You are on page 1of 45

The Essence School

Electricity
Physics Essentials 4

M.3
The Essence School
Physics M.3 2

ประจุไฟฟ้า (Electrical Charge)

สสารประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เรียกว่า ____________________ ซึ่งประกอบขึ้นมาจาก


อนุภาคพื้นฐานของอะตอมสามชนิด ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
โปรตอน (proton) ________________________________________________
นิวตรอน (neutron) _______________________________________________
อิเล็กตรอน (electron) _____________________________________________

อนุภาค สัญลักษณ์ มวล (kg) ประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์)


โปรตอน p 1.672×10-27 1.602×10-19
นิวตรอน n 1.674×10-27 0
อิเล็กตรอน e 1.672×10-31 1.602×10-19
The Essence School
Physics M.3 3

อะตอมโดยทั่วไปจะมีจำนวนอิเล็กตรอน ______________ จำนวนโปรตอน ทำให้มีลักษณะ


___________________________________________________________________
อิเล็กตรอนสามารถถ่ายโอนระหว่างอะตอมได้ ทำให้เกิดประจุขึ้น ดังนี้
ถ้า จำนวนอิเล็กตรอน มากกว่า จำนวนโปรตอน ________________________
ถ้า จำนวนอิเล็กตรอน น้อยกว่า จำนวนโปรตอน ________________________
ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในวัตถุเกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอน ดังนั้น ประจุไฟฟ้าจึงมีค่าเป็นจำนวน
เต็มเท่าของประจุอิเล็กตรอน

วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า จะมีแรงดูดกระทำต่อวัตถุที่ไม่มีประจุ ส่วนวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าทั้งคู่ จะมี แรง


กระทำต่อกัน เรียกว่า ____________________________________________________
ถ้า ประจุชนิดเดียวกัน _________________________________________
ถ้า ประจุต่างชนิดกัน __________________________________________

การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า
เราสามารถจำแนกชนิดของวัสดุ โดยการพิจารณาความสามารถในการนำไฟฟ้าของวัสดุดังนี้
• ตัวนำไฟฟ้า (electrical conductor) _____________________________________
_____________________________________________________________
• ฉนวนไฟฟ้า (electrical insulator) ______________________________________
_____________________________________________________________
หากต้องการทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้าได้ด้วยหลายวิธี เช่น การขัดถู การสัมผัส การเหนี่ยวนำ
The Essence School
Physics M.3 4

การขัดถู
เมื่อเราขัดถูวัตถุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า จะทำให้เกิดการถ่ายเทอิเล็กตรอนระหว่างวัตถุ

วัตถุแต่ละชนิดจะสูญเสียอิเล็กตรอนได้ไม่เท่ากัน ตัวอย่างแสดงดังตาราง

ลำดับการสูญเสียอิเล็กตรอน วัสดุ
1 แก้ว
2 เส้นผม
3 แผ่นเปอร์สเปกซ์
4 ไนลอน
5 ผ้าสักหลาด
6 ผ้าไหม
7 ผ้าฝ้าย
8 อำพัน
9 พีวีซี
10 เทฟลอน

เราตรวจสอบวัตถุว่ามีประจุไฟฟ้าในวัตถุหรือไม่ ได้จากการใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า ___________


The Essence School
Physics M.3 5

ตัวอย่าง
1. เพราะเหตุใดเมื่อนำแท่งแก้วไปถูผ้าสักหลาด แท่งแก้วจึงมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก
a) เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผ้าสักหลาดฝ่ายเดียว
b) เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากผ้าสักหลาด
c) เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากสิ่งแวดล้อม
d) เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผ้าสักหลาดมากกว่าที่รับมา

