You are on page 1of 39

ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ไฟฟ้า (Electricity)

เป้าหมายการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง
1. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และคานวณปริมาณที่
เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ V = IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์
2. เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
3. ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
4.วิเคราะห์ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรมและ
แบบขนานจากหลักฐานเชิงประจักษ์
5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน
6. บรรยายการทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรจากข้อมูลที่รวบรวมได้
7. เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า
8. อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการW = Pt รวมทั้งคานวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
9. ตระหนักในคุณค่าของการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยนาเสนอวิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและ
ปลอดภัย

ให้นักเรียนเขียนเป้าหมายการเรียนรู้ของนักเรียน (Free thinking จะวาดรูปหรือเขียนบรรยาย


ความรู้สึกก็ได้ ห้ามเหมือนกัน)
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ไฟฟ้าเป็นพลังงานชนิดหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้ ในปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งที่
สาคัญอย่างหนึ่งในการดารงชีวิต เนื่องจากปัจจุบันเราใช้ไฟฟ้าในด้านต่างๆ เช่นนามาเป็นพลังงานของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

วงจรไฟฟ้า (electric circuit)


วงจรไฟฟ้า หมายถึง เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ครบรอบ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์
ต่างๆ ก็จะมีความต้านทานเฉพาะตัวที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากหรือน้อยแตกต่างกันวงจรไฟฟ้า
ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 3 ส่วน คือ
1. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า หมายถึง แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้า เช่นแบตเตอรี่
2. ตัวนาไฟฟ้า หมายถึง สายไฟฟ้าหรือสื่อที่จะเป็นตัวนาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า
ซึ่งต่อระหว่างแหล่งกาเนิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้า
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องใช้ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานรูปอื่น ซึ่งจะเรียก
อีกอย่างหนึ่งว่า โหลด
เครื่องใช้ไฟฟ้า (หลอดไฟ)

สายไฟ
แบตเตอรี่
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....
กฎของโอห์ม

ในปี พ.ศ 2343 ยอร์ช ไซมอน โอห์ม (Georg Simon Ohm) นักฟิสิกส์ ชาว
เยอรมันได้ทาการทดลองและค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของ ไฟฟ้าทั้ง 3 ตัว
คือ ระหว่างกระแสไฟฟ้า ( I ) แรงดันไฟฟ้า (V) และตัวต้านทาน (R) และได้ตั้งเป็น
กฎของโอห์ม (Ohm’s Law) โดยได้ทาการทดลองดังนี้

กิจกรรมความสัมพันธ์ระหว่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
จุดประสงค์ของกิจกรรม
นักเรียนสามารถทดลองและสรุปกระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ ผ่านตัวนาแปรผันตรงกับความต่างศักย์
ระหว่างปลายของตัวนานั้น เมื่ออุณหภูมิคงตัว

อุปกรณ์ การทดลอง ภาพประกอบ


 กล่องใส่ถ่านไฟฉาย 1. ต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย ถ่านไฟฉาย
สวิตช์
พร้อมถ่านไฟฉาย 1 ชุด หลอดไฟฟ้า แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ และ
 หลอดไฟ 1 หลอด สวิตช์ (ใช้ถ่านไฟฉาย 2 ก้อน)
 แอมมิเตอร์ 1 ตัว 2. กดสวิตช์ สังเกตและบันทึก
 โวลต์มิเตอร์ 1 ตัว กระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์
 สวิตช์ 1 ตัว ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจาก
โวลต์มิเตอร์ แล้วยกสวิตช์ขึ้น
3. ทาการทดลองซ้าข้อ 2. โดยเพิ่ม
ถ่านไฟฉายในวงจรอีกครั้งละ 1 ก้อน
จนใช้ถา่ นไฟฉายครบ 4 ก้อน ถ่านไฟฉายเริ่มต้นใช้ 2 ก้อน
4. คานวณหาอัตราส่วนระหว่างค่าที่ แล้วเพิ่มทีละก้อน จนครบ
อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์กับค่าที่อ่านได้ 4 ก้อน
จากแอมมิเตอร์
5. นาผลทีไ่ ด้มาเขียนกราฟความสัมพันธ์
ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแส
ไฟฟ้า
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

บันทึกผลการทดลอง
จานวน ความต่างศักย์ (โวลต์) กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)
ถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
1
2
3
4

ให้นักเรียนเขียนกราฟความสัมพันธ์ของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า

สรุปผลการทดลอง
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

คาถามท้ายกิจกรรม
1. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
2. กระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่านหลอดไฟและความต่างศักย์หลอดไฟ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

อธิบายเพิ่มเติม
1. จากการทดลองบันทึกค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์แล้วเขียนกราฟ จะต้องให้ ความต่างศักย์
(V) อยู่ในแกน X ในขณะที่ค่าของกระแสไฟฟ้า (I) อยู่ในแกน Y เพราะเราปรับค่าของ ความต่างศักย์โดยเพิ่ม
จาานวนถ่านไฟฉาย ดังนั้นความต่างศักย์จะเป็นตัวแปรต้นและกระแสไฟฟ้าเป็น ตัวแปรตาม
2. จากกฎของโอห์มได้ว่า α เมื่ออุณหภูมิคงตัว ดังนั้นในการทาากิจกรรมเมื่ออ่านค่ากระแส ไฟฟ้า
และอ่านค่าความต่างศักย์แล้วต้องรีบยกสวิตช์ขึ้น เพราะถ้าปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวด นิโครมเป็น
เวลานานจะทาาให้ลวดนิโครมมีอุณหภูมิสูงขึ้น ผลการทดลองจะคลาดเคลื่อน (สสวท, 2556)
จากการทดลองดังกล่าวสามารถอธิบายได้ดังนี้
เมื่ออุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนาชนิดหนึ่งจะมีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่าง
ปลายทั้งสองชองตัวนา หาได้จาก
𝐼 แปลผันโยตรงตรงกับ 𝑉
อาจเขียนได้ว่า 𝐼 𝑉
1
เมื่อค่าคงที่ คือ 𝑅
1
ดังนั้น 𝐼 = 𝑅 𝑉
จากสมการอาจเขียนได้ว่า

𝑉
𝑅=
𝐼

เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)


V คือ ความต่างศักย์ มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
R คือ ค่าคงตัวและเรียนว่า ตัวต้านทาน มีหน่วยเป็น โอห์ม (Ω)
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ตัวอย่างการคานวณ
1) ตัวต้านทาน 500 โอห์ม มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.02 แอมแปร์ ที่ปลายทั้งสองข้างของตัวต้านทานจะ
มีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่าใด

2) เครื่องใช้ไฟฟ้ามีความต้านทาน 55 โอห์ม ต่อเข้ากับไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ 220 โวลต์จะมี


กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์

3) กาต้มน้าอันหนึ่งใช้กับไฟที่มีความตางศักย์ 220 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 5 แอมแปร์ อยากทราบ


ว่ากาต้มน้ามีความต้านทานกี่โอห์ม

4) เครื่องใช้ไฟฟ้ามีความต้านทานคงที่ เมื่อต่อปลายทั้งสองข้างเข้ากับไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ (V) จะมี


กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 4 แอมแปร์ ถ้าต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ 2 โวลต์จะมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....
แบบฝึกทักษะที่ 1

ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1.ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้า คามต้านทาน และกระแสไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. กฎของโอห์มกล่าวถึงเรื่องใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.จงหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเตารีดที่มีความต้านทาน 100 โอห์มที่เสียบเข้ากับไฟบ้าน 220 โวลต์

5. จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีความต้านทาน 70 โอห์ม และมีกระแสไฟฟ้า 2 แอมแปร์

6. นักเรียนคิดว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดมีค่าเท่ากันหรือไม่เพราะอะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. ให้นักเรียนวาดรูปหรือเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องไฟฟ้า (รูปหรือสิ่งที่เขียนออกมาอาจเป็น
ความรู้สึกเมื่อได้เรียนเรื่องไฟฟ้า ความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว เป้าหมายที่เรียนเรื่องนี้) free thinking ปล.ห้ามเขียน
หรือวาดมาเหมือนกัน
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

เครื่องวัดทางไฟฟ้า
โวลต์มิเตอร์ Voltmeter เป็นเครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า เมื่อนาต่อในวงจรไฟฟ้าจะต้องต่อแบบ
ขนาน มีหน่วยเป็น โวลต์ (Volt) และมีสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าดังนี้

สานักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2555

แอมมิเตอร์ (Ammeter) เป็นเครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้าในวงจร เมื่อนามาวัดกระแสไฟฟ้าในวงจร


จะต้องนามาต่อแบบอนุกรมในวงจรไฟฟ้า มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A) และมีสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าดังนี้

สานักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2555
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

การต่อวงจรไฟฟ้า
การต่อวงจรไฟฟ้าเป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าสามารถแบ่งวิธีการต่อได้ 3 แบบ คือ
1 วงจรอนุกรม เป็นการนาเอาเครื่องใช้ไฟฟ้ามาต่อเรียงกันไปเหมือนลูกโซ่ กล่าวคือ ปลายของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 1 นาไปต่อกับต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 2 และต่อเรียงกันไปเรื่อยๆ จนหมด แล้ว
นาไปต่อเข้ากับแหล่งกาเนิด โดยจะมีทางเดินของกระแสไฟฟ้าได้ทางเดียวเท่านั้น หากเครื่องใช้ไฟฟ้า
ตัวใดตัวหนึ่งเปิดวงจรหรือขาด จะทาให้วงจรทั้งหมดไม่ทางาน

คุณสมบัติที่สาคัญของวงจรอนุกรม
1. กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันตลอดวงจร
2. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร เมื่อนามา
รวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด
3. ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าเท่ากับผลรวม
ของความต้านทานแต่ละตัวในวงจรรวมกัน

ในที่นี้หลอดไฟฟ้าต่างมีค่าความต้านทาน R ภายในหลอด ดังนั้นหากต้องการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม


สามารถต่อได้ดังนี้
การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
I R1 R2 R3 I

กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านความต้านทานละตัวมีค่าเท่ากันและมีค่าเท่ากับความต้านทานรวม
Iรวม = I1 = I2 = I3
ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกของความต่างศักย์ที่ตกคร่อมความต้านทานแต่ละตัว
Vรวม = V1 + V2 + V3
จากกฎของโอห์ม V = IR
ดังนั้น IRรวม = IR1 + IR2 + IR3
เนื่องจาก Iรวม = I1 = I2 = I3 จึงเอา I หารตลอด จะได้

Rรวม = R1 + R2 + R3
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

2 วงจรขนาน เป็นการนาเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกๆ ตัวมาต่อรวมกัน และต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดที่


จุดหนึ่ง นาปลายสายของทุกๆ ตัวมาต่อรวมกันและนาไปต่อกับแหล่งกาเนิดอีกจุดหนึ่งที่เหลือ กระแสไฟฟ้าที่
ไหลจะสามารถไหลได้หลายทางขึ้นอยู่กับตัวของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นามาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมี
เครื่องใช้ไฟฟ้าตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสามารถทางานได้ ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย
ปัจจุบันจะเป็นการต่อวงจรแบบนี้ทั้งสิ้น
คุณสมบัติที่สาคัญของวงจรขนาน
1. กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับ
กระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกัน
2. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเท่ากับ
แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด
3. ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทาน
ตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร

การต่อตัวต้านทานแบบขนาน R1

Iรวม R2 Iรวม

R3

ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับความต่างความต่างศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัว
Vรวม = V1 = V2 = V3
กระแสไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกของกระแสที่ผ่านความต้านทานแต่ละตัว
Iรวม = I1 + I2 + I3
𝑉
จากกฎของโอห์ม I =
𝑅
𝑉รวม 𝑉1 𝑉2 𝑉3
ดังนั้น = + +
Rรวม 𝑅1 𝑅2 𝑅3

เอา V หารตลอด เนื่องจาก Vรวม = V1 = V2 = V3 จะได้

1 1 1 1
= + +
Rรวม 𝑅1 𝑅2 𝑅3
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

3 วงจรผสม เป็นวงจรที่นาเอาวิธีการต่อแบบอนุกรม และวิธีการต่อแบบขนานมารวมให้เป็น


วงจรเดียวกัน

การต่อตัวทานแบบผสม
เป็นการนาเอาการต่อตัวท้านทานแบบอนุกรมและแบบขนานมาผสมผสานเข้าด้วยกันเช่น
R2

R1

R3

R4

จากรูปความต้านทาน R2 ต่อขนานกับความต้านทาน R3 แล้วจึงนามาต่ออนุกรมกับความต้านทาน


R1 และทั้งหมดต่อขนานกับความต้านทาน R4
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....
แบบฝึกทักษะที่ 2

จากรูปจงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A ถึง B
1. 3Ω
2Ω 7Ω
B
A

2. 4Ω


A B

3. 4Ω

4Ω 4Ω
A B

20Ω

2Ω 2Ω
4. A



B 2Ω
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

5.
2Ω 2Ω 2Ω
A

4Ω 4Ω 4Ω
4Ω 2Ω

B
2Ω 2Ω 2Ω

6. 2Ω
A

B 2Ω

7. 2Ω

B

2Ω A

8.

