You are on page 1of 31

สมาคม ม. ปลาย (พ.ย.

59) 1
19 Mar 2017

ข้ อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ แห่งประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (พ.ย. 59)


วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน 2559 เวลา 9.00 - 12.00 น.

ตอนที่ 1 มี 15 ข้ อ ข้ อละ 2 คะแนน


1. จากการสารวจผู้เล่นเกม Pokemon Go ในประเทศไทยทังหมดพบว่ ้ า 80% มีสตั ว์เลี ้ยงอย่างน้ อยหนึง่ ตัวในบรรดา
สัตว์เลี ้ยงต่อไปนี ้ Bulbasaur, Charmander และ Squirtle โดยที่
 45% มีสตั ว์เลี ้ยง Bulbasaur
 28% มีสตั ว์เลี ้ยง Charmander
 46% มีสตั ว์เลี ้ยง Squirtle
ถ้ า 27% มีแค่ Squirtle เท่านัน้ และ 6% มีสตั ว์เลี ้ยงทังสามชนิ
้ ด ข้ อใดต่อไปนี ้ตรงกับจานวนผู้เล่นที่มี
Bulbasaur, Charmander แต่ไม่มี Squirtle
ก. 14% ข. 15% ค. 16% ง. 17%

2. กิจกรรมในค่ายฤดูร้อนแห่งหนึง่ ให้ ผ้ เู ล่มเกมจับฉลาก ในฉลากแต่ละใบมีข้อความว่า เปา หรื อ ปด อย่างใดอย่างหนึง่


ผู้จบั ได้ เปา ต้ องพูดความจริง ส่วนผู้จบั ได้ ปด ต้ องพูดโกหก สืบ สน และ แสง จับฉลาก เมื่ออ่านฉลากแล้ วจึงพูดว่า
สืบ: ทังสนและแสงจั
้ บได้ เปา
สน: สืบก็จบั ได้ เปา
แสง: สนโกหก
ข้ อความใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. สนและสืบพูดความจริ ง แต่แสงพูดโกหก ข. สนพูดความจริง แต่สบื และแสงพูดโกหก
ค. สนและสืบพูดโกหก แต่แสงพูดความจริ ง ง. ทุกคนพูดโกหก
2 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

log𝑥 2559 + log𝑦 2559


3. กาหนดให้ 𝑥>1 และ 𝑦>1 ค่าน้ อยสุดที่เป็ นไปได้ ของ log𝑥𝑦 2559
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 1 ข. 2 ค. 4 ง. 8

4. ค่าของ lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥) )


x  
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
a 0 
1 1
ก. 0 ข. ∞ ค. 2
ง. −2

𝑥 4 −1
5. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(1) = 1 และสาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ , 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 +1
ค่าของ 𝑓(−2) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 3

𝑥𝑓(𝑥) − 2559𝑓(2559)
6. กาหนดให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ บน ℝ โดยที่ x lim
2559 𝑥 − 2559
= 7677

ถ้ า 𝑓(2559) = 2559 แล้ ว ค่าของ 𝑓 ′ (2559) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

7. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 บนระนาบ 𝑋𝑌 ใน ℝ3 ให้ 𝐷 เป็ นจุดกึ่งกลางด้ าน 𝐴𝐶 และ 𝐸 เป็ นจุดบนด้ าน 𝐵𝐶


ซึง่ 𝐵𝐸 : 𝐸𝐶 = 1 : 2 ลาก 𝐴𝐸 และ 𝐵𝐷 ตัดกันที่จดุ 𝐹 ถ้ า |𝐴𝐹 𝐴𝐵| = 2 แล้ ว |𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 | มีคา่ ตรงกับข้ อ
⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗
ใดต่อไปนี ้
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8

8. สาหรับเมทริ กซ์ขนาด 2 × 2 𝐴 และ 𝐵 ที่มีสมาชิกเป็ นจานวนจริง กล่าวว่า 𝐴 เป็ นชนิ ดเดียวกันกับ 𝐵 ก็ตอ่ เมื่อ มี
จานวนจริ ง 𝜆 และเมทริ กซ์ที่มีอินเวอร์ ส 𝑃 ที่ทาให้ 𝐴 = 𝜆𝑃𝐵𝑃−1 เมทริ กซ์ในข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ เป็ นชนิดเดียวกันกับ
1 0
เมทริ กซ์ (
0 2
)
4 0 1 1 1 0 1 0
ก. (
0 2
) ข. (
0 2
) ค. (
0 1/2
) ง. (
0 3
)
4 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

9. ให้ 𝑎, 𝑏⃗, 𝑐 เป็ นเวกเตอร์ ใน ℝ3 ซึง่ 𝑎 + 2𝑏⃗ + 𝑐 = 0 , |𝑎| = 1 , |𝑏⃗| = 2 , |𝑐| = 3


ค่าของ |𝑏⃗ × 𝑐| ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3


10. ค่าของ 𝑎 ในข้ อใดต่อไปนี ้ทาให้ 𝑎 + √𝑎 − √𝑎 + √𝑎 − √𝑎 + √𝑎 − … = 5

ก. 19 ข. 20 ค. 21 ง. 22

11. กาหนดให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


𝑧
(1) ถ้ า 1+𝑧 2 เป็ นจานวนจริ งแล้ ว 𝑧 เป็ นจานวนจริ ง
𝑧
(2) ถ้ า 1+𝑧 2 เป็ นจานวนจินตภาพแท้ (จานวนในรู ป 𝑎𝑖 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริ งไม่เท่ากับ 0) แล้ ว 𝑧 เป็ น

จานวนจินตภาพแท้
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 5

12. กาหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ เซตของจานวนจริง พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) ถ้ า ℎ = 𝑓 ∘ 𝑔 และ ℎ(𝑥) = √1 + 3𝑥 4 แล้ ว 𝑓(𝑥) = √𝑥 และ 𝑔(𝑥) = 1 + 3𝑥 4
(2) ถ้ า 𝑓(𝑥) = √4 − 𝑥 2 และ 𝑔(𝑥) = √3 − 𝑥 แล้ ว (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √1 + 𝑥 ทุก 𝑥 ≥ −1
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ

13. ผลรวมของค่า 𝑥 ทังหมดในช่


้ วง [0, 𝜋] ซึง่ สอดคล้ องกับสมการ
𝑥
(sin 𝑥 + cos 𝑥)(1 + 2 cos 𝑥) = 1 + √6 cos ตรงกับข้ อใด
2
ก. 4𝜋3
ข. 19𝜋
18
ค. 𝜋3 ง. 23𝜋
18

𝑧 𝑤
14. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน โดยที่ 1+𝑤
= 𝑖 tan(22.5°) และ 1+𝑧
= 𝑖 tan(7.5°)
ข้ อใดต่อไปนี ้ตรงกับค่าของ 𝑧 − 𝑤
ก. (2 − √3)𝑖 ข. √13 𝑖 ค. (√3 − 2)𝑖 ง. −
1
√3
𝑖
6 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

15. กาหนดให้ 𝐷 = { det 𝐴 | 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 4 × 4 ที่มีสมาชิกเป็ น 2 หรื อ −1 เท่านัน้ }


ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นสมาชิกของ 𝐷
ก. −135 ข. −136 ค. −137 ง. −138

ตอนที่ 2 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 3 คะแนน


3 7 𝑎
16. ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งซึง่ lim ( 2 + 2 + 3 )
x  0 𝑥 +𝑥 𝑥 −𝑥 𝑥 −𝑥
= 𝑏 จงหาค่าของ 𝑎+𝑏

17. จงหาจานวนเต็มบวก 𝑛 ที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ จานวนเต็ม 111⋯1 ซึง่ ประกอบด้ วยเลขโดด 1 เป็ นจานวน 𝑛 ตัว หาร
ด้ วย 7 ลงตัว
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 7

18. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นจุดยอดทางด้ านหนึง่ ของไฮเพอร์ โบลา 𝑥 2 − 𝑦 2 = 3 และ 𝐵 และ 𝐶 เป็ นจุดสองจุดบนอีกด้ าน
หนึง่ ของไฮเพอร์ โบลาที่ทาให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นสามเหลีย่ มด้ านเท่า จงหาพื ้นที่ของสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶

19. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จากเซตของจานวนเต็มไปยังเซตของจานวนตรรกยะซึง่ 𝑓(1) = 3 และ


1+𝑓(𝑥)
𝑓(𝑥 + 1) =
1−𝑓(𝑥)
สาหรับแต่ละจานวนเต็ม 𝑥 จงหาจานวนเต็ม 𝑥 ทังหมดที
้ ่ทาให้ 𝑓(𝑥) < 0

20. กาหนดให้ สามี ภรรยา จานวน 4 คู่ มานัง่ รอบโต๊ ะกลม จงหาจานวนวิธีทงหมดในการจั
ั้ ดที่นงั่ โดยที่ผ้ ชู ายนัง่ สลับกับ
ผู้หญิง และ ไม่ให้ มีสามีภรรยาคูใ่ ดเลยนัง่ ติดกัน
8 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

21. ให้ 𝑆 และ 𝑇 แทนค่าสูงสุด และค่าตา่ สุดของ


(arcsin 𝑥)(arccos 𝑥) + (arccos 𝑥)(arccos 𝑦) + (arcsin 𝑥)(arcsin 𝑦) + (arcsin 𝑦)(arccos 𝑦)
เมื่อ 𝑥 และ 𝑦 อยูใ่ นช่วง [−1, 1] จงหาค่าของ 𝑆−𝑇

22. กาหนดให้ 𝑋 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} จงหาจานวนสับเซตของ 𝑋 ทังหมดซึ


้ ง่ สมาชิกในสับเซตนี ้มีจานวนคี่
มากกว่าจานวนคู่

23. จงหาคาตอบที่เป็ นจานวนจริ งทังหมดของสมการ


้ 2(log10 𝑥)−1 + 𝑥 − log10 2 = 4.125
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 9

24. กาหนดตารางแจกแจงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียน 30 คน คะแนน จานวนนักเรี ยน (คน)


เป็ นดังนี ้ 20 – 39 3
สาหรับ 𝑖 = 1, 2,3, 4 ให้ 𝑥𝑖 และ 𝑓𝑖 เป็ นจุดกึง่ กลางของอันตรภาค 40 – 59 8
60 – 79 13
ชันที
้ ่ 𝑖 และความถี่ของอันตรภาคชันที
้ ่ 𝑖 ตามลาดับ 80 – 99 6
4 4
ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นค่าคงที่ซงึ่ ทาให้  𝑓𝑖 (𝑥𝑖 − 𝑎)2 +  𝑓𝑖 |𝑥𝑖 − 𝑏| มีคา่ ตา่ สุด จงหาค่าของ 𝑎−𝑏
i 1 i 1

25. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}


จงหาจานวนฟั งก์ชนั 𝑓 : 𝐴 → 𝐴 ทังหมดซึ
้ ง่ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑛))) = 𝑛 ทุก 𝑛 ∈ 𝐴

ตอนที่ 3 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 4 คะแนน


26. ให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นพจน์ที่เรี ยงกันในลาดับเลขคณิตของจานวนเต็ม โดยที่ 𝑝 เป็ นจานวนเฉพาะ
และ 𝑝2 + 𝑞𝑟 = 𝑝𝑟 + 46 จงหาค่าของ 𝑝𝑞𝑟
10 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

27. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับสมการ 𝑥 2 + 5⌈𝑥⌉ + 4 = 0 เมื่อ ⌈𝑥⌉ คือจานวนเต็มที่น้อยที่สดุ ที่
มากกว่าหรื อเท่ากับ 𝑥