2. กำหนดให้ผ้าไหมจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าแท่งพีวีชี เมื่อนำแท่งวีซีไปถูผ้าไหมแล้วดึงแท่งพี่วีซี
ออกจากผ้าไหม แท่งพีวีซีจะมีประจุไฟฟ้าสะสมเป็นบวกหรือลบ
a) เป็นลบ เพราะแท่งพีวีซีจะรับอิเล็กตรอนจากผ้าไหมมากกว่าที่จ่ายไป
b) เป็นลบ เพราะแท่งพีวีซีจะรับอิเล็กตรอนมาจากสิ่งแวดล้อม
c) เป็นบวก เพราะแท่งพีวีซีจะจ่ายอิเล็กตรอนแก่ผ้าไหมมากกว่ารับมา
d) เป็นบวก เพราะแท่งพีวีซีจะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่สิ่งแวดล้อม

3. แท่งแก้วสูญเสียอิเล็กตรอน 104 อิเล็กตรอน แท่งแก้วมีประจุเป็นเท่าใด

4. ไนลอนรับอิเล็กตรอน 3x106 อิเล็กตรอน ไนลอนมีประจุเป็นเท่าใด

5. ถูแท่งพีวีซีกับผ้าไหม ปรากฏว่าแท่งพีวีซีได้รับอิเล็กตรอน 2x105 อิเล็กตรอน ประจุบนพีวีซีกับ


ผ้าไหมเป็นอย่างไร
The Essence School
Physics M.3 6

6. When rubbed with a dry cloth, perspex becomes positively charged. Polythene and
ebonite become negatively charged. State whether or not attraction or repulsion
takes place when:
a) a charged perspex rod is held near a charged polythene rod
b) a charged perspex rod is held near a charged ebonite rod
c) a charged polythene rod is held near a charged ebonite rod

7. After two rods X and Y made of different insulating materials are charged, they
are found to repel each other. What does this tell you about the charge on the two
rods?

8. Given a rod R that is known to charge positively, how would you determine the type
of charge on X and on Y?
The Essence School
Physics M.3 7

วงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้า (electric circuits) คือ เส้นทางที่กระแสฟ้าไหลผ่านได้ครบรอบ ประกอบด้วยส่วน
ที่สำคัญ 3 ส่วน คือ
1. แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่
2. ตัวนำไฟฟ้า คือ สายไฟฟ้าหรือสื่อที่ให้กระแสฟ้าไหลผ่านไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า คือ เครื่องใช้ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็นพลังงานรูปอื่น เรียกอีก
อย่างหนึ่งว่า โหลด (load)
The Essence School
Physics M.3 8

ตัวอย่าง
9. จงวาดสัญลักษณ์ในวงจรไฟฟ้าของอุปกรณ์ต่อไปนี้
1. แบตเตอรี่ 2. สวิตช์

3. ความต้านทาน 4. แอมมิเตอร์

5. โวลต์มิเตอร์ 6. หลอดไฟฟ้า

10. Draw the circuit diagram to represent the circuit shown in the figure.
a)

b)

c)
The Essence School
Physics M.3 9

d)

e)

f)
The Essence School
Physics M.3 10

กระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า (electric current; I) คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุที่เคลื่อนที ่ใน
วงจรต่าง ๆ คือ อิเล็กตรอน เรียกกระแสที่เกิดจากการไหลของอิเล็กตรอนว่า _________________
แต่ เ ราสามารถพิ จ ารณาการไหลของประจุ บ วกได้ เ ช่ น กั น (แต่ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ ้ น จริ ง ) เรี ย กว่ า
_____________________

กระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็น ___________________________ โดยขนาดของกระแสไฟฟ้า


ขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผ่านบริเวณนั้น ๆ

อุปกรณ์ที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าเรียกว่า ________________________________

A
The Essence School
Physics M.3 11

สำหรับกระแสไฟฟ้าที่ใช้งานกับอุปกรณ์ต่าง ๆ แบ่งตามลักษณะของกระแสได้ 2 ประเภท ดังนี้


1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current; DC) ________________________________
___________________________________________________________
2. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current; AC) ____________________________
___________________________________________________________

ตัวอย่าง
11. ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ประกอบด้วยถ่านไฟฉาย และหลอดไฟขนาดเล็ก เมื่อวัดกระแสไฟฟ้าที่
ไหลผ่านหลอดไฟขนาดเล็กในเวลา 5.0 วินาที พบว่ากระแสไฟฟ้ามีค่า 4 แอมแปร์ มีประจุ
ไฟฟ้าผ่านหลอดไฟกี่คูลอมบ์

12. A charge of 8.0 C passes through a lamp in 4.0 seconds. Calculate the current
through the lamp.
The Essence School
Physics M.3 12

13. a current of 0.25 A passes through the lamp. Calculate the charge that passes
through the lamp in 60 seconds.