A B

ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....
กาลังไฟฟ้า

เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดเมื่อนามาใช้งานในเวลาเท่ากัน จะส้นเปลืองพลังงานต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิด
ของเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น หากนักเรียนสังเกตหลอด ไฟฟ้าจะเห็นฉลากข้างหลอดที่เขียนว่า 100W 220V และ
หลอดไฟ 40W 220V หมายถึงพลังงาน ไฟฟ้าที่หลอดไฟใช้ในเวลา 1 วินาที มีค่าเป็น 100 จูล หรือ 40 จูล
โดยหลอดไฟทั้งสองใช้กับ ความต่างศักย์ 220 โวลต์ (V)

หากนักเรียนเปิดไฟจากหลอดไฟ 100W 220V นาน 1 ชั่วโมง กับหลอดไฟ 40W 220V นาน


8 ชั่วโมง หลอดใดใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่า ค่าไฟที่เสียของแต่ละหลอดเท่ากันหรือไม่ ซึ่งผู้เรียนควรได้ข้อ
สรุปว่าการคิดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้จะพิจารณาที่กาาลังไฟฟ้าอย่างเดียวไม่ได้ ต้องพิจารณาจากเวลาที่ใช้ด้วย
พลังงานไฟฟ้าคือพลังงานที่เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า กาลังไฟฟ้า (electrical
power) โดยทั่วไปเครื่องใช้ไฟฟ้าจะระบุค่าของกาลังไฟฟ้าไว้ หากต้องการ ทราบปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่
เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นใช้ สามารถหาได้จาก สมการดังต่อไปนี้

P = IV
P คือกาลังไฟฟ้า (วัตต์,W)
I คือกระแสไฟฟ้า (แอมแปร์, A)
V คือความต่างศักย์ที่ต่อเข้ากับเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนั้น (โวลต์, V)

ตัวอย่าง
1. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าตู้เย็น 1.5 แอแปร์ เมื่อตู้เย็นต่อเข้ากับความต่างศักย์ 220 โวลต์ ตู้เย็นใช้
กาลังไฟฟ้าเท่าไร

2. หลอดไฟฉายเขียนระบุข้างหลอดว่า 3 V 0.15 W แสดงว่าหลอดนี้ทนกระแสสูงสุดได้เท่าใด


ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

พลังงานไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้าหมายถึง งานที่ต้องทาในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าผ่านจุดใดจุดหนึ่งในวงจรไฟฟ้าพิจารณา
วงจรไฟฟ้าซึ่งประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า E มีความต้านทานภายใน r ต่อเข้ากับวามต้านทาน
ภายนอก R การหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพื่อคาานวณค่าไฟฟ้า การกาหนด หน่วยแต่ละปริมาณเป็นดังนี้

กาลังไฟฟ้า(กิโลวัตต์)
W =Pt พลังงานไฟฟ้า=
เวลา (ชั่วโมง)

W คือพลังงานไฟฟ้า (จูล, J)
P คือกาลังไฟฟ้า (วัตต์,W)
t คือเวลา (วินาที,s)
ตัวอย่าง
ในบ้านหลังหนึ่งมีหลอดไฟฟ้า 100 วัตต์ จานวน 5 ดวง ถ้าเปิดพร้อมกันจะใช้กาลังไฟฟ้ากี่กิโลวัตต์
และถ้าเปิดหลอดไฟทุกดวงไว้นาน 10 ชั่วโมงจะสิ้นเปลืองพลังงานไปเท่าใด
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

การคิดค่าไฟ

การคิดเงินค่าไฟฟ้า คือ การคิดค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในช่วงหนึ่งเวลาหนึ่ง หน่วยของพลังงานไฟฟ้า


ที่ใช้เราคิดเป็นยูนิต unit โดยที่ 1 ยูนิตเท่ากับ 1 กิโลวัตต์ ชั่วโมง
จานวนยูนิต = กิโลวัตต์ x ชัว่ โมง
วัตต์ ×ชั่วโมง
หรือ จานวนยูนิต =
1000
พลังงานไฟฟ้า 1 ยูนิต = 1 กิโลวัตต์ x 1 ชั่วโมง
= (1,000 วัตต์) x (3,600 วินาที)
= (1,000 จูล/ วินาที) x (3,600 วินาที)
∴ พลังงานไฟฟ้า 1 ยูนิต =3.6 x 106 จูล
ค่าไฟที่คิดในแต่ละเดือนทางการไฟฟ้าจะคิดในอัตราก้าวหน้า เมื่อใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น จะต้อง
เสียพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยมากขึ้น
ค่าไฟฟ้าที่ผู้ใช้ต้องชาระในแต่ละเดือนคือ
ค่าไฟฟ้าที่ต้องชาระ = ค่าพลังงานไฟฟ้า + ค่าบริการ + ค่า Ft + ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม

การคิดค่าไฟจะคิดในอัตราก้าวหน้า

1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน


ค่าพลังงานไฟฟ้า
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 2.3488 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.9882 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) หน่วยละ 3.2405 บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100) หน่วยละ 3.6237 บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) หน่วยละ 3.7171 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 4.2218 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท
1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) หน่วยละ 3.2484 บาท
250 หน่วยต่อไป ( หน่วยที่ 151 – 400 ) หน่วยละ 4.2218 บาท
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ตัวอย่าง ครอบครัวหนึ่งใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ โดยเฉลี่ย 1 วันดังตาราง


เครื่องใช้ไฟฟ้า จานวน กาลังไฟฟ้า เวลาที่ใช้
(วัตต์) (ชั่วโมง/วัน)
หลอดไฟธรรมดา 6 60 3
หลอดฟลูออเรสเซนต์ 6 32 5
โทรทัศน์ 1 130 10
เตารีดไฟฟ้า 1 1000 2
พัดลม 3 70 2
เครื่องปรับอากาศ 1 1500 4
หม้อหุงข้าว 1 600 1
ถ้าไฟฟ้าที่ใช้มีความต่างศักย์ 220 โวลต์และเสียค่าไฟฟ้าตามอัตราก้าวหน้าในช่วงเวลา 30 วัน ครอบครัวนี้จะ
เสียค่าพลังงานไฟฟ้าเท่าใดต่อเดือน และจงหาขนาดของฟิวส์ที่ใช้ในบ้านหลังนี้
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

แบบฝึกทักษะที่ 3

1.ถ้าเปิดเครื่องปรับอากาศที่ใช้กาลังไฟฟ้า 2000 วัตต์ เป็นเวลา 5 ชั่วโมงจะสิ้นเปลืองพลังงานกี่หน่วย

2.เตารีดไฟฟ้าขณะใช้งานไฟ 220 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้าผ่านเตารีด 5 แอแปร์ใช้เตารีดนาน 45 oทีจะใช้


พลังงานไปกี่ยูนิต

3.บ้านหลังหนึ่งมีเครื่องใช้ไฟฟ้าและเวลาในการใช้งานดังนี้
ก. ตู้เย็นขนาด 400 วัตต์ใช้วันละ 12 ชั่วโมง
ข. หม็อหุงข้าวไฟฟ้าขนาด 600 วัตต์ใช้วันละ 40 นาที
ค. เครื่องปรับอากาศขนาด 1200 วัตต์ ใช้วันละ 2 ชั่วโมง
ง. เตารีดไฟฟ้าขนาด 1000 วัตต์ใช้วันละ 2 ชั่วโมง
เดือนเมษายนจะต้องจ่ายค่าไฟกี่บาทถ้าค่าไฟหน่วยละ 1.50 บาท
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านและการเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นอุปการณ์ที่ช่วยอานวยความสะดวกให้กับมนุษย์ ซึ่งเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะใช้
พลังงานที่ต่างกันออกไปดังนั้นหากต้องเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าให้คุ้มค่าควรดูรายละเอียดและจุดประสงค์ของการ
ใช้ง1าน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหลายประเภทดังนี้
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานแสงเช่น หลอดไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส
แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักฟิสิกส์ ชาวอเมริกัน ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ
พ . ศ . 2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็ก เป็นไส้หลอดและต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้น จนเป็นหลอดไฟฟ้าที่ใช้ใน
ปัจจุบัน
ประเภทของ หลักการทางานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา รูปภาพ
หลอดไฟ
หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทาด้วยลวดโลหะที่มจี ุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้น
เล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออก
หมดแล้วบรรจุกา๊ ซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ช่วยป้องกัน
ไม่ให้หลอดไฟฟ้าดา กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความ
ต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้
หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้
พลังงานไฟฟ้า >>พลังงานความร้อน >>พลังงานแสง
หลอดเรืองแสง หรือ ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว
ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูก
หลอดฟลูออเรส สูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้
เซนต์ (fluorescent) หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทาให้ปรอทที่บรรจุ
ไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้จะ
คายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทาให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะ
ถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับ
พลังงานของตนในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าว
กระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะ
เปล่งแสง
แผนผังการทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์
พลังงานไฟฟ้า ไอปรอทรังสีอัลตราไวโอเลต สารเรืองแสง
 พลังงานแสสว่าง

