You are on page 1of 7

ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

ปฏิบัติการที่ 1
การใช้งานเครือ่ งมือ ัดไฟฟ้าและการต่อ งจร

1. ัตถุประ งค์
เพื่อใ ้นัก ึก ามีทัก ะในการใช้งานเครื่องมือ ัดไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

2. การค้นค า้ เพิ่มเติมทฤ ฎีที่เกี่ย ข้องกับการทดลอง


ั ข้อ ำ รับการค้นค ้าเพิ่มเติมทฤ ฎีที่เกี่ย ข้องกับการทดลอง มีดังต่อไปนี้
1) การอ่านค่าค ามต้านทานและเปอร์เซ็นต์ค ามผิดพลาดจากการดูแถบ ีบนตั ต้านทาน
2) เครื่องมือ ัดไฟฟ้าแบบมัลติมิเตอร์: ิธีการใช้งาน โ ลต์มิเตอร์, แอมป์มิเตอร์ และโอ ์มมิเตอร์ ที่ถูกต้อง
3) ลักการพื้นฐานของการ ิเคราะ ์ งจรไฟฟ้า: กฎของโอ ์ม
1 ) การอ่านค่าความต้านทานและเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดจากการดูแถบสีบนตัวต้านทาน
1.1 )การอ่านค่าความต้านทานของ4แถบสี
สมมติค่าที่อ่านได้คือ AB โดยที่ (A) คือค่าจากการอ่านแถบสีที่1 1 B) คือค่าจากการอ่านแถบสีที่2 คือค่า
"
"
×k 10 ± 110 )

จากการอ่านแถบสีที่3 ( k ) คือเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดซึ่งได้จากการอ่านแถบสีที่4
1.2 )การอ่านค่าความต้านทานของ5แถบสี
สมมติค่าที่อ่านได้คือ 1-113C 10 h โดยที่ (A) คือค่าจากการอ่านแถบสีที่1 (B) คือค่าจากการอ่านแถบสีที่2 (C) คือค่า
"

× ±

จากการอ่านแถบสีที่3 ④ำ คือค่าจากการอ่านแถบสีที่4 h คือเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดซึ่งได้จากการอ่านแถบสีที่5


±

2) เครื่องมือวัดไฟฟ้าแบบมัลติมิเตอร์: วิธีการใช้งาน โวลต์มิเตอร์, แอมป์มิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์ ที่ถูกต้อง


มัลติมิเตอร์ (Multimeters) คือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายปริมาณ แต่ วัดได้ทีละปริมาณ โดย
สามารถตั้งเป็นโวลท์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ หรือ โอห์มมิเตอร์ และเลือกไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)
2.1)วิธีการใช้งานโวลต์มิเตอร์
2.1.1)การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง
ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นโวลท์มิเตอร์ก่อน โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวัดความ ต่างศักย์
ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) ซึ่งมี 7 ช่วงการวัดคือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V,0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V
1. เลือกตำแหน่งที่ต้องการวัดความต่างศักย์ และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดำที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เข้ากับมัลติมิเตอร์
3. ตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่าความต่างศักย์ของบริเวณนั้น โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตำแหน่งช่วง
4. นำสายวัดมิเตอร์ไปต่อขนานหรือต่อคร่อมวงจร โดยใช้หัววัดแตะกับจุดที่ต้องการวัด และต้องให้ กระแสไฟฟ้า
ไหลเข้าทางขั้วบวก (+) ของมัลติมิเตอร์เสมอ
5. การอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ให้อ่านสเกลสีดำที่อยู่ใต้แถบเงิน ซึ่งมีค่าระบุอยู่ใต้สเกล 3 ช่วง คือ 0-10, 0-50
และ 0-250 ค่าที่อ่านได้ต้องสัมพันธ์กับช่วงการวัดที่ตั้งไว้