𝐹𝑛
28. จงหาค่าของอนุกรมอนันต์ที่ลเู่ ข้ าต่อไปนี ้  2 𝑛
n 1

เมื่อ {𝐹𝑛 } เป็ นลาดับฟิ โบนักชีนิยามโดย 𝐹1 = 𝐹2 = 1 และ 𝐹𝑛 = 𝐹𝑛−1 + 𝐹𝑛−2 𝑛 ≥ 3

29. คณะกรรมการชุดหนึง่ ประกอบไปด้ วยกรรมการ 20 คน ซึง่ ทุกคนต้ องโหวตจัดอันดับนักเตะสามคน ได้ แก่ เมสซี่
โรนัลโด้ และ ชัวเรส โดยที่กรรมการแต่ละคนจะเลือกจัดอันดับได้ คนละแบบเท่านัน้ ผลปรากฏว่า กรรมการ 11 คนให้
เมสซี่เหนือกว่าโรนัลโด้ กรรมการ 12 คนจัดให้ ชวั เรสเหนือกว่าเมสซี่ และกรรมการอย่างน้ อย 14 คนให้ โรนัลโด้
เหนือกว่าชัวเรส ถ้ าแต่ละการจัดอันดับที่เป็ นไปได้ ของนักเตะทังสามคน
้ (ซึง่ มีอยู่ 6 แบบ) ถูกเลือกโดยกรรมการอย่าง
น้ อยหนึง่ คน จงหาว่ามีกรรมการจานวนกี่คนที่โหวตให้ โรนัลโด้ ได้ อยูใ่ นอันดับที่ 1
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 11

30. จงหาสมการของพาราโบลาคว่าที่ผา่ นจุดกาเนิดและจุด (2, 4) ที่ทาให้ พื ้นที่ใต้ กราฟพาราโบลารูปนี ้เมื่อเทียบกับ


แกน 𝑋 มีคา่ น้ อยที่สดุ

31. ให้ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 ให้ 𝐼𝑛 แทนเมทริ กซ์เอกลักษณ์ขนาด 𝑛 × 𝑛 และ 𝐽𝑛 แทนเมทริ กซ์ขนาด
𝑛 × 𝑛 ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็ น 1 จงหาจานวนเต็มบวก 𝑘 ที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ มจี านวนเฉพาะ 𝑝 สอดคล้ องกับ
สมการ det(𝑝𝐼𝑛 + 𝑘𝐽𝑛 ) = 672

32. สุม่ เลือกจานวนเต็มบวกจากเซต {1, 2, … , 50} มาหนึง่ จานวน จงหาความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้ จานวนเต็มบวก 𝑁 ซึง่
𝑁 − 2 หาร 𝑁 5 + 𝑁 4 + 𝑁 3 + 𝑁 2 + 𝑁 + 2 ลงตัว
12 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)


1
33. กาหนดให้ 𝑃1 = 2559 และ 𝑃𝑛 = 1 + (𝑃1 𝑃2 ⋯ 𝑃𝑛−1 ) เมื่อ 𝑛 = 2, 3, 4, … จงหาค่าของ 
n 1 𝑃𝑛

34. จงหาพหุนาม 𝑝(𝑥) ที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนเต็ม และสอดคล้ องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้


(i) 𝑝(√2 + √3) = 0 และ
3

(ii) 𝑝(𝑥) เป็ นพหุนามดีกรี 6 โดยที่สม ั ประสิทธิ์ของ 𝑥 6 เท่ากับ 1

35. กาหนดให้ M2 (ℝ) แทนเซตของเมทริกซ์ขนาด 2 × 2 ทังหมดที้ ่มีสมาชิกในแต่ละตาแหน่งเป็ นจานวนจริง


จงหาเมทริ กซ์ 𝐶 ∈ M2 (ℝ) ทังหมดที
้ ่ทาให้ สาหรับทุกๆเมทริ กซ์ 𝐴, 𝐵 ∈ M2 (ℝ)ใดๆ
(𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2 𝐶 = 𝐶(𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 13

เฉลย
1. ก 10. ค 19. 4𝑛 + 2 , 4𝑛 + 3 28. 2
2. ค 11. ค 20. 12 29. 8
3. ค 12. ง 21. 𝜋2 30. 𝑦 = −2𝑥 2 + 6𝑥
4. ง 13. ก 22. 256 31. 8
7
5. ก 14. ก 23. 0.01 , 1000 32. 50
16 2
6. ข 15. ก 24. − 3
33. 2559
7. ง 16. −14 25. 351 34. 𝑥 − 9𝑥 4 − 4𝑥 3
6

8. ง 17. 6 26. 28 +27𝑥 2 − 36𝑥 − 23


9. ก 18. 9√3 27. −1 , −√6 , −√11 , −4 35. อะไรก็ได้

แนวคิด
1. จากการสารวจผู้เล่นเกม Pokemon Go ในประเทศไทยทังหมดพบว่ ้ า 80% มีสตั ว์เลี ้ยงอย่างน้ อยหนึง่ ตัวในบรรดา
สัตว์เลี ้ยงต่อไปนี ้ Bulbasaur, Charmander และ Squirtle โดยที่
 45% มีสตั ว์เลี ้ยง Bulbasaur
 28% มีสตั ว์เลี ้ยง Charmander
 46% มีสตั ว์เลี ้ยง Squirtle
ถ้ า 27% มีแค่ Squirtle เท่านัน้ และ 6% มีสตั ว์เลี ้ยงทังสามชนิ
้ ด ข้ อใดต่อไปนี ้ตรงกับจานวนผู้เล่นที่มี
Bulbasaur, Charmander แต่ไม่มี Squirtle
ก. 14% ข. 15% ค. 16% ง. 17%
ตอบ ก
จาก 6% มีสตั ว์เลี ้ยงทังสามชนิ
้ ด และ 27% มีแค่ Squirtle จะเติมได้ ดงั รูป 𝐵 𝑥
𝐶
จาก 46% มี Squirtle แสดงว่าวง 𝑆 ต้ องรวมกันได้ 46 𝑦 6 𝑧
นัน่ คือ จะได้ 𝑦 + 6 + 𝑧 + 27 = 46 27
𝑦 +𝑧 = 13 …(∗) 𝑆
และจากสูตร Inclusive – Exclusive จะได้
𝑛(𝐵 ∪ 𝐶 ∪ 𝑆) = 𝑛(𝐵) + 𝑛(𝐶) + 𝑛(𝑆) − 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) − 𝑛(𝐵 ∩ 𝑆) − 𝑛(𝐶 ∩ 𝑆) + 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶 ∩ 𝑆)
80 = 45 + 28 + 46 − (𝑥 + 6) − (𝑦 + 6) − (𝑧 + 6) + 6
80 = 45 + 28 + 46 − 𝑥 − 6 −𝑦−6 −𝑧−6 + 6
𝑥+𝑦+𝑧 = 27
จาก (∗)
𝑥 + 13 = 27
𝑥 = 14
14 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