14. What is the current in a circuit if the charge passing each point is
a) 10 C in 2 s
b) 20 C in 40 s
c) 240 C in 2 minutes

15. If the current in a floodlamp is 5 A, what charge passes in


a) 1 s
b) 10 s
c) 5 minutes

16. What charge is delivered if


a) a current of 10 A flows for 5 seconds
b) a current of 250 mA flows for 40 seconds
The Essence School
Physics M.3 13

การใช้งานแอมมิเตอร์
แอมมิเตอร์ (ammeter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัด_________________________________
โดยต้องเลือกการใช้งานให้เหมาะสม แอมมิเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่
1. ชนิดแสดงผลด้วยเข็ม (analog ammeter)
2. ชนิดแสดงผลด้วยตัวเลข (digital ammeter)

analog ammeter digital ammeter

หลักการใช้งาน
แอมมิเตอร์จะมีสายวัด 2 เส้น คือ สายบวก (สีแดง) สายลบ (สีดำ) เมื่อใช้งานมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกบริเวณที่จะวัด และสังเกตทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. เลือกช่วงการวัดที่สูงที่สุด จากนั้นนำแอมมิเตอร์ต่อแทรกเข้าไปในวงจรใน
บริเวณที่ต้องการวัด โดยให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าที่ขั้วบวกของแอมมิเตอร์
ถ้าต่อผิดจะทำให้แสดงค่าเป็นลบ (เข็มตีกลับ) และอาจทำให้แอมมิเตอร์
เสียหายได้ การใช้งานแอมมิเตอร์
3. ปรับช่วงการวัดจนสามารถอ่านค่าได้เหมาะสมที่สุด
The Essence School
Physics M.3 14

ตัวอย่าง
17. จงอ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้จากแอมมิเตอร์ ในรูปที่กำหนดให้

5A

500 mA

100 mA

10 A

2 mA
The Essence School
Physics M.3 15

ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (electric current; V) คือ ค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2
จุดในวงจรไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้า ________________ และจะหยุดไหล
เมื่อศักย์ไฟฟ้าทั้งสองจุดเท่ากัน
ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยคือ _________________________________________
ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีขนาดเท่ากับอัตราส่วนระหว่างพลังงานที่ ส่งผ่านไปยังโหลด ต่อประจุที่
เคลื่อนที่ผ่านโหลดนั้น

แรงเคลื่ อ นไฟฟ้ า (electromotive force; E) คื อ พลั ง งานไฟฟ้ าที่ ทำให้ป ระจุห นึ ่ งหน่วย
สามารถเคลื่อนที่ได้ครบวงจร ซึ่งแรงเคลื่อนไฟฟ้าหาได้จากผลรวมของความต่างศักย์ภายนอก และความ
ต่างศักย์ภายใน

Vนอก

Vใน
The Essence School
Physics M.3 16

อุปกรณ์ที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าเรียกว่า ____________________________________

ตัวอย่าง
18. ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ประกอบด้วยถ่านไฟฉาย และหลอดไฟขนาดเล็ก เมื่อวัดความต่างศักย์
ระหว่างขั้วของหลอดไฟได้เท่ากับ 1.2 โวลต์ ถ้ามีประจุ เคลื่อนผ่านหลอดไฟ 0.6 คูลอมบ์
พลังงานที่สะสมในหลอดไฟมีค่ากี่จูล

19. The energy transferred to a lamp is 24.0 J when 8.0 C of charge passes through
it. Calculate the potential difference across the lamp.
The Essence School
Physics M.3 17