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 5


ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

2.1)วิธีการใช้งานโวลต์มิเตอร์
2.1.2)การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ
ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นโวลท์มิเตอร์กระแสสลับ โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตำแหน่งช่วงการวัด ความต่าง
ศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (ACV) ซึ่งมี 4 ช่วงการวัดคือ 0-10V, 0-50V, 0- 250V, 0-1000V จากน้ันเลือกช่วงการวัดให้
เหมาะสม สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ เรา สามารถต่อโดยให้สายวัดเส้นใดอยู่ข้างใดก็ได้ แต่วิธี
วัดค่ายังใช้หลักการเดียวกันกับโวลต์มิเตอร์กระแสตรง
2.2)วิธีการใช้งานแอมป์มิเตอร์
การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง
ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นแอมมิเตอร์ก่อน โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปท่ีตำแหน่งช่วงการวัดกระแส ไฟฟ้ากระแส
ตรง (DCA) ที่มี 4 ช่วงการวัดคือ 0-50 MA, 0-2.5mA, 0-25mA,0-0.25A
1. เลือกตำแหน่งท่ีต้องการวัดกระแสไฟฟ้า และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดำที่ข้ัวลบ (- COM) และสายวัดสีแดงท่ีข้ัวบวก (+) เข้ากับมัลติมิเตอร์
3. ตั้งช่วงการวัดท่ีเหมาะสม ในกรณีที่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่าค่าที่ทราบ
แต่ในกรณีที่ไม่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดท่ีสูงๆ (0-0.25A) ไว้ก่อน
4. นำสายวัดมิเตอร์ไปต่อแทรกหรือต่อแบบอนุกรม โดยใช้หัววัดแตะบริเวณที่ต้องการวัด และต้องให้ กระแสไฟฟ้า
ไหลเข้าทางข้ัวบวกของมัลติมิเตอร์ หากเข็มวัดตีเกินสเกลต้องรีบเอาสายวัดมิเตอร์ออกจากวงจร ทันที แล้วเลือกช่วง
การวัดที่สูงข้ึน ก่อนปรับช่วงการวัดใหม่ต้องเอาสายวัดออกจากวงจรทุกครั้ง และต้องแน่ใจว่า ค่าที่จะวัดได้น้ันมีค่า
ไม่เกินช่วงการวัดท่ีปรับต้ังใหม่
5. อ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร ซึ่งการอ่านต้องสัมพันธ์กับช่วงการวัดท่ีต้ังไว้
2.3)วิธีการใช้งานโอห์มมิเตอร์
การวัดความต้านทานด้วยโอห์มมิเตอร์
1. ปิดสวิตช์ ถอดปลั๊กเพื่อเอาไฟออกจากวงจรหรือ R ที่จะวัดก่อน เพราะการวัด R ต้องวัดนอกวงจรและวัดขณะที่ไม่มี
ไฟเท่านั้น การวัด R จะใช้ไฟจากมัลติมิเตอร์ไหลผ่าน R จึงห้ามมีไฟจากเหล่งอื่นๆอีก ถ้าไม่ปฏิบัติตามนี้มิเตอร์จะพัง
และผู้ทำการวัดได้รับอันตราย
2. เสียบสายวัดสีแดงเข้ารูเสียบ + และสายวัดสีดำเข้ารูเสียบ -COM
3 แตะหรือซ๊อตสายวัดแดงกับดำเข้าด้วยกัน จากนั้น ปรับปุ่ม 0 โอห์ม
4. ปรับเลือกย่านวัดที่เหมาะสม
5. ต่อสายวัดเข้ากับ R จะต่อข้างไหนก็ได้เพราะ R ไม่มีขั้ว กรณีใช้มือช่วยจับยึดให้จับได้แค่ 1 ข้างเท่านั้น
6. อ่านค่าแล้วนำไปคูณด้วยอัตราส่วนที่มิเตอร์ตั้งไว้
3)หลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า: กฎของโอห์ม
3.1)กฎของโอห์ม “เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านโลหะตัวนำหนึ่งจะมีค่าแปรผัน ตรงกับความต่างศักย์
ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของตัวนำนั้น โดยอัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าย่อมมีค่าคงที่ เรียก
ว่า ความต้านทาน ”