2. กิจกรรมในค่ายฤดูร้อนแห่งหนึง่ ให้ ผ้ เู ล่มเกมจับฉลาก ในฉลากแต่ละใบมีข้อความว่า เปา หรื อ ปด อย่างใดอย่างหนึง่


ผู้จบั ได้ เปา ต้ องพูดความจริง ส่วนผู้จบั ได้ ปด ต้ องพูดโกหก สืบ สน และ แสง จับฉลาก เมื่ออ่านฉลากแล้ วจึงพูดว่า
สืบ: ทังสนและแสงจั
้ บได้ เปา
สน: สืบก็จบั ได้ เปา
แสง: สนโกหก
ข้ อความใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. สนและสืบพูดความจริ ง แต่แสงพูดโกหก ข. สนพูดความจริง แต่สบื และแสงพูดโกหก
ค. สนและสืบพูดโกหก แต่แสงพูดความจริ ง ง. ทุกคนพูดโกหก
ตอบ ค
พิจารณาคาพูดของแสง จากการที่ แสง บอกว่าสนโกหก แสดงว่า สนโกหกจริ งๆ หรื อไม่อย่างนัน้ แสงก็โกหกซะเอง
ดังนัน้ จึงเป็ นไปไม่ได้ ที่ สนกับแสง จะพูดความจริงทังสองคน

ดังนัน้ คาพูดของสืบที่บอกว่า ทังสนและแสงจั
้ บได้ “เปา” จึงเป็ นเท็จ (จับได้ “เปา” ต้ องพูดความจริ ง)
แสดงว่า สืบ จับได้ “ปด” จึงต้ องพูดโกหก
สน บอกว่า สืบจับได้ “เปา” → แสดงว่า สน พูดโกหก
แสง บอกว่า สนโกหก → แสง จึงพูดความจริ ง
log𝑥 2559 + log𝑦 2559
3. กาหนดให้ 𝑥>1 และ 𝑦>1 ค่าน้ อยสุดที่เป็ นไปได้ ของ log𝑥𝑦 2559
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 1 ข. 2 ค. 4 ง. 8
ตอบ ค
log𝑥 2559 + log𝑦 2559
จัดรูป log𝑥𝑦 2559 (log 𝑎 𝑥)(log 𝑥 𝑎) = 1
(log 𝑎 𝑥)(log 𝑦 𝑎) = log 𝑦 𝑥
= (log 𝑥 2559 + log 𝑦 2559) log 2559 𝑥𝑦
= (log 𝑥 2559 + log 𝑦 2559)(log 2559 𝑥 + log 2559 𝑦)
กระจาย + ตัดๆ
= 1 + log 𝑥 𝑦 + log 𝑦 𝑥 + 1
1
= 1 + log 𝑥 𝑦 + log𝑥 𝑦
+ 1
1
= 1 + 𝑘 + + 1 1 2
𝑘 จาก (√𝑘 − ) ≥ 0 เมื่อ 𝑘 = log 𝑥 𝑦 > 0
≥ 1 + 2 + 1 √𝑘
2 1 1 2 (โจทย์ให้ 𝑥, 𝑦 > 1)
≥ 4 √𝑘 − 2(√𝑘) ( ) + ( )
√𝑘 √𝑘
≥ 0
1
𝑘 + ≥ 2
𝑘

4. ค่าของ lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥) )


x  
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
a 0 
1 1
ก. 0 ข. ∞ ค. 2
ง. −2
ตอบ ง
lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥) )
a 0  x  
คูณคอนจูเกต ให้ กลายเป็ นเศษส่วน
√𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎𝑥
= lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥 ∙ ))
a 0 x   √𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎𝑥
𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎2 𝑥 2
= lim ( lim ( ))
a 0 x   √𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎𝑥
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 15

|𝑎|𝑥
= lim ( lim ( ))
a 0 x   √𝑥 2 (𝑎2 +
|𝑎|
) − 𝑎𝑥
𝑥 √𝑥 2 = |𝑥|
|𝑎|𝑥
= lim ( lim ( ))
a 0 x   |𝑎|
|𝑥| √𝑎2 + − 𝑎𝑥
𝑥 𝑥 → −∞ ดังนัน้ 𝑥 เป็ นลบ จึงทาให้ |𝑥| = −𝑥
|𝑎|𝑥
= lim ( lim ( ))
a 0 x   |𝑎|
(−𝑥) √𝑎2 + − 𝑎𝑥
|𝑎|
𝑥
ตัด 𝑥 ทังบนและล่
้ าง
= lim ( lim ( ))
a 0 x   |𝑎|
− √𝑎2 + − 𝑎
𝑥
|𝑎|
= lim
a 0 − √𝑎2 −0 − 𝑎
|𝑎|
= lim − |𝑎| − 𝑎
a 0
𝑎
𝑎 → 0+ ดังนัน้ 𝑎 เป็ นบวก จึงทาให้ |𝑎| = 𝑎
= lim
a 0 −𝑎 − 𝑎
1
= −
2