หลอดนีออน เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น แสงสว่าง มีลกั ษณะ


เป็นหลอดแก้วทีถ่ ูกลนไฟ ดัดเป็นรูปหรืออักษรต่างๆ สูบอากาศ
ออกเป็นสูญญากาศ แล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ ออกมาได้
หลอด LED คือสารกึ่งตัวนาไฟฟ้า ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แล้วปล่อยแสง
สว่างออกมาได้ทันที ทั้งนี้หลอด LED ทีเ่ ราคุ้นตา จะเป็นหลอดไฟ
ขนาดเล็กหลากสีสัน เช่น สีแดง สีน้าเงิน เป็นต้น เนื่องจากขึ้นอยูก่ ับ
วัสดุที่นามาใช้ แต่ต่อมามีการปรับแก้ด้วยการนาหลอด LED สีน้า
เงินไปเคลือบเรืองแสงสีเหลือง จึงทาให้แสงจากหลอด LED ส่อง
ออกมาเป็นสีขาว และสามารถใช้เป็นหลอดไฟส่องสว่างได้
หลากหลายรูปแบบมากขึ้น
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

แนวทางการใช้งานของหลอดไฟ

ควรปิดไฟทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยู่ในห้อง
 เลือกใช้หลอดไฟที่มีกาลังวัตต์เหมาะสมกับการใช้งาน
 สาหรับบริเวณที่ต้องการความสว่างมาก ภายในอาคารควรเลือกใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ ส่วนภายนอกอาคาร
ควรเลือกใช้หลอดไอโซเดียม และหลอดไอปรอท
 ควรใช้ฝาครอบดวงโคมแบบใสหากไม่มีปัญหาเรื่องแสงจ้า และหมั่นทาความสะอาดอยู่เสมอ
 พิจารณาใช้โคมไฟตั้งโต๊ะสาหรับงานที่ต้องการแสงสว่างจุดเดียว
 ควรเลือกใช้โคมไฟแบบสะท้อนแสงแทนแบบเดิมที่ใช้พลาสติกปิด
ควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์หรือหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ แทนหลอดไส้ ซึ่งมีคาแนะนาในการใช้ดังนี้
 หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบผอม ขนาด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ มีความสว่างเท่ากับ หลอด 20 วัตต์ และ 40
วัตต์แต่ประหยัดไฟกว่า และสามารถใช้แทนกันได้ โดยไม่ต้องเปลี่ยนบัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์
 หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มี 2 ชนิด คือ ชนิดมีบัลลาสต์ภายในสามารภใช้แทนหลอดกลมแบบเกลียวได้
ส่วนหลอดที่มีบัลลาสต์ภายนอก จะมีขาเสียบเพื่อต่อกับตัวบัลลาสต์ที่อยู่ภายนอก
 หลอด LED ใช้พลังงานไฟฟ้าต่า และให้แสงสว่างเท่าหลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนต์ และหลอดใส้

2 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน

เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ใ ห้ พ ลั ง งานความร้ อ น เป็ น เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ เ ปลี่ ย น
พลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานความร้อน เช่น หม้อหุงข้าวไฟฟ้า กระทะไฟฟ้า เตา
ไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า หม้อต้มน้าไฟฟ้าเครื่องเป่าผม เครื่องปิ้งขนมปังไฟฟ้า เป็นต้น

หลักการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อนมีหลักการคือเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ความต้านทานไฟฟ้าสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ดังนั้น จึง
ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดนิโครมหรือแผ่นความร้อนซึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า
สูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนมากแล้วถ่ายเทพลังงานความร้อนไปยังภาชนะ
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

แนวทางการใช้งานของเตารีด

- ก่อนอื่นควรตรวจสอบดูว่าเตารีดอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้งานหรือไม่ เช่น สาย ตัวเครื่อง เป็นต้น


- ตั้งปุ่มปรับความร้อนให้เหมาะสมกับชนิดของผ้า
- อย่าพรมน้าจนเปียกแฉะ
- ดึงเต้าเสียบออกก่อนจะรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาที แล้วรีดต่อไปจนเสร็จ
- ถอดปลั๊กออกเมื่อไม่ได้ใช้
- ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ
- ควรเริ่มรีดผ้าบาง ๆ ก่อน ขณะเตารีดยังไม่ร้อน
- ควรดึงปลั๊กออกก่อนรีดเสร็จเพราะยังร้อนอีกนาน

3 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลได้ ต้องใช้มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เช่น เครื่องซักผ้า เครื่องสูบน้า พัดลม จักรเย็บผ้า ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ เป็น
ต้น

ส่วนประกอบและหลักการทางานของมอเตอร์
มอเตอร์ประกอบด้วยขดลวดตัวนาอยู่ในสนามแม่เหล็ก
ทางานโดย เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดตัวนาที่พันรอบแกนเหล็กใน
สนามแม่เหล็กจะเกิดอานาจ แม่เหล็ก ผลักกับสนามแม่เหล็ก ทาให้ขดลวดหมุนได้
 ข้อควรระวังในการใช้มอเตอร์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์เป็นส่วนประกอบ คือ ถ้าไฟตก มอเตอร์
จะไม่หมุน แต่ยังมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดตัวนาอยู่ ซึ่งอาจทาให้ขดลวดร้อนและไหม้ได้ ดังนั้นจึง
ต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้งที่ไฟตก และเมื่อเลิกใช้งาน

แนวทางการใช้

พัดลม
- เปิดความเร็วลมพอควร
- เปิดเฉพาะเวลาใช้งาน
- ควรเปิดหน้าต่างใช้ลมธรรมชาติแทนถ้าทาได้
เครื่องเป่าผม
- เช็ดผมก่อนใช้เครื่อง
- ควรขยี้และสางผมไปด้วยขณะเป่า
เครื่องดูดฝุ่น
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ควรเอาฝุ่นในถุงทิ้งทุกครั้งที่ใช้แล้วจะได้มีแรงดูดดี ไม่เปลืองไฟ

4 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น
เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง
 เครื่องรับวิทยุ
เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับ
คลื่นวิทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้น
จนเพียงพอที่ทาให้ลาโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยิน ดังแผนผัง

แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ

 เครื่องบันทึกเสียง

เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพูด
ผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็ก
ในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนาแถบบันทึกเสียงที่บันทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลี่ยนกลับไป
เป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึง
ลาโพง ทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง