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 6


ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

3)หลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า: กฎของโอห์ม
3.2)กฎของโอห์ม ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับ ความต่างศักย์ไฟฟ้า และ กระแสไฟฟ้ากับความ
ต้านทาน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำใดๆ แปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้า หรือแรงดันตกคร่อม)
(คือกระแสมีค่ามากหรือน้อยตามความต่างศักย์นั้น) เขียนเป็นสมการได้ว่า Ia V

และกระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานระหว่างสองจุดนั้น(คือถ้าความต้านทานมากจะทำให้กระแสไหลผ่านน้อย,
ถ้าความต้านทานน้อยจะทำให้มีกระแสมาก) เขียนเป็นสมการได้ว่า Iak
นำสูตรสมการทางคณิตศาสตร์ทั้งสองมารวมกันเขียนได้ดังนี้ I =
¥
โดยที่ คือความต่างศักย์ มีหน่วยเป็น โวลต์, คือกระแสในวงจร หน่วยเป็น แอมแปร์ และ คือความต้านทานในวงจร หน่วย
เป็น โอห์ม

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 7


ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

3. อุปกรณ์ใช้ในการทดลอง
1) แ ล่งจ่ายไฟฟ้ากระแ ตรง จำน น 1 ชุด
2) มัลติมิเตอร์ จำน น 1 ตั
3) ตั ต้านทาน ขนาด 100  จำน น 1 ตั
4) ตั ต้านทาน ขนาด 1 k จำน น 1 ตั
5) ตั ต้านทาน ขนาด 3 k จำน น 1 ตั
6) แบตเตอรี่ (ถ่านไฟฉาย)
7) แผงทดลอง
8) ายต่อ งจร

4. การทดลอง
4.1 การอ่านค่าค ามต้านทานและการใช้งานโอ ์มมิเตอร์ (Ohm-meter)
ขั้นตอนการทดลอง:
1) อ่านค่าค ามต้านทานและเปอร์เซ็นต์ค ามผิดพลาดจากการดูแถบ ีบนตั ต้านทานที่ทาง ้องปฏิบัติการ
จัดไ ้ใ ้ โดยอ่านจากแถบ ีที่อยู่บนตั ต้านทาน และบันทึกผลการอ่านลงในตารางที่ 1.1
2) นำโอ ์มมิเตอร์ ัดค่าค ามต้านทานดังกล่า เพื่อตร จ อบค ามถูกต้อง และบันทึกผลการ ัดลงในตารางที่
1.1

ตารางที่ 1.1 ผลการทดลองการอ่านค่าค ามต้านทานและการใช้งานโอ ์มมิเตอร์


แถบ ีบนตั ต้านทาน ผลการอ่าน ผลการ ัด
แถบที่ 1 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 4 แถบที่ 5 ( ) (%) ()
น้ำตาล ดำ น้ำตาล ทอง
/ 1 5 00 14631
ต.ย. - 100 ±5% 100.6
1 0 X10 ±5%
-

" °°
-
=
2.47 %

ตาล เ ยว แดง ทอง


1 3000 -
2 9 58 /
1.4 % 1) / 500 | 463
| 02
-

✗ 100 =
นก
1 5 ± 5 %
3µ × ± 5 %

ม แดง ทอง
1 1000
-
-๑๑ 61
✗ 10 °
= 0.4 % 2) 2
-

3000 ± 5% 2 9 58
µ 3 0 × µ ± g %

ตาล แดง ทอง

-
/ 2- 2.4
01 00
ˢ
5 % 3) 1 0 µ
2
-

/ 000 ± 5% 996
2 × ± 5%

แดง
เ น ตาล
"
_


" "
✗ 100=10 % 4)* o ✗ 10-2 1 %
2 ± 1 % 2.1
2 o ±

ตาล เ น ตาล
5)* 1-
"
± 1 %
1 ± 1 % แ
0 0 × 10

* มายเ ตุ: ตั ต้านทานที่ 4) และ 5) ใ ้เลือกค่าค ามต้านทานที่มี 5 แถบ ี

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 9


น้ำ
น้ำ
ดำคำ
น้ำ
น้ำ
ดำดำ
ดำ
น้ำ
ดำ
ส้
งิ
งิ
ขี
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