𝑥 4 −1
5. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(1) = 1 และสาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ , 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 +1
ค่าของ 𝑓(−2) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
ตอบ ก
𝑥 4 −1 (𝑥 2 −1)(𝑥 2 +1)
𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 +1
= 𝑥 2 +1
= 𝑥2 − 1 (ตัวส่วน 𝑥 2 + 1 ไม่มีทางเป็ น 0 อยูแ่ ล้ ว จึงตัดบนล่างได้ เลย)
𝑥3 13
อินทิเกรต จะได้ 𝑓(𝑥) = 3 − 𝑥+𝑐 → แทน 𝑥 = 1 จะได้ 𝑓(1) = 3
−1+𝑐
โจทย์กาหนด 1 =
1
−1+𝑐
3
5
3
= 𝑐

𝑥3 5 (−2)3 5
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 3
−𝑥+3 → จะได้ 𝑓(−2) = 3
− (−2) + 3 = 1

𝑥𝑓(𝑥) − 2559𝑓(2559)
6. กาหนดให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์บน ℝ โดยที่ x lim
2559 𝑥 − 2559
= 7677

ถ้ า 𝑓(2559) = 2559 แล้ ว ค่าของ 𝑓 ′(2559) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
ตอบ ข
จะเห็นว่า ถ้ าแทน 𝑥 = 2559 ในลิมิต จะได้ 𝑥𝑓(𝑥) −𝑥 −2559𝑓(2559)
2559
อยูใ่ นรูป 0
0
→ สามารถใช้ กฎของโลปิ ตาลได้

น ล ′ + ล น′ 2559𝑓(2559) เป็ นค่าคงที่ → ดิฟ = 0 โจทย์ให้ 𝑓(2559) = 2559


ดิฟบน 𝑥𝑓′ (𝑥) + 𝑓(𝑥)(1) − 0 2559𝑓′ (2559)+𝑓(2559)(1) − 0
ดิฟล่าง
=
1
→ แทน 𝑥 = 2559 จะได้ 1
′ (2559)
= 2559𝑓 + 2559

โจทย์ให้ คา่ ลิมิต = 7677 ดังนัน้ 2559𝑓 ′ (2559) + 2559 = 7677


2559𝑓 ′ (2559) = 5118
𝑓 ′ (2559) = 2
16 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

7. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 บนระนาบ 𝑋𝑌 ใน ℝ3 ให้ 𝐷 เป็ นจุดกึ่งกลางด้ าน 𝐴𝐶 และ 𝐸 เป็ นจุดบนด้ าน 𝐵𝐶


ซึง่ 𝐵𝐸 : 𝐸𝐶 = 1 : 2 ลาก 𝐴𝐸 และ 𝐵𝐷 ตัดกันที่จดุ 𝐹 ถ้ า |𝐴𝐹 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = 2 แล้ ว |𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ | มีคา่ ตรงกับข้ อ
⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐶
ใดต่อไปนี ้
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8
ตอบ ง

ข้ อนี ้ จะใช้ ทฤษฎีสดั ส่วนพื ้นที่ ∆ มาช่วย → 𝐴 𝐵 พื ้นที่ 𝐴 : 𝐵 = 𝑥:𝑦


𝐴 𝐵
𝑥 𝑦 𝑥 𝑦
𝐵 จาก |𝐴𝐹 ⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐵⃗⃗⃗⃗⃗ | = 2 แสดงว่า  ด้ านขนานที่เกิดจาก 𝐴𝐹
⃗⃗⃗⃗⃗ และ 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ มี พื ้นที่ = 2
1 1 1
𝐸 ดังนัน้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐹𝐵 = 2 ของ  ด้ านขนาน = 2 × 2 = 1
𝐹
2 จาก ทฤษฎีสดั ส่วนพื ้นที่ ∆ จะได้ ∆𝐴𝐹𝐵∆𝐴𝐹𝐶
𝐸𝐵
= 𝐸𝐶 = 2
1

1 1
= → ∆𝐴𝐹𝐶 = 2
𝐴 𝐷 𝐶 ∆𝐴𝐹𝐶 2
∆𝐴𝐹𝐷 + ∆𝐶𝐹𝐷 = 2
แต่จาก 𝐴𝐷 = 𝐷𝐶 จะได้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐹𝐷 = ∆𝐶𝐹𝐷 ดังนัน้ ∆𝐴𝐹𝐷 = ∆𝐶𝐹𝐷 = 1 ดังรูป 𝐵
และจาก 𝐴𝐷 = 𝐷𝐶 จะได้ ∆𝐶𝐵𝐷 = ∆𝐴𝐵𝐷 = 1 + 1 = 2
ดังนัน้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐵𝐶 = ∆𝐴𝐵𝐷 + ∆𝐶𝐵𝐷 = 2 + 2 = 4 1
ดังนัน้ |𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = พื ้นที่  ด้ านขนานทีเ่ กิดจาก 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗ และ 𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗
1 1
= 2 เท่าของ พื ้นที่ ∆𝐴𝐵𝐶 = 2(4) = 8 𝐴 𝐷 𝐶