การเปลี่ยนพลังงานของเครื่ องบันทึกเสี ยงขณะบันทึก การเปลี่ยนพลังงานของเครื่ องบันทึกเสี ยงขณะเล่น

 เครื่องขยายเสียง

เครื่องขยายเสียง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยการใช้ไมโครโฟนเปลี่ยน


เสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วขยายสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จนทาให้ลาโพง
สั่นสะเทือนเป็นเสียง

เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอื่น ๆ หลายรูปได้พร้อมกัน


เช่น โทรทัศน์สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง และพลังงานเสียงในเวลาเดียวกัน
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....
แบบฝึกทักษะที่ 4

1. ให้นักเรียนเขียนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง, ความร้อน, พลังงานกลและ


พลังงานหลายรูปแบบมาอย่างละ 3 ชนิด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ให้นักเรียนบอกแนวทางการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าโดยเริ่มต้นจากตัวนักเรียนเองที่นักเรียน (วาดรูปหรือ
เขียนเป็นข้อๆได้) ห้ามเหมือนกัน
อิเล็กทรอนิกส์ ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ที่พบเห็นได้ในปัจจุบัน ล้วนประกอบขึ้นมาจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ


ทั้งสิ้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบกันขึ้นมานี้ จะประกอบกันขึ้นเป็นวงจรในรูปแบบต่างๆ กันตามความ
ต้องการใช้งานและคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละอุปกรณ์ ดังนั้น การทาความรู้จักและเข้าใจการทางานของ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ จึงถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกคนควรรู้และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
(http://www.neutron.rmutphysics.com/)
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
1 ตัวต้านทาน (Resistor, R)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า
สัญลักษณ์ในวงจรไฟฟ้า หน่วยที่ใช้คือ โอห์ม (Ω) ตัวต้านทานมีหลายชนิด

ตัวต้านทานชนิดคงที่ (Fixed resistor)

ตัวต้านทานชนิดคงที่ เป็นตัวต้าทานที่ไม่สามารถเปลี่ยนค่าได้ จะมีค่าเดียวในตัวนั้นมีลักษณะดังรูป ตัวต้าทาน


ชนิดนี้จะมีแทบสีเพื่อบ่งบอกค่าของความต้าทานซึ่งสามารถหาได้ดังตาราง

ตัวอย่าง
ตัวต้านทานมีรหัสแถบสี ส้ม แดง น้าตาล และทอง มีความต้านทานกี่โอห์ม

ตัวต้านทานดังรูปมีค่ากี่โอห์ม
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ตัวต้านทานชนิดเปลี่ยนแปรค่าได้ (Variable Resistor)


ตัวต้านทานชนิดเปลี่ยนแปรค่าได้ เป็นตัวต้านทานที่สามารถปรับเปลี่ยนความต้านทานได้ตลอดเวลาที่
ต้องการ ตั้งแต่ค่าความต้านทานต่าสุด ไปจนถึงความต้านทานสูงสุดของตัวมันเองได้อย่างต่อเนื่อง โดยการใช้
แกนหมุนหรือเลื่อนแกน (ที่มา:http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/note/content2.html)

ที่มา:
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/note/content2.html#c24
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

2 ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
ตัวเก็บประจุ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บประจุ (Charge) และสามารถคายประจุ (Discharge) ตัว
เก็บประจุเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคอนเดนเซอร์หรือเรียกย่อ ๆ ว่าตัวซี (C) หน่วยของตัวเก็บประจุคือ ฟารัด
(Farad) ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่ (Fixed Capacitor) คือตัวเก็บประจุที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้ โดยมี
รูปลักษณะเป็นวงกลม หรือเป็นทรงกระบอก ซึ่งสามารถแบ่งได้หลายชนิด
ชนิดอิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte Capacitor) เป็นที่นิยมใช้กันมากเพราะให้ค่าความจุสูง มีขั้วบวก
ลบ เวลาใช้งานต้องติดตั้งให้ถูกขั้ว โครงสร้างภายในคล้ายกับแบตเตอรี่ นิยมใช้กับงานความถี่ต่าหรือใช้สาหรับ
ไฟฟ้ากระแสตรง มีข้อเสียคือกระแสรั่วไหลและความผิดพลาดสูงมาก หน่วยเป็นฟารัด(Farad) เขียนแทนด้วย
อักษรภาษาอังกฤษตัวเอฟ (F) ตัวเก็บประจุที่มีความสามารถในการเก็บประจุได้ 1 ฟารัดหมายถึงเมื่อป้อนแรง
เคลื่อนจานวน 1 โวลท์ จ่ายกระแส 1 แอมแปร์ ในเวลา 1 นาที
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

3 ไดโอด (Diode)
ไดโอด เป็นอุปกรณ์ที่ทาจากสารกึ่งตัวนา p-n สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหลผ่าน
ตัวมันได้ทิศทางเดียว สารกึ่งตัวนามี 2 ชนิดคือ
1. ชนิด N (N-type) จะประกอบไปด้วยซิลิคอน หรือเจอร์เมเนียมเป็นหลัก ซึ่งถูกเติมด้วยสารหนู (As)
หรือพลวง (Sb) ในปริมาณเล็กน้อย เพื่อให้มันมีอิเล็กตรอนอิสระและจะเป็นประจุลบ
2. ชนิด P (P-type) จะประกอบไปด้วยซิลิคอน หรือเจอร์เมเนียมเป็นหลัก ซึ่งถูกเติมด้วย แกลเลียม
(Ga) หรืออินเดียม (In) เพื่อให้มันสามารถที่จะรับอิเล็กตรอนที่ขาดหายไปได้และจะมีประจุบวก

ไดโอดแปลงกระแสไฟ (ไดโอดธรรมดา) จะยอมให้กระแสไฟไหลผ่านตัวมันไปได้ เมื่อป้อนแรงดันจาก


ด้าน P ไปยังด้าน N (ป้อนแรงดันตาม) แต่มันจะไม่ยอมให้กระแสไฟไหลผ่านมันเมื่อป้อนแรงดันจากด้าน N ไป
ยังด้าน P (ป้อนแรงดันย้อนกลับ) ซึ่งจะเห็นได้ว่าไดโอดจะยอมให้กระแสไฟไหลได้เพียงทางเดียว
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

4 ทรานซิสเตอร์ (transistors)
ทรานซิสเตอร์มีอยู่ 2 แบบคือ แบบ PNP และ NPN ทรานซิสเตอร์แบบ PNP จะประกอบไปด้วยสาร
กึ่งตัวนาชนิด N และถูกประกอบด้วยสารกึ่งตัวนาชนิด P และทรานซิสเตอร์แบบ NPN จะประกอบไปด้วยสาร
กึ่งตัวนาชนิด P และถูกประกบด้วยสารกึ่งตัวนาชนิด N และสารกึ่งตัวนาที่นามาต่อกันเป็นทรานซิสเตอร์ก็จะมี
ขั้วต่อออกมา ทรานซิสเตอร์แบบพื้นฐานจะมีขา 3 ขา ได้แก่
1.ขา C หรือ Collector
2.ขา E หรือ Emitter
3.ขา B หรือ Base (ขาคอนโทรล)