20. Voltage across the lamp is 12 V. How many joules of electrical energy are changed
into light and heat when
a) a charge of 1 C passes through it
b) a charge of 5 C passes through it
c) a current of 2 A flows in it for 10 s

การใช้งานโวลต์มิเตอร์
โวลต์มิเตอร์ (voltmeter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัด________________________________
โดยต้องเลือกการใช้งานให้เหมาะสม โวลต์มิเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่
1. ชนิดแสดงผลด้วยเข็ม (analog voltmeter)
2. ชนิดแสดงผลด้วยตัวเลข (digital voltmeter)

analog voltmeter digital voltmeter


The Essence School
Physics M.3 18

หลักการใช้งาน
โวลต์มิเตอร์จะมีสายวัด 2 เส้น คือ สายบวก (สีแดง) สายลบ (สีดำ) เมื่อใช้งานมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกบริเวณที่จะวัด และสังเกตทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. เลือกช่วงการวัดที่สูงที่สุด จากนั้ นนำโวลต์มิเตอร์ต่อ ขนานกับวงจรใน
บริเวณที่ต้องการวัด โดยให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าที่ขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์
ถ้าต่อผิดจะทำให้แสดงค่าเป็นลบ (เข็มตีกลับ) และอาจทำให้โวลต์มิเตอร์
เสียหายได้ การใช้งานโวลต์มิเตอร์
3. ปรับช่วงการวัดจนสามารถอ่านค่าได้เหมาะสมที่สุด

ตัวอย่าง
21. จงอ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้จากโวลต์มิเตอร์ ในรูปที่กำหนดให้

5V

15 V
The Essence School
Physics M.3 19

30 V

10 V

300 V

ความต้านทาน
ความต้านทาน (resistance; R) คือ สมบัติของวัสดุที่ต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า
ถ้าความต้านทานน้อย กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้ __________
ถ้าความต้านทานมาก กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้ __________
ความต้านทาน มีหน่วยเป็น __________________ อุปกรณ์ที่วัดความต้านทาน เรียกว่า
___________________
อุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับวงจรแล้วทำให้เกิดความต้านทาน เรียกว่า __________________
มีสัญลักษณ์คือ
The Essence School
Physics M.3 20

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้านทานไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้าของวัสดุแต่ละชนิดแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
1. ชนิดตัวนำ
2. รูปร่าง/ขนาดของตัวนำ
3. อุณหภูมิ

ชนิดตัวนำ
ประเภทของสสาร สภาพการนำไฟฟ้าของสสาร
ฉนวนไฟฟ้า (Insulator) สารที่มีความต้านทานไฟฟ้าสูง ไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่าน เช่น ไม้แห้ง พลาสติก ยาง แก้ว
ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistance) สารที่มีความต้านทานไฟฟ้ามาก ยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านได้น้อย
สารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) สารที่มีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างตัวต้านทานไฟฟ้าและ
ตัวนำไฟฟ้า
ตัวนำไฟฟ้า (Conductor) สารที ่ ย อมให้ ก ระแสไฟฟ้ า ไหลผ่า นได้ง ่ าย เช่ น เงิน
ทองแดง ทอง อะลูมิเนียม
ตัวนำยิ่งยวด (Superconductor) สารที ่ ไ ม่ ม ี ค วามต้ า นทานไฟฟ้ า อยู ่ เ ลย จึ ง ทำให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี นำไฟฟ้าได้ดีมาก เช่น ปรอท
ที่อุณหภูมิต่ำมาก ๆ

รูปร่าง/ขนาดของตัวนำ
เมื่อความยาวของตัวนำมากขึ้นความต้านทานไฟฟ้าจะมากขึ้น แต่ถ้าพื้นที่หน้าตัดของตัวนำ
เพิ่มขึ้น ความต้านทานไฟฟ้าจะลดลง สรุปได้วา่
The Essence School
Physics M.3 21