8. สาหรับเมทริ กซ์ขนาด 2 × 2 𝐴 และ 𝐵 ที่มีสมาชิกเป็ นจานวนจริง กล่าวว่า 𝐴 เป็ นชนิ ดเดียวกันกับ 𝐵 ก็ตอ่ เมื่อ มี
จานวนจริ ง 𝜆 และเมทริ กซ์ที่มีอินเวอร์ ส 𝑃 ที่ทาให้ 𝐴 = 𝜆𝑃𝐵𝑃−1 เมทริ กซ์ในข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ เป็ นชนิดเดียวกันกับ
1 0
เมทริ กซ์
(
0 2
)
4 0 1 1 1 0 1 0
ก. (
0 2
) ข. (
0 2
) ค. (
0 1/2
) ง. (
0 3
)
ตอบ ง
เมทริ กซ์ทเี่ ป็ นชนิดเดียวกันกับ (10 0
2
) จะต้ องสามารถเขียนได้ ในรูป𝜆𝑃 (
1 0 −1
0 2
)𝑃
𝑎 𝑏 1 𝑑 −𝑏
ให้ 𝑃=( ) จะได้ 𝑃−1 = ( )
= 𝜆(
𝑎 𝑏 1 0
)( )
1
(
𝑑 −𝑏
)
𝑐 𝑑 𝑎𝑑−𝑏𝑐 −𝑐 𝑎
𝑐 𝑑 0 2 𝑎𝑑−𝑏𝑐 −𝑐 𝑎
𝜆 𝑎 2𝑏 𝑑 −𝑏
= 𝑎𝑑−𝑏𝑐 ( ) ( )
𝑐 2𝑑 −𝑐 𝑎
𝜆 𝑎𝑑 − 2𝑏𝑐 𝑎𝑏
= 𝑎𝑑−𝑏𝑐 ( ) …(∗)
−𝑐𝑑 2𝑎𝑑 − 𝑏𝑐
เราต้ องดูวา่ เมทริ กซ์ในตัวเลือกไหน ที่ไม่สามารถเขียนได้ ในรูป (∗)
สังเกตว่าทุกตัวเลือกทุกข้ อ มีสมาชิกตัวซ้ ายล่างเป็ น 0 ดังนัน้ −𝑐𝑑 = 0 จะได้ 𝑐 = 0 หรื อ 𝑑 = 0

กรณี 𝑐 = 0 : แทน 𝑐 = 0 ใน (∗) จะได้ 𝜆


= 𝑎𝑑 (
𝑎𝑑 𝑎𝑏
) = (
𝜆 𝜆𝑏/𝑑
) →
สังเกตว่า สมาชิกตัวขวาล่าง เป็ น
0 2𝑎𝑑 0 2𝜆 2 เท่าของ สมาชิกตัวซ้ ายบน
𝑏
ซึง่ สอดคล้ องกับ ตัวเลือกข้ อ (ข) เมื่อ 𝜆 = 1 , 𝑑 = 1 (𝑎 เป็ นอะไรก็ได้ ที่ ≠ 0)
แต่จะไม่สอดคล้ องกับข้ ออื่น (ข้ อ ก. ค. ง. สมาชิกตัวขวาล่าง ไม่ได้ เป็ น 2 เท่าของสมาชิกตัวซ้ ายบน)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 17

กรณี 𝑎 = 0 : แทน 𝑎 = 0 ใน (∗) จะได้ 𝜆


= − 𝑏𝑐 (
−2𝑏𝑐 0
) = (
2𝜆 0
) →
สมาชิกตัวซ้ ายบน เป็ น 2
−𝑐𝑑 −𝑏𝑐 −𝑑/𝑏 𝜆 เท่าของ สมาชิกตัวขวาล่าง
ซึง่ สอดคล้ องกับ ตัวเลือกข้ อ (ก) เมื่อ 𝜆 = 2 , 𝑑 = 0 (𝑏 กับ 𝑐 เป็ นอะไรก็ได้ ที่ ≠ 0)
และสอดคล้ องกับ ตัวเลือกข้ อ (ค) เมื่อ 𝜆 = 12 , 𝑑 = 0 (𝑏 กับ 𝑐 เป็ นอะไรก็ได้ ที่ ≠ 0)
แต่จะไม่สอดคล้ องกับข้ อ (ง) เนื่องจาก สมาชิกตัวซ้ ายบน ไม่ได้ เป็ น 2 เท่าของสมาชิกตัวขวาล่าง
จะเห็นว่าข้ อ (ง) ไม่สอดคล้ องกับกรณีไหนเลย ดังนัน้ เมทริกซ์ที่กาหนด จึงไม่เป็ นชนิดเดียวกับข้ อ (ง)

9. ให้ 𝑎, 𝑏⃗, 𝑐 เป็ นเวกเตอร์ ใน ℝ3 ซึง่ 𝑎 + 2𝑏⃗ + 𝑐 = 0 , |𝑎| = 1 , |𝑏⃗| = 2 , |𝑐| = 3


ค่าของ |𝑏⃗ × 𝑐| ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3
ตอบ ก
𝑎 + 2𝑏⃗ + 𝑐 = 0 แสดงว่า 𝑎 , 2𝑏⃗ , และ 𝑐 ต้ องต่อแล้ ววนกลับมาทีจ่ ด
ุ ตังต้
้ นเป็ นรูปสามเหลีย่ ม ดังรูป 𝑏⃗⃑
𝑐⃑
𝐴 𝑏⃗⃑
โจทย์ให้ |𝑎| = 1 , |𝑏⃗| = 2 , |𝑐| = 3 → จะได้ ความยาวแต่ละด้ านของ ∆ เป็ นดังรูป 2
𝑎⃑
สังเกตว่า 𝐶𝐴 ยาว = 2 + 2 = 4 เท่ากับผลรวมอีกสองด้ านทีเ่ หลือ 𝐴𝐵 + 𝐵𝐶 = 3 + 1 = 4 3 2
2 𝐶
𝐵
ดังนันเวกเตอร์
้ ทงหมด
ั้ จะต้ องเป็ นแนวเดียวกัน ดังรูป 3
1
2
จะได้ |𝑏⃗ × 𝑐| = 0 (ขนานกัน ครอสกันได้ 0̅)
1


10. ค่าของ 𝑎 ในข้ อใดต่อไปนี ้ทาให้ 𝑎 + √𝑎 − √𝑎 + √𝑎 − √𝑎 + √𝑎 − … = 5

ก. 19 ข. 20 ค. 21 ง. 22
ตอบ ค


ก้ อนถัดเข้ าไป 2 ชัน้ จะกลับไปเหมือนกับก้ อนฝั่งซ้ ายทังก้
้ อน 𝑎 + √𝑎 − √𝑎 + √𝑎 − √𝑎 + √𝑎 − … = 5