หลักการทางานของทรานซิสเตอร์
หลักการทางานของ NPN Transistor เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยที่ขา B,
ทรานซิสเตอร์ก็จะอยู่ในสภาวะทางาน มันก็จะยอมให้กระแสไฟฟ้าที่มากกว่าหลายเท่า ไหลผ่านขา
C ไปยังขา E ได้, แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าที่ขา B เลย ,ทรานซิสเตอร์จะอยู่ใน
สภาวะCut-Off คือมันจะบล็อคไม่ให้กระไสไฟฟ้าไหลผ่านขา C ไป E ได้ (แบบ NPN ขา E ทา
หน้าที่เป็นกราวด์)
หลักการทางานของ PNP Transistor จะตรงข้ามกับแบบ NPN เลย คือ ขา C จะทา
หน้าที่เป็นกราวด์แทน ,เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยที่ขา B ,มันจะทาการบล็อคไม่ให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจากขา E ไป C ได้ แต่เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้าที่ขา B เลยหรือกระแสไฟฟ้าติด
ลบ มันก็จะยอมให้กระแสไฟฟ้าที่มากกว่าไหลผ่านจากขา E ไปขา C
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

4 ไอซี IC
ไอซี ย่อมาจาก Integrated Circuit หรืออาจเรียกว่า แผงวงจรรวม เป็นอุปกรณ์ที่นาเอาอุป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของวงจร
มาต่อรวมกันโดยการย่อส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว ให้มีขนาดเล็กลง แต่ยังมีคุณสมบัติและการทางาน
เหมือนเดิมใส่รวมไว้ด้วยกันในแผงวงจรขนาดเล็ก ๆ ซึ่งแผงวงจรขนาดเล็กนี้เราเรียกว่า ชิป (Ship)

ที่มา: https://sites.google.com/site/elecso25/menu/7
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....
การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์

การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาต่อในวงจรร่วมกันเพื่อใช้งานให้ตรง
กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
สัญลักษณ์ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

ตัวอย่างข้อสอบ
1. นายวินเช่าห้องพักอาศัยที่อยู่ห้องห้องหนึ่งตลอดทั้งเดือนสิงหาคม เจ้าของห้องเช่าคิดค่าไฟฟ้าหน่วยละ 8
บาท นายวินใช้พลังงานไฟฟ้าดังนี้ (O-net, 59)
ก. หลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ 2 หลอด วันละ 5 ชั่วโมง
ข. โทรทัศน์ที่มีกาลังไฟฟ้า 500 วัตต์ วันละ 2 ชั่วโมง
นายวินเสียค่าไฟฟ้าเดือสิงหาคมกี่บาท
1.62.0 บาท 2. 297.6 บาท 3. 480.0 บาท 4. 496.0 บาท
2. ต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบไปด้วยแบตเตอรี่ แอมมิเตอร์ และหลอดไฟฟ้าดังภาพ (O-net, 60)

เมื่อใช้แบตเตอรี่ที่มีความต่างศักย์ 6 โวลต์ พบว่าวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรได้ 4 แอมแปร์


ถ้าแบตเตอรี่เป็น 3 โวลต์ กระแสไฟฟ้าผ่านวงจรจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างไร
1.ลดลง 2.0 แอมแปร์ 2. ลดลง 3.0 แอมแปร์
3. เพิ่มขึ้น 0.5 แอมแปร์ 4. เพิ่มขึ้น 4.0 แอมแปร์

3.บ้านหลังหนึ่ง เปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านดังนี้ O-net, 60)


1) เปลี่ยนหลอดไฟฟ้าแบบไส้ กาลังไฟฟ้า 60 วัตต์ เป็นหลอดแอลอีดี 10 วัตต์ โดยเปลี่ยนทั้งหมด
20 หลอด
2) เปลี่ยนเตารีดกาลังไฟฟ้า 800 วัตต์ เป็นกาลังไฟฟ้า 1000 วัตต์ จานวน 1 เครื่อง
กาหนดให้ บ้านหลังนี้ใช้งานหลอดไฟฟ้า หลอดละ 100 ชั่วโมงต่อเดือน และใช้งานเตารีด 10 ชั่วโมงต่อเดือน
เมื่อเวลาผ่านไป 1 เดือนหลังเปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้า บ้านหลังนี้จะใช้พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปจาก
เดิมอย่างไร
1.น้อยลง 98 กิโลวัตต์ชั่วโมง 2. น้อยลง 158 กิโลวัตต์ชั่วโมง
3. มากขึ้น 98 กิโลวัตต์ชั่วโมง 4. มากขึ้น 158 กิโลวัตต์ชั่วโมง
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

4. ต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานคงตัว


และแอมมิเตอร์ ดังภาพ (O-net, 61)
A

ทดลองปรับความต่างศักย์หม้อแปลงให้มีค่าแตกต่างกันพร้อมทั้งอ่านค่ากระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์ แล้วนา
ข้อมูลที่ได้ไปเขียนกราฟ ดังนี้

จากการทดลอง ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ข้อความ ใช่หรือไม่ใช่
1. ความต้านทานของวงจรมีค่าประมาณ 2 โอห์ม ใช่/ไม่ใช่
2. ถ้าปรับความต่างศักย์ไปที่ 5.0 โวลต์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรจะมี ใช่/ไม่ใช่
ค่าประมาณ 10.0 มิลลิแอมแปร์
3. การทดลองข้างต้น ต้องการศึกษาปัญหาต่อไปนี้ ใช่/ไม่ใช่
“เมื่อความต้านทานของวงจรเพิ่มขึ้นกระแสไฟฟ้าจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร”
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

5. โทนี่จะใช้หลอดไฟฟ้าหลอดฟนึ่ง ซึ่งจะทางานได้เมื่อความต่างศักย์ระหว่างขั้วหลอด 1.5 โวลต์ และมี


กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.3 แอมแปร์เท่านั้น
โทนี่พบปัญหาว่า เขามีแบตเตอรี่ 6.0 โวลต์ ที่ปรับความต่างศักย์ไม่ได้ เขาจึงต่อตัวต้านทานกับหลอดไฟฟ้านั้น
แบบอนุกรม ดังแผนภาพ ซึ่งทาให้หลอดไฟฟ้าดังกล่าวทางานได้
กาหนดให้ แบตเตอรี่และสายไฟมีความต้านทานภายในน้อยมาก จึงไม่ต้องนามาพิจารณา (O-net, 62)

ความต้านทานของหลอดไฟฟ้าเป็นเท่าใด และเหตุใดโทนี่จึงต้องต่อตัวต้านทานเข้ากับหลอดไฟฟ้า
1.0.45 โอห์ม และเพื่อลดกระแสไฟฟ้าในวงจร
2. 0.45 โอห์ม และเพื่อลดความต่างศักย์ระหว่างขั้วของแบตเตอรี่
3. 5.0 โอห์ม และเพื่อลดกระแสไฟฟ้าในวงจร
4. 5.0 โอห์ม และเพื่อลดคามต่างศักย์ระหว่างขั้วของแบตเตอรี่

6. ผลการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า 10 โวลต์และกระแสไฟฟ้า 2 แอมแปร์ ที่ไหล