อุณหภูมิของตัวนำ
ถ้าลวดตัวนำทำด้วยโลหะบริสุทธิ์ หรือโลหะผสม เมื่อลวดตัวนำนั้นมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความ
ต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนำจะ ____________________________ เช่น เงินและทองแดง
ถ้าลวดตัวนำเป็น สารกึ่งตัวนำ เมื่อมีอุณหภูมิ ของลวดตัวนำสูงขึ้น ความต้านทานไฟฟ้าจะ
____________________________ เช่น ซิลิคอน คาร์บอน โบรอน

ตัวนำยวดยิ่ง (superconductor)
ธาตุ หรือ สารประกอบที่นำไฟฟ้าได้โดยไม่มี
ความต้านทาน ภายใต้อุณหภูมิค่าหนึ่ง ที่
เรียกว่า อุณหภูมิวิกฤต

ตัวอย่าง
22. ข้อใดต่อไปนี้เรียงลำดับความสามารถในการนำไฟฟ้าจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง
a) เงิน ทอง ไม้ ซิลิคอน
b) ไม้ เงิน ซิลิคอน ทอง
c) เงิน ซิลิคอน ทอง ไม้
d) เงิน ทอง ซิลิคอน ไม้

23. สารในข้อใดมีสมบัติทางไฟฟ้าเหมือนกันทั้งหมด
a) พลาสติก ยาง ทองคำ
b) กล่องไม้ แก้ว พลาสติก
c) ดีบุก สังกะสี เซรามิค
d) ไส้ดินสอ เพชร ถ่านไม้
The Essence School
Physics M.3 22

24. จงอธิบายการเปลี่ยนแปลงของความต้านทานที่เกิดขึ้นกับวัสดุต่อไปนี้
a) สายไฟที่ทำจากทองแดงเส้นหนึ่งถูกวางไว้ข้างเตาไฟ

b) แท่งอะลูมิเนียมถูกกลึงเนื้อออก จนหน้าตัดเล็กลงแต่ยังมีความยาวเท่าเดิม

c) แท่งคาร์บอนที่ถูกเผาไฟ

กฎของโอห์ม
จากการทดลองพบว่า เมื่ออุณหภูมิของตัวนำคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลาย
ทั้งสองของตัวนำต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าในตัวนำจะคงที่ และเท่ากับความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำ
นั้น เรียกว่า กฎของโอห์ม (Ohm’s Law) เขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้

V (V)

Slope=

I (A)
The Essence School
Physics M.3 23

ตัวนำที่มีกราฟระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) กับกระแสไฟฟ้า (I) เป็นเส้นตรง เรียกว่า


___________________________________________________________________

ตัวอย่าง
25. กระแสไฟฟ้าขนาด 2 แอมแปร์ ไหลผ่านจุด a ไปยังจุด b ผ่านตัวต้านทาน ขนาด 100 โอห์ม
จงหาว่าจุด a และจุด b จุดใดมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่ากัน และความต่างศักย์ระหว่างจุดทั้งสองมีค่า
เท่าใด

26. หลอดไฟดวงหนึ่งใช้กับไฟฟ้าภายในบ้าน ที่มีแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ ถ้าหลอดไฟมีความ


ต้านทาน 440 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์
The Essence School
Physics M.3 24

27. หลอดไฟดวงหนึ ่ ง มี ค วามต้ า นทาน 50 โอห์ ม ต่ อ กั บ เซลล์ ไ ฟฟ้ า ขนาด 1.5 โวลต์ จะมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์

28. ลวดทองแดงต่อกับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 3.0 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดทองแดง 0.5


แอมแปร์ ลวดทองแดงมีความต้านทานเท่าใด

29. ลวดนิโครมความต้านทาน 75 โอห์ม ต่อกับเซลล์ไฟฟ้าขนาด 1.5 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหล


ผ่านลวดนิโครมเท่าใด
30. ขดลวดเงินต่อกับเซลล์ไฟฟ้า พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.1 แอมแปร์ ถ้า ขดลวดนี้มีความ
ต้านทาน 100 โอห์ม เซลล์ไฟฟ้ามีความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้าเท่าใด