เนื่องจาก ฝั่งซ้ ายทังก้


้ อน = 5 วนกลับไปเหมือนฝั่งซ้ ายทังก้
้ อน
ดังนัน้ ก้ อนในเส้ นประ จะเท่ากับ 5 ด้ วย → จะได้ สมการคือ √𝑎 + √𝑎 − 5 = 5 …(∗)
ยกกาลังสอง ทัง้ 2 ข้ าง 𝑎 + √𝑎 − 5 = 25
√𝑎 − 5 = 25 − 𝑎
ยกกาลังสอง ทัง้ 2 ข้ าง 𝑎−5 = 625 − 50𝑎 + 𝑎2
0 = 𝑎2 − 51𝑎 + 630
0 = (𝑎 − 21)(𝑎 − 30)
𝑎 = 21 , 30
เนื่องจากระหว่างแก้ สมการ มีการยกกาลังสองทังสองข้
้ าง ดังนัน้ ต้ องตรวจคาตอบใน (∗) ด้ วย
𝑎 = 21 : √21 + √21 − 5 = √21 + 4 = 5 → จริ ง → ตอบ 𝑎 = 21
𝑎 = 30 : √30 + √30 − 5 = √30 + 5 ≠ 5 → เท็จ
18 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

11. กาหนดให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


𝑧
(1) ถ้ า 1+𝑧 2 เป็ นจานวนจริ งแล้ ว 𝑧 เป็ นจานวนจริ ง
𝑧
(2) ถ้ า 1+𝑧 2 เป็ นจานวนจินตภาพแท้ (จานวนในรู ป 𝑎𝑖 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริ งไม่เท่ากับ 0) แล้ ว 𝑧 เป็ น

จานวนจินตภาพแท้
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ค
𝑧
(1) ให้ 1+𝑧 2 = 𝑘 เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนจริ ง

จัดรูปให้ เป็ นสมการกาลังสองที่มี สปส เป็ นจานวนจริ ง 𝑧 = 𝑘 + 𝑘𝑧 2


0 = 𝑘𝑧 2 − 𝑧 + 𝑘
สมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 2 −4(𝑘)(𝑘) 1 ± √1−4𝑘 2
−𝑏 ± √𝑏 2 −4𝑎𝑐 จากสูตร จะได้ 𝑧 = −(−1)±√(−1) =
มีคาตอบคือ 𝑥 = 2𝑘 2𝑘
2𝑎
จะเห็นว่า 𝑧 อาจไม่ใช่จานวนจริง ถ้ า 1 − 4𝑘 2 < 0 → (1) ผิด
𝑧
(2) ให้ 1+𝑧 2
= 𝑘𝑖 เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนจริ ง
จัดรูปให้ เป็ นสมการกาลังสองที่มี สปส เป็ นจานวนจริ ง 𝑧 = 𝑘𝑖 + 𝑘𝑧 2 𝑖
𝑧𝑖 = 𝑘𝑖 2 + 𝑘𝑧 2 𝑖 2
𝑧𝑖 = 𝑘𝑖 2 + 𝑘(𝑧𝑖)2
0 = 𝑘(𝑧𝑖)2 − (𝑧𝑖) − 𝑘
2 2
จากสูตร จะได้ 𝑧𝑖 = −(−1) ± √(−1)2𝑘
−4(𝑘)(−𝑘)
=
1 ± √1+4𝑘
2𝑘
เนื่องจาก 1 + 4𝑘 2 ไม่มีทางติดลบ (𝑘 2 ≥ 0) ดังนัน้ 𝑧𝑖 จะเป็ นจานวนจริ งเสมอ
ดังนัน้ 𝑧 จะเป็ นจานวนจินตภาพแท้ เสมอ → (2) ถูก

12. กาหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ เซตของจานวนจริง พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) ถ้ า ℎ = 𝑓 ∘ 𝑔 และ ℎ(𝑥) = √1 + 3𝑥 4 แล้ ว 𝑓(𝑥) = √𝑥 และ 𝑔(𝑥) = 1 + 3𝑥 4
(2) ถ้ า 𝑓(𝑥) = √4 − 𝑥 2 และ 𝑔(𝑥) = √3 − 𝑥 แล้ ว (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √1 + 𝑥 ทุก 𝑥 ≥ −1
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ง
(1) ยังมีวิธีประกอบแบบอื่น ที่ทาให้ ได้ ℎ(𝑥) = √1 + 3𝑥 4
เช่น 𝑓(𝑥) = √1 + 3𝑥 4 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 ก็จะได้ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥))
= 𝑓( 𝑥 )
= √1 + 3𝑥 4 = ℎ(𝑥) เช่นกัน → (1) ผิด
(2) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥)) = 𝑓(√3 − 𝑥) เมื่อ 𝑥≤3 (ในรูทห้ ามติดลบ)
2
= √4 − √3 − 𝑥
= √4 − (3 − 𝑥) = √1 + 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ −1 (ในรูทห้ ามติดลบ)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 19

ดังนัน้ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √1 + 𝑥 เมื่อ −1 ≤ 𝑥 ≤ 3 → แต่โจทย์บอกแค่ 𝑥 ≥ −1 ดังนัน้ (2) ผิด


( เช่น ถ้ าถามค่าของ (𝑓 ∘ 𝑔)(4) ต้ องตอบว่า หาไม่ได้ เพราะ 𝑔(4) หาไม่ได้
แต่ถ้าใช้ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √1 + 𝑥 ทุก 𝑥 ≥ −1 จะหาได้ (𝑓 ∘ 𝑔)(4) = √5 )

13. ผลรวมของค่า 𝑥 ทังหมดในช่


้ วง [0, 𝜋] ซึง่ สอดคล้ องกับสมการ
𝑥
(sin 𝑥 + cos 𝑥)(1 + 2 cos 𝑥) = 1 + √6 cos ตรงกับข้ อใด
2
ก. 4𝜋3
ข. 19𝜋
18
ค. 𝜋3 ง. 23𝜋
18
ตอบ ก
𝑥
(sin 𝑥 + cos 𝑥) (1 + 2 cos 𝑥) = 1 + √6 cos 2
𝑥
sin 𝑥 + 2 sin 𝑥 cos 𝑥 + cos 𝑥 + 2 cos 2 𝑥 = 1 + √6 cos 2
𝑥
sin 𝑥 + 2 sin 𝑥 cos 𝑥 + cos 𝑥 + 2 cos 2 𝑥 − 1 = √6 cos 2
𝑥
sin 𝑥 + sin 2𝑥 + cos 𝑥 + cos 2𝑥 = √6 cos 2
3𝑥 𝑥 3𝑥 𝑥 𝑥
2 sin cos + 2 cos cos = √6 cos 2 …(∗)
2 2 2 2