4.2 การใช้งานโ ลต์มิเตอร์เบื้องต้น (Volt-meter)

รูปที่ 1.1 แบตเตอรี่และเต้ารับ ำ รับการ ัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแ ตรงและ ลับ

ขั้นตอนการทดลอง:
1) การ ัดแรงดันไฟฟ้ากระแ ลับ: ตั้งค่าการ ัดของโ ลต์มิเตอร์ ำ รับ ัดไฟฟ้ากระแ ลับ (VAC)
2) นำโ ลต์มิเตอร์ ัดค่าแรงดันที่จุดเ ียบเต้ารับ
3) บันทึกผลการทดลองในตารางที่ 1.2
4) การ ัดแรงดันไฟฟ้ากระแ ตรง: ตั้งค่าการ ัดของเครื่องมัลติมิเตอร์เป็น โ ลต์มิเตอร์ ำ รับ ัดไฟฟ้า
กระแ ตรง (VDC)
5) นำโ ลต์มิเตอร์ ัดค่าแรงดันที่ขั้ แบตเตอรี่ (ถ่านไฟฉาย)
6) บันทึกผลการทดลองในตารางที่ 1.3

ตารางที่ 1.2 ผลการ ัดแรงดันไฟฟ้ากระแ ลับ


ขนาดพิกัดแรงดันประเภททีอ่ ยู่อา ัย (V) ผลการ ัด (V)
220 V 231.6 V

ตารางที่ 1.3 ผลการ ัดแรงดันไฟฟ้ากระแ ตรงจากแบตเตอรี่


ขนาดพิกัดแรงดันของแบตเตอรี่ (V) ผลการ ัด (V)
9V 8. 80 V

4.3 การใช้งานโ ลต์มิเตอร์เและแอมป์มิเตอร์ใน งจรไฟฟ้าพื้นฐาน


ขั้นตอนการทดลอง:
1) ต่อ งจรตามรูปที่ 1.2 ลงในบอร์ดทดลอง

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 10


ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

A
I +
+ R1 VR1
Vi − =100 

รูปที่ 1.2 การใช้งานโ ลต์มิเตอร์เและแอมป์มิเตอร์ใน งจรไฟฟ้าพื้นฐาน


2) ปรับแรงดันที่แ ล่งจ่ายเท่ากับ 12 V จากนั้นใ ้นำโ ลต์มิเตอร์ ัดค่าแรงดันตกคร่อมตั ต้านทาน พร้อมทั้ง
บันทึกผลการ ัดลงในตารางที่ 1.4
3) ตั้งค่าการ ัดของเครื่องมัลติมิเตอร์เป็น แอมป์มิเตอร์ เพื่อ ัดกระแ ที่ไ ลผ่าน งจร จากนั้นใ ้อ่านค่าจาก
แอมป์มิเตอร์ พร้อมทั้งบันทึกผลการ ัดลงในตารางที่ 1.4

ตารางที่ 1.4 ผลการ ัดการใช้งานโ ลต์มิเตอร์เและแอมป์มิเตอร์ใน งจรไฟฟ้าพื้นฐาน


แรงดันที่แ ล่งจ่าย แรงดันตกคร่อม R1 กระแ ใน งจร
(Vi) (VR1) (I)
12 V V II. 81 118.3 mA

5. ิเคราะ ์และ รุปผลการทดลอง


จากการทดลอง4.1การอ่านค่าความต้านทานและการใช้งานโอห์มมิเตอร์ ตัวต้านทานตัวที่1 ค่าจากการอ่านแถบสี1500โอห์ม ค่าจากการวัด 1463โอห์ม

คลาดเคลื่อนอยู่ 2.47 % ซึ่งไม่เกินค่าความคลาดเคลื่อนของแถบสี ± 5% ตัวต้านทานตัวที่2 ค่าจากการอ่านแถบสี 3000 โอห์ม ค่าจากการวัด2958โอห์ม คลาดเคลื่อน