31. ต่อลวดตัวนำเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าอันหนึ่ง พบว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดตัวนำ 0.05 แอมแปร์


ถ้าลวดเงินมีความต้านทาน 50 โอห์ม เซลล์ไฟฟ้ามีความต่างศักย์เท่าใด
The Essence School
Physics M.3 25

32. ในวงจรไฟฟ้ า หนึ ่ ง มี แ หล่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า กระแสตรง 20 V มี ก ระแสไฟฟ้ า ไหลผ่ า น 2 mA


ความต้านทานในวงจรเป็นเท่าใด

33. ในวงจรไฟฟ้ามีตัวต้านทานขนาด 5 kΩ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 2.5 mA แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย


มีค่าเท่าใด

34. กระแสไฟฟ้าขนาด 2 แอมแปร์ ไหลผ่านจุด a ไปยังจุด b ผ่านตัวต้านทาน ขนาด 100 โอห์ม


จงหาว่าจุด a และจุด b จุดใดมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่ากัน และความต่างศักย์ระหว่างจุดทั้งสองมีค่า
เท่าใด

35. ทดลองต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง และตัวต้านทาน A


และ B ที่มีค่าความต้านทานแตกต่างกัน ได้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า
(V) กับกระแสไฟฟ้า (I) เป็นเส้นตรงดังรูป ตัวต้านทานใดมีค่าความต้านทานมากกว่ากัน

V (V)
A

I (A)
The Essence School
Physics M.3 26

36. When a voltage of 6 V is applied across a resistor there is a current of 0.1 A. The
value of the resistor is?

37. When a kettle is plugged into the 230 V mains, the current in its element is IO A.
a) What is the resistance of its element?
b) Why does the element need to have resistance?

38. A resistor has a steady resistance of 8 Ω


a) If the current in the resistor is 2 A, what is voltage across it
b) What voltage is needed to produce a current of 4 A
c) If the voltage falls to 6 V, what is the current?

39. The current through a wire is 0.5 A when the potential difference across it is
4.0 V. Calculate the resistance of the wire.
The Essence School
Physics M.3 27

40. A lamp lights normally when the current through it is 0 . 0 6 0 A and the potential
difference across it is 3.0 V
a) Calculate the resistance of the torch lamp when it lights normally
b) When the torch lamp lights normally, calculate
i. the charge passing through the torch lamp in 300 s
ii. the energy delivered to the torch lamp in this time

41. What is the resistance of a lamp when a voltage of 12 V across it causes a current
of 4 A?

42. Calculate voltage across a 10 Ω resistor carrying a current of 2 A.

43. When a 4 Ω resistor is connected across the terminals of a 12 V battery, calculate


the number of coulombs passing through the resistor per second
The Essence School
Physics M.3 28

1
4 44. A simple series circuit containing a 12 V battery and a 10 Ω resistor was
constructed as shown below.
2
4 2
a) Calculate the current between points X and Y.
b) Calculate the total charge that flows between X and Y in 5 s.
c) Calculate the energy transferred in the resistor in 1 minute.

12

วงจรไฟฟ้าแบบต่าง ๆ

วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม (series circuits)

การต่อแบบอนุกรม เป็น การนำอุปกรณ์ไฟฟ้ามาต่อเรียงลำดับกันไปเรื่อย ๆ จนถึงอุปกรณ์ตัว


สุดท้ายให้ต่อปลายที่เหลือเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ลักษณะสำคัญของการต่อแบบอนุกรมคือ
The Essence School
Physics M.3 29

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม แรงดันไฟฟ้ารวม หาได้จากผลรวมของแรงดันไฟฟ้าแต่ละเซลล์


เมื่อแรงดันมากขึ้นจะทำให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรมีค่ามากขึ้น

วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม (parallel circuit)

