคื อ การ
ปรับตั้งย่านวัดให้สูงขึ้น

2.ข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหา
1) ส่งเสริมความเอาใจใส่ในเรื่องความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการของทั้งอาจารย์และนักศึกษา
ด้วยการจัดอบรม หรือมีชั่วโมงแนะนาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเพิ่มขึ้น
2) เพิ่มระบบจัดการในกรณีที่นักศึกษาทาอุปกรณ์ ชารุดเสียหาย ด้วยการปลอดหนี้ร่วมกับการชาระ
ค่าเทอม โดยร่วมมือกับหน่วยกิจการนักศึกษา
3) นักวิทยาศาสตร์มีสิทธิ์ในการระงับการให้บริการแก่นักศึกษาในการทาปัญหาพิเศษนั้นๆแล้วทาเรื่อง
แจ้งปัญหาแก่อาจารย์ที่ปรึกษา ผ่านทางหัวหน้าสาขาวิชาที่ห้องปฏิบัติการนั้นๆสังกัด
4) ก่อนการวัดปริมาณใด ต้องแน่ใจว่าตั้งสวิตซ์เลือกย่านการวัดตรงกับปริมาณที่จะวัด 2. สวิตซ์เลือก
การวัดอยู่ในช่วงการวัดที่เหมาะสมไม่ตากว่าปริมาณที่จะวัด ในกรณีที่ไม่ทราบปริมาณที่จะวัดมีค่าอยู่ในช่วง
การวัดใด ให้ตั้งช่วงการวัดที่มีค่าสูงสุดก่อนแล้วค่อยลดช่วงการ วัดลงมาทีละช่วง
5) เนื่องจากช่องเสียบสายวัด (สีแดง) มีหลายช่อง คือ V- , mA และ 10 A ต้องแน่ใจว่าเสียบสายวัดสี
แดงในช่องเสียบตรงกับปริมาณที่จะวัด
4) ในกรณีที่วัดความต่างศักย์ไฟฟูาสูง ตั้ง แต่ 25 VAC หรือ 60 VDC ขึ้นไป ระวังอย่าให้ส่วนใดของ
ร่างกายแตะวงจรที่กาลังวัดจะเป็นอันตรายได้
5) ในขณะที่กาลังทาการวัด และต้องการปรับช่วงการวัดให้ตาลงหรือสูงขึ้นหรือเลือกการวัดปริมาณ
อื่น ให้ดาเนินการดังนี้
6.1 ยกสายวัดเส้นหนึ่งออกจากวงจรที่กาลังทดสอบ
6.2 ปรับช่วงการวัดหรือเลือกการวัดปริมาณอื่นตามต้องการทาการวัด
6) การวัดปริมาณกระแสสูง (~10A) ควรใช้เวลาวัดในช่วงสั้นไม่เกิน 30 วินาที
7) เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ให้เลื่อนสวิตซ์ปิด -เปิด มาที่ OFF ถ้าไม่ได้ใช้เป็นเวลานาน ควรเอาแบตเตอรี่
ออกด้วย
40

บรรณานุกรม
เกษตรศาสตร์ , มหาวิ ท ยาลั ย . (2538). คู่ มื อ ปฏิ บั ติ ก ารฟิ สิ ก ส์ 1. กรุ ง เทพฯ : มหาวิ ท ยาลั ย
เกษตรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์, มหาวิทยาลัย. (2538). ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทบวงมหาวิทยาลัย. (2525). ฟิสิกส์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : มปท.
ทิพวิมล ทองอ่อนและคณะ. (2540). โจทย์ 3000 ข้อ ฟิสิกส์เล่ม 1. กรุงเทพฯ : แมคกรอฮิลอินเตอร์
เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไบรส์, อิงค์.
เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี , มหาวิ ท ยาลั ย . (2541). ปฏิ บั ติ ก ารฟิ สิ ก ส์ ทั่ ว ไป 1. กรุ ง เทพฯ :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ธีระศักดิ์ วีระภาสพงษ์. (2538). Principle of modern Physics I. กรุงเทพฯ :แม็ค จากัด.
ธีระศักดิ์ วีระภาสพงษ์. (2538). Principle of modern Physics II.กรุงเทพฯ : แม็ค จากัด.
นิรันด์ สุวรัตน์. (2546). ฟิสิกส์กลศาสตร์ ม.4. กรุงเทพฯ : พัฒนา จากัด.
สภาสถาบั น ราชภั ฏ , สานั ก งาน. (2546). คู่ มือ ปฏิ บั ติก ารทดลองวิ ช าฟิ สิ ก ส์. กรุง เทพฯ : คุ รุ สภา
ลาดพร้าว.
Halliday, D., Resnick, R. (1976). Physics.John-Weley& Son., Addison-Wesky.
Hugh D. Y. and Roger A. F. (2004).University Physics with Modern Physics.11th Edition,
Pearson Addition Wsley, San Francisco; USA.
40

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ – ชื่อสกุล นายฮูเซ็ง ชายดานา


วัน เดือน ปี เกิด 18 พฤศจิกายน 2528
ที่อยู่ปัจจุบัน 40 ซอยสิโรรส 12 ตาบลสะเตง อาเภอเมือง จังหวัดยะลา
95000
ที่ทางานปัจจุบัน สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ตาแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์
ประสบการณ์การทางาน
พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2547 - 2549 มัธยมศึกษาตอนปลาย (สายวิทย์ – คณิต)
โรงเรียนอัครศาสน์วิทยา (มูลนิธิ)
พ.ศ. 2549 - 2553 วท.บ (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
พ.ศ. 2553 - 2555 วิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) สถาบันการพลศึกษา ยะลา
รางวัลที่เคยได้รับ พ.ศ. 2558 บุคลากรดีเด่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดย
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พ.ศ.2558
พ.ศ. 2560 รางวัลนาเสนองานวิจัย ระดับดีมาก เรื่อง การพัฒนาสื่อ
การสอนฟิสิกส์ เรื่องความเสียดทาน ในงานฟิสิกส์สัมพันธ์
ครั้งที่ 18 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาณี

You might also like