ผ่านขดลวดทองแดงถ้าอัตราส่วนของความยาวต่อพื้นที่หน้าตัดมีค่า 2.5 x 102 m-1 สภาพต้านทานของ
ลวดทองแดงนี้เป็นเท่าใด (ข้อสอบเสริมปัญญา 2558)
1.2.5 x 102 โอห์ม- เมตร 2. 2 x102 โอห์ม- เมตร
3. 2.5 x 10-2 โอห์ม- เมตร 4. 2 x 10-2 โอห์ม- เมตร

7. ลวดในห้องปฏิบัติการทาด้วยโลหะ ที่วัดสภาพต้านทานได้ 3 x 10-7 โอห์ม- เมตร และมีพื้นที่หน้าตัด 0.03


ตารางเซนติเมตร ยาว 2 เมตร ซึ่งวัดกระแสไฟฟ้าได้ 30 มิลลิแอมแปร์ ความต่างศักย์ ระหว่างปลายข้างทั้งสอง
เป็นเท่าใด (เสริมปัญญา 2558)
1.6 x 10-3 โวลต์ 2. 5 x 10-3 โวลต์
3. 3 x 10-3 โวลต์ 4. 2 x 10-3 โวลต์

8. เส้นลวดทองแดงที่มีพื้นที่หน้าตัดเป็นวงกลมถ้าความยาว เพิ่มขึ้น 2 เท่า และรัศมีของลวดลดลง 0.5 เท่า


ความต้านทานของลวดเป็นเท่าใด (เสริมปัญญา 2558)

1.2 เท่ากับความต้านทานเดิม 2. 4 เท่ากับความต้านทานเดิม


3. 6 เท่ากับความต้านทานเดิม 4. 8 เท่ากับความต้านทานเดิม
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

9. ข้อใดถูกต้อง (เสริมปัญญา 2558)


1.มอเตอร์ เป็นการเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า ต้องอาศัยการหมุนช่วยในการทางาน
2. ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านน้อย จะทาให้มอเตอร์ทางานได้อย่างพอเหมาะและประหยัด
พลังงานไฟฟ้า
3. ปัจจัยที่ส่งผลให้มอเตอร์หมุนได้เร็วคือ จานวนขดลวด ความเข้มของสนามแม่เหล็ก
4. มอเตอร์มีสามประเภทคือมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง และมอเตอร์ไดนาโม

10. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีความหมายที่ถูกต้องเป็นอย่างไร (เสริมปัญญา 2558)


1.วงจรอิเล็กทรอนิกส์เป็นวงจรที่ประกอบด้วยสัญญารอนาล๊อก และสัญญาณดิจิตอล
2. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ค่าของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไหลได้คงที่
3. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเลือกระบบได้สองระบบคือ สัญญาณอนาล๊อกและสัญญาณดิจิตอล
ตามกระแสไฟฟ้า
4. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร โดยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
ทาหน้าที่ควบคุม

11. ไดนาโมใช้หลักการอย่างไรในการผลิตกระแสไฟฟ้า (เสริมปัญญา 2558)


1.เกิดจากขดลวดทองแดงพันรอบท่างแม่เหล็กทาให้เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. พันขดลวดทองแดงเพื่อให้สามารถหมุนตัดกับสนามแม่เหล็กเกิดการเหนี่ยวนาสามารถทาให้เกิด
กระแสไฟฟ้าได้
3. มีแรงจากขดลวดกระทาต่อสนามแม่เหล็ก จึงทาให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาได้
4. ไฟฟ้าเกิดจากขดลวดและสนามแม่เหล็กไฟฟ้ามีแรงต้านต่อกัน ซึ่งสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้

12. นาถ่านไฟฉายที่ความต่างศักย์ 1.5 โวลต์ มาต่อกับหลอดไฟ ซึ่งมีความต้านทาน 5 โอห์ม จงหาว่า


กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้ามีกี่มิลลิแอมแปร์ (ร.ร. เตรียมทหาร)
1. 0.3 2. 30 3. 300 4. 4.5

13. จากรูปจงหาว่าความต้านทานระหว่างจุด C และจุด B มีค่ากี่โอห์ม (ร.ร. เตรียมทหาร)

A
2Ω 3Ω 4Ω
B


C D
2Ω 3Ω 4Ω

1.7 2. 9 3. 11 4. 13 5. 15
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

14. จากรูป ถ้ามีกระแส 0.5 แอมแปร์ผ่านความต้านทาน 4 โอห์ม ความต่างศักย์ระหว่าจุด C และจุด D มีค่ากี่


โวลต์
10Ω

6Ω 1. 4
15Ω 2. 6
3. 8
A C D B
4Ω 4. 18
18Ω
5. 20

15. พิจารณาการใช้ไฟฟ้าต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม (O net, 58)


ก. พัดลมขนาด 50 วัตต์ 2 เครื่องเปิดเดือนละ 30 วัน วันละ 3 ชั่วโมง
ข. โทรทัศน์ขนาด 200 วัตต์ เปิดเดือนละ 20 วัน วันละ 20 ชั่วโมง
ค. เตารีดขนาด 1000 วัตต์ รีดผ้าเดือนละ 4 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง
เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดใดเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากที่สุด และชนิดใดเปลืองพลังงานไฟฟ้าน้อยที่สุด
1.เตารีด พัดลม 2. เตารีด โทรทัศน์
3. โทรทัศน์ พัดลม 4. พัดลม เตารีด
16. พิจารณาลวดที่ทาด้วยโลหะชนิดเดียวกันทั้ง 3 เส้นแล้วตอบคาถาม
1. ลวดเส้นที่ 1 มีความต้าทานมากกว่าลวดเส้นที่ 2
2. ลวดเส้นที่ 1 มีความต้าทานน้อยกว่าลวดเส้นที่ 2
3. ลวดเส้นที่ 2 มีความต้าทานมากกว่าลวดเส้นที่ 3
4. ลวดเส้นที่ 2 มีความต้าทานน้อยกว่าลวดเส้นที่ 3

17. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับการใชพลังงานไฟฟาไดถูกตอง (TEDET, 2558)


1. ถาไฟฟาลัดวงจร ความตานทานทั้งหมด จะนอยลง
2. ฟวสจะตองทาจากสารที่มีจุดหลอมเหลวสูง
3. เครื่องซักผาจะใชไดหลังจากตอสายดินผาน ทอแกส เปนตน
4. หลอดไฟเรืองแสงหรือหลอดไฟชนิดมีไสจะมีพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพมากกวาหลอด LED
5. เมื่อเลือกใชสินคาประเภทพลังงานที่มีประสิทธิภาพ ําจะสามารถประหยั
ต่ ดไฟฟาได
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

18. ภาพแสดงวงจรไฟฟาที่เชื่อมตอโพเทนชิโอมิเตอร โวลตมิเตอร แอมมิเตอรกับถานไฟฉาย และกราฟ แสดง


กระแสไฟฟา I ที่ไหลผานแอมมิเตอร ณ ความตานทาน R ตาง ๆ ของโพเทนชิโอมิเตอร์ (TEDET, 2559)

ก. แรงเคลื่อนไฟฟ้าของถ่านไฟฉาย คือ 1.5 V


ข. ความต้านทานภายในของถ่านไฟฉาย คือ 0.5 W
3
ค. เมื่อ R = 1 W ค่าที่อ่านได้จากของโวลต์มิเตอร์ คือ V
4