การต่อแบบขนาน เป็นการนำอุปกรณ์ไฟฟ้ามาต่อเรียงแบบขนานกัน โดยนำปลายด้านเดียวกัน


ของอุ ป กรณ์แ ต่ ละตั วมาต่อ เข้าด้ว ยกัน แล้ ว ต่อปลายของอุ ปกรณ์ แต่ ละตัว ที ่ต ่อกั นแล้ วนั ้ นเข้ากับ
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ลักษณะสำคัญของการต่อแบบขนานคือ
The Essence School
Physics M.3 30

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน แรงดันไฟฟ้ารวม จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าเพียงเซลล์เดียว แต่จะทำ


ให้จ่ายไฟฟ้าได้มากหรือจ่ายได้นานกว่าการใช้เซลล์ไฟฟ้าเพียงเซลล์เดียว

วงจรไฟฟ้าแบบผสม (compound circuit)

การต่อแบบผสม เป็น การนำอุปกรณ์ไฟฟ้ามาต่อ โดยมีทั้งการต่อแบบอนุกรม และขนานอยู่ใน


วงจรเดียวกัน

ตัวอย่างวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
2 2
The Essence School
Physics M.3 31
2 10

ตัวอย่าง
1.5
45. For the circuit in the figure below, each cell has a potential difference of 1.5V.

a) Calculate:
i. the total resistance of the two resistors.
ii. the total potential difference of the two cells.
b) Show that the current through the battery is 0.25 A.
c) Calculate the potential difference across each resistor.
d) If a 3 Ω resistor R is connected in series between the two resistors,
calculate:
i. their total resistance
ii. the current through the resistors
iii. the potential difference across each resistor.
The Essence School
Physics M.3 32

46. A 1.5 V cell is connected across a 3 Ω resistor in parallel with a 6 Ω resistor.


a) Draw the circuit diagram for this circuit.
b) Show that the current through:
i. the 3Q resistor is 0.50 A.
ii. the 60 resistor is 0.25 A.
c) Calculate the current passing through the cell.
The Essence School 2
4 2
Physics M.3 33
1 2 3
การต่อตัวต้านทานในวงจร

การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม

เมื่อต่อแบบอนุกรมความต้านทานรวมในวงจรจะ ______________________________
ความต้านทานรวมหาได้จาก
The Essence School 1 2 3
Physics M.3 34

การต่อตัวต้านทานแบบขนาน

เมื่อต่อแบบขนานความต้านทานรวมในวงจรจะ _______________________________
ความต้านทานรวมหาได้จาก
The Essence School
Physics M.3 35

ตัวอย่าง
47. ตัวต้านทาน 2 ตัว แต่ละตัวมีค่าความต้านทานตัว 2 และ 3 โอห์ม ตามลำดับ จงหาความ
ต้านทานรวมเมื่อ
a) ต่อตัวต้านทานทั้ง 2 แบบอนุกรม
b) ต่อตัวต้านทานทั้ง 2 แบบขนาน

48. ตัวต้านทาน 3 ตัว แต่ละตัวมีค่าความต้านทานตัว 2, 4 และ 6 โอห์ม ตามลำดับ จงหาความ


ต้านทานรวมเมื่อ
a) ต่อตัวต้านทานทั้ง 2 แบบอนุกรม
b) ต่อตัวต้านทานทั้ง 2 แบบขนาน

49. จากวงจรต่อไปนี้ ความต้านทานรวมมีค่าเท่าใด

50. ตัวต้านทาน 2 ตัว ถ้านำมาต่ออนุกรมกันจะมีความต้านทาน 5 Ω แต่ถ้านำมาต่อขนานกันจะมี


ความต้านทานรวม 1.2 Ω ตัวต้านทานทั้งสองมีความต้านทานตัวละเท่าใด
The Essence School 1 2 3
Physics M.3 36

51. ตัวต้านทานขนาด 6 Ω จำนวน 4 ตัว นำมาต่อแบบใดจึงจะได้ความต้านทานรวม 10 Ω

1. 2.
1 2 3

1 2 3

3. 4.