อยู่ 1.4 %ซึ่งไม่เกินค่าความคลาดเคลื่อนของแถบสี ± 5% ตัวต้านทานตัวที่3 ค่าจากการอ่านแถบสี 1000 โอห์ม ค่าจากการวัด 996 โอห์ม คลาดเคลื่อนอยู่ 0.4 % ซึ่งไม่

เกินค่าความคลาดเคลื่อนของแถบสี ± 5 % ตัวต้านทานตัวที่4 ค่าจากการอ่านแถบสี 2โอห์ม ค่าจากการวัด 2.1 โอห์ม คลาดเคลื่อนอยู่5 %ซึ่งเกินค่าความคลาดเคลื่อน

ของแถบสี ± 5 % ตัวต้านทานตัวที่5 ค่าจากการอ่านแถบสี 1 โอห์ม ค่าจากการวัด 1.1 โอห์ม คลาดเคลื่อนอยู่ 10 % ซึ่งเกินค่าความคลาดเคลื่อนของแถบสี ± 1% ทั้งนี้ค่า

ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการทดลองข้างต้น อาจเกิดจากการเสื่อมสภาพของตัวต้านทานที่นำมาวัด และการวัด การประมาณ จากผู้ที่ทำการทดลองเอง

จากการทดลอง 4.2การใช้โวลต์มิเตอร์เบื้องต้น ผลการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ : ขนาดพิกัดประเภทที่อยู่อาศัย 220 V ผลการวัด 231.6 V คลาดเคลื่อนอยู่


5.27 % ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากการวัดที่ผิดพลาดของผู้ทำการทดลอง ผลการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่ : ขนาดพิกัดแรงดันแบตเตอรี่
9 V ผลจากการวัด 8.8 V คลาดเคลื่อนอยู่ 2.22 % ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น อาจเป็นเพราะแบตเตอรี่ผ่านการใช้งานมาบ้างแล้ว ทำให้แรงดันที่วัดได้มีค่าน้อยลง

จากการทดลอง4.3การใช้งานโวลต์มิเตอร์และแอมป์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้าพื้นฐาน แรงดันที่จ่าย 12 V แรงดันตกคร่อม R1 วัดได้ 11.81 V กระแสในวงจรวัดได้


I #
118.3 mA ตร จาก กฎ ของโอน [ V IR ] ;
0.12A กระแสที่ได้จากการวัดกับกระแสที่ได้จากกฎของโอห์ม คลาดเคลื่อนอยู่
10.12-0.11831
" °°
= =
1.42 %
= =

0.12

ความคลาดเคลื่อนที่น้อยมากนี้ อาจประมาณได้ว่า กระแสไฟฟ้าที่วัดได้ เป็นไปตามกฎของโอห์ม ทั้งนี้ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นอาจเกิดจากการวัด การ


ประมาณที่ผิดพลาดของผู้ทำการทดลอง

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 11


สู
ชื่อ-นาม กุล นาย สถิตย์ แก้วหนู ร ั นัก ึก า 640610560 ตอนที่ 004

จากการทดลองทั้ง3การทดลอง ได้นำความรู้การอ่านแถบสีมาอ่านค่าความต้านทาน ค่าแต่ละแถบแต่ละสีมีค่าแตกต่างกันไป การใช้มัลติมิเตอร์มาใช้ในการ


วัดหาค่าความต้านทาน ค่าแรงดัน ค่ากระแสไฟฟ้า ในขณะที่ทำการทดลอง ทำการวัด เราควรคำนึงถึงความปลอดภัยด้วย ถ้าหากเราไม่ระวังอาจเกิดอันตรายถึงชีวิต
ได้ การใช้กฎของโอห์มเข้ามาเพ่ื่อเปรียบเทียบกระแสไฟฟ้าจากสูตรการคำนวณ V = IR กับกระแสที่ได้จากการวัด ซึ่งก็ทำให้เราเข้าใจกฎของโอห์มมากขึ้น

252286 ปฏิบัติการ ิ กรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ำ รับ ิ กรเครื่องกล 12

You might also like