จากคาอธิบายที่กาหนดให ขอใดอธิบายไดถูกตอง
1. ก 2. ค 3. ก, ข 4. ข, ค 5. ก, ข,

19. มีวงจรไฟฟาที่เชื่อมตอดวงไฟ 3 ดวง กับถานไฟฉาย แบบอนุกรมดังตอไปนี้ เมื่อใชลวดตัวนามาตอระหวาง


จุด P และ Q บนวงจรไฟฟาดังภาพตอไปนี้ (TEDET, 2559)

จากตัวเลือก ขอใดบางที่เปนการเปลี่ยนแปลงที่ไมถูกตอง
1.ความตางศักยไฟฟาระหวาง P และ Q เปน 0
2. ความสวางของดวงไฟ C ไมเปลี่ยนแปลง
3. ความสวางของดวงไฟ A สวางขึ้น
4. กระแสไฟฟาที่ไหลผานวงจรไฟฟาเพิ่มขึ้น
5. ความตางศักยไฟฟาที่ปลายทั้งสองขางของ ดวงไฟ B ไมเปลี่ยนแปลง
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

20. กราฟความสัมพันธของความตางศักยไฟฟากับกระแสไฟฟาที่ใชกับลวดนิโครม a และ b


ขอใดอธิบายไดถูกตอง (TEDET, 2559)

1.ความชันของกราฟนี้คือความตานทาน
2. ความตานทานของ a คือ 0.02 W
3. เมื่อความตางศักยไฟฟาเทากัน กระแสไฟฟาจะไหลผานลวดนิโครม a มากกวา b
4. อัตราสวนของความตานทานของ a : b คือ 1 : 2
5. ถาความยาวของลวดนิโครม a และ b เทากันพื้นที่หนาตัดของลวดนิโครม b จะใหญกวา

21. จากขั้นตอนการทดลองเพื่อทราบเกี่ยวกับสาเหตุที่ความตานทานไฟฟาเปลี่ยนแปลง (TEDET, 2559)

(ก) เชื่อมตอวงจรไฟฟาดวยไสดินสอดังภาพ
(ข) ทาใหจานวนของแบตเตอรี่แหงคงที่และเปลี่ยนแปลง ความยาวของไสดินสอเพิ่มเปน
2 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร และ 6 เซนติเมตร แลววัดความตางศักย ไฟฟากับกระแสไฟฟา
(ค) ทาใหจานวนของแบตเตอรี่แหงและความยาวของ ไสดินสอคงที่ และวางซอนไสดินสอ 1 ไส 2 ไส
3 ไส และ 4 ไส แลววัดความตางศักยไฟฟากับกระแส ไฟฟา
ขอใดวิเคราะหผลเกี่ยวกับการทดลองนี้ไดถูกตอง
1. (ข) คือ การทาความตางศักยไฟฟาใหคงที่ และ(ค) คือ การทาความตานทานใหคงที่
2. ผลลัพธของ (ข) ความยาวของไสดินสอยิ่งยาวกระแสไฟฟายิ่งเพิ่มขึ้น
3. ผลลัพธของ (ค) จานวนของไสดินสอยิ่งมากกระแสไฟฟายิ่งเพิ่มขึ้น
4. ขั้นตอน (ข) คือ การเชื่อมตอแบบขนานของความตานทานและ (ค) คือ การเชื่อมตอแบบอนุกรม
5. สามารถทราบไดวาความยาวของไสดินสอยิ่งยาวพื้นที่หนาตัดยิ่งมาก ความตานทานยิ่งเพิ่มขึ้น
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

22. จากภาพเปนวิธีการทาใหดวงไฟ R1 สวางขึ้นกวาเดิม (TEDET, 2559)

ก. นาหลอดไฟ R1 ออกไป
ข. นาหลอดไฟ R3 ออกไป
ค. นาหลอดไฟ R2, R3 ออกไป
ง. เพิ่มหลอดไฟที่จุด a 1 ดวง และนาหลอด R3 ออก
จ. เพิ่มหลอดไฟที่จุด b 1 ดวง และนาหลอด R2 ออก
ฉ. เพิ่มหลอดไฟที่จุด c 1 ดวง โวลต์
จากคาอธิบายที่กาหนดให ขอใดถูกตองทั้งหมด
1. ก, ข, ค 2. ก, ค, ง 3. ก, ค, จ 4. ข, ง, ฉ 5. ค, จ, ฉ

23. ความตานทาน R1 (20 W), R2 (30 W) และ R3 (40 W) ทาใหกระแสไฟฟาไหลผานในวงจรไฟฟาที่


เชื่อมต่อกันดังภาพ (TEDET, 2559)

จากตัวเลือก ขอใดบางที่ไม่ถูกตอง
1. กระแสไฟฟาที่ไหลผานแตละความตานทานคือ I1 : I2 : I3 = 6 : 4 : 3
2. ความตางศักยไฟฟาระหวางปลายตัวตานทาน คือ V1 : V2 : V3 = 6 : 3 : 4
3. อัตราสวนของปริมาณความรอนที่เกิดขึ้นในแตละตัวตานทานคือ Q1 : Q2 : Q3 = 6 : 4 : 3
4. ถาความตางศักยไฟฟาระหวางปลายของตัวตานทาน ทั้งหมดของวงจรไฟฟาเปน 2 เทาปริมาณ
ความรอนที่ความตานทาน R1 ก็จะเปน 2 เทา
5. จากความตางศักยไฟฟาระหวางปลายของตัวตานทานทั้งหมดของวงจรไฟฟา ถาปริมาณความรอน
ที่เกิดที่ R1 เปน 2 เทา ปริมาณความรอนที่เกิด ที่ R2 จะเปน 2 เทาดวย
ชื่อ-สกุล........................................................................ม.3/…..เลขที.่ .....

24. จากการทดลองเพื่อตองการทราบปริมาณความรอน เมื่อใสลวดนิโครมลงในถวยสไตโรโฟมที่มีน้าบรรจุ


อยู่ภายใน 100 กรัม และมีกระแสไฟฟาไหลผาน จากนั้นวัดกระแสไฟฟาและการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิใน
ขณะทีค่ วามตานทานและความตางศักย ไฟฟาที่เปลี่ยนไปในระยะเวลา 5 นาที ไดผลลัพธดังตาราง (TEDET,
2559)

ขอใดวิเคราะหผลการทดลองนี้ไดถูกตอง
1. ความตานทานยิ่งมาก ระดับความรอนยิ่งเพิ่มขึ้น
2. ความตางศักยไฟฟายิ่งมาก ระดับความร้อนยิ่งลดลง
3. กระแสไฟฟายิ่งมาก ระดับความรอนยิ่งลดลง
4. ความตางศักยไฟฟาและกระแสไฟฟายิ่งมาก
ระดับความรอนยิ่งเพิ่มขึ้น
5. กระแสไฟฟาและความตานทานยิ่งมาก ระดับ
ความรอนยิ่งลดลง

25. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R1 มีค่าเป็นกี่แอมแปร์

I=3A

6V
R1 = 4 R2

1. 0.5 แอมแปร์ 2. 1 แอมแปร์ 3. 1.5 แอมแปร์


4. 2 แอมแปร์ 5. 2.5 แอมแปร์

You might also like