1 2 3

52. จากรูป จงหาความต้านทานรวม ถ้าค่าความต้านทานทุกตัวมีค่า 12 Ω

53. ตัวต้านทาน R จะต้องมีค่ากี่โอห์ม จึงทำให้ความต้านทานรวมระหว่างปลาย AB มีค่าเท่ากับ R


The Essence School
Physics M.3 1 2 3
37

54. จากการต่อตัวต้านทานตามรูป ควรใช้ตัวต้านทานแต่ละตัวขนาดกี่โอห์ม เพื่อให้ค่าความต้านทาน


รวมเท่ากับ 20 โอห์ม

55. จงหาความต้านทานรวมของวงจรต่อไปนี้
2 2
2
1 1

2
2 1 1.5
2
The Essence School
Physics M.3 38

16 20
16

6
1

30 60 0

10 20 40

2 3 10
1.3
The Essence School
Physics M.3 39

RAB = ________________
RBC = ________________
RCD = ________________
RAD = ________________

RAB = ________________
RBC = ________________
RCD = ________________
RAD = ________________
The Essence School
Physics M.3 40

56. จงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร
The Essence School
Physics M.3 41

57. ตัวต้านทาน 2 ตัว มีความต้านทาน 15 Ω และ 30 Ω ซึ่งต่อกันแบบอนุกรม เมื่อต่อความ


ต้านทานเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้า กระแสตรง แล้ววัดค่าความต่างศักย์ ระหว่างปลายของ ตั ว
ต้านทานขนาด 30 Ω ได้ 60 V
a) จงวาดรูปของวงจรที่โจทย์กำหนดให้
b) คำนวณความต้านทานรวมของตัวต้านทาน
c) คำนวณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

58. หลอดไฟฟ้ า 3 ดวงต่ อ แบบอนุ ก รม แต่ ล ะหลอดมี ค วามต้ า นทาน 5 10 และ 15 โอห์ ม
ตามลำดับ ต่อเข้ากับแบตเตอรี่ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 0 V
a) จงวาดรูปของวงจรที่โจทย์กำหนดให้
b) คำนวณความต้านทานรวมของตัวต้านทาน
c) คำนวณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว
The Essence School
Physics M.3 42

59. หลอดไฟฟ้า 3 ดวงต่อแบบขนาน มีความต้านทาน 3 3 และ 6 โอห์มตามลำดับ ต่อเข้ากับ


แบตเตอรี่ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์
a) จงวาดรูปของวงจรที่โจทย์กำหนดให้
b) คำนวณความต้านทานรวมของตัวต้านทาน
c) คำนวณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

60. ตัวต้านทาน 4 ตัว ขนาด 10 20 30 30 และ 40 โอห์ม ตามลำดับ ต่อขนานกับแบตเตอรี่ที่มี


แรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์
a) จงวาดรูปของวงจรที่โจทย์กำหนดให้
b) คำนวณความต้านทานรวมของตัวต้านทาน
c) คำนวณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว
The Essence School
Physics M.3 43

61. A 1.5 V cell is connected to a 3.0 Ω resistor and 2.0 Ω resistor in series with
each other.
a) Draw the circuit diagram for this arrangement.
b) Calculate the total resistance of the two resistors
c) Calculate the current through the resistors.
The Essence School
Physics M.3 44

62. For the circuit in the figure below

a) Calculate the total resistance of the two resistors.


b) Calculate the total potential difference of the two cells.
c) Show that the current through the battery is 0.25 A.
d) Calculate the potential difference across each resistor.
e) If a 3 Ω resistor R is connected in series between the two resistors,
calculate
i. their total resistance
ii. the current through the resistors
iii. the potential difference across each resistor.
The Essence School
Physics M.3 45

63. A 1.5 V cell is connected across a 3 Ω resistor in parallel with a 6 Ω resistor.


a) Draw the circuit diagram for this circuit
b) Calculate the current through each resistor
c) Calculate the current passing through the cell

64. For the circuit in the figure below

a) calculate the current through each resistor


b) calculate the current through the battery.
c) If the 6 Ω resistor in the figure was replaced by a 4 Ω resistor, calculate
the battery current now.

You might also like