𝑥 𝑥
จะเห็นว่าทุกตัวมี cos 2 เป็ นตัวประกอบ ดังนัน้ ถ้ า cos 2 = 0 จะทาให้ สมการเป็ นจริ งได้
𝑥
กรณี cos 2 = 0 : จาก 𝑥 ∈ [0, 𝜋] จะได้ 𝑥=𝜋
𝑥 𝑥
กรณี cos 2 ≠0: หาร (∗) ตลอดด้ วย cos 2 จะเหลือ 3𝑥
2 sin
2
3𝑥
+ 2 cos = √6
2
3𝑥 3𝑥 √6
sin 2 + cos 2 = 2 …(∗∗)
ยกกาลังสอง ทัง้ 2 ข้ าง 3𝑥 3𝑥 3𝑥 3𝑥 6
sin2 2 + 2 sin 2 cos 2 + cos2 2 = 4
3𝑥 3𝑥 3𝑥 3𝑥 3
(sin2 + cos2 ) + 2 sin cos =
2 2 2 2 2
3
1 + sin 3𝑥 =
2
1
sin 3𝑥 = 2
แต่การยกกาลัง 2 ตรง (∗∗) อาจทาให้ มคี าตอบปลอม เกินมาได้ → ต้ องพิจารณาขอบเขตของ 𝑥 ใน (∗∗) ด้ วย
เนื่องจาก √26 > 1 ดังนัน้ ทัง้ sin 3𝑥
2
และ cos 3𝑥
2
ต้ องเป็ นบวกทังคู
้ ่ เพื่อรวมกันแล้ ว > 1 ดังนัน้ 3𝑥
2
ต้ องอยูใ่ น 𝑄1
แต่โจทย์ให้ 𝑥 ∈ [0, 𝜋] จะได้ 2 ∈ [0, 2 ] แต่ 2 ต้ องอยูใ่ น 𝑄1 ดังนัน้ 3𝑥
3𝑥 3𝜋 3𝑥
2
𝜋
∈ [0, 2 ]
ดังนัน้ 3𝑥 ∈ [0, 𝜋] → ถ้ า sin 3𝑥 = 12 จะได้ 3𝑥 = 𝜋6 , 5𝜋 6
ดังนัน้ 𝑥 = 18𝜋 5𝜋
, 18
𝜋 5𝜋 4𝜋
รวมคาตอบจากทัง้ 2 กรณี จะได้ ผลรวมของ 𝑥 = 𝜋 + 18 + 18 = 3

𝑧 𝑤
14. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน โดยที่ 1+𝑤 = 𝑖 tan(22.5°) และ
1+𝑧
= 𝑖 tan(7.5°)
ข้ อใดต่อไปนี ้ตรงกับค่าของ 𝑧 − 𝑤
ก. (2 − √3)𝑖 ข. √13 𝑖 ค. (√3 − 2)𝑖 ง. − √13 𝑖
ตอบ ก
𝑧 𝑤
ให้ 𝑎 = 𝑖 tan(22.5°) และ 𝑏 = 𝑖 tan(7.5°) จะได้ 1+𝑤 = 𝑎 และ 1+𝑧 = 𝑏
𝑧 = 𝑎 + 𝑎𝑤 …(1) 𝑤 = 𝑏 + 𝑏𝑧 …(2)
×𝑏
𝑏𝑧 = 𝑎𝑏 + 𝑎𝑏𝑤
แทนค่า 𝑏𝑧 𝑤 = 𝑏 + 𝑎𝑏 + 𝑎𝑏𝑤
20 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

𝑤 − 𝑎𝑏𝑤 = 𝑏 + 𝑎𝑏
𝑏+𝑎𝑏
𝑤 = 1−𝑎𝑏

𝑏+𝑎𝑏 𝑏+𝑎𝑏
แทน 𝑤 = 1−𝑎𝑏 ใน (1) จะได้ 𝑧 = 𝑎 + 𝑎 (1−𝑎𝑏 )
𝑎𝑏−𝑎2 𝑏 𝑎−𝑎 2 𝑏 + 𝑎𝑏+𝑎2 𝑏 𝑎+𝑎𝑏
= 𝑎+ 1−𝑎𝑏
= 1−𝑎𝑏
= 1−𝑎𝑏
𝑎+𝑎𝑏 𝑏+𝑎𝑏
ดังนัน้ 𝑧−𝑤 = 1−𝑎𝑏
− 1−𝑎𝑏

=
𝑎 − 𝑏 𝑖 tan 22.5° − 𝑖 tan 7.5°
= 1−(𝑖 tan 22.5°)(𝑖 tan 7.5°) = 𝑖 tan(60° − 45°)
1−𝑎𝑏 𝑖 (tan 60° − tan 45°)
𝑖 (tan 22.5° − tan 7.5°)
𝑖 2 = −1 =
1+(tan 60°)(tan 45°)
= 1 + (tan 22.5°)(tan 7.5°) 𝑖(√3−1) √3−1
= 𝑖 tan(22.5° − 7.5°) = 𝑖 tan 15° = 1+√3

√3−1
𝑖(3−2√3+1)
=
2
( หรือถ้ าจาได้ วา่ tan 15° = 2 − √3 ก็ตอบเลย )
= 𝑖(2 − √3)

15. กาหนดให้ 𝐷 = { det 𝐴 | 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 4 × 4 ที่มีสมาชิกเป็ น 2 หรื อ −1 เท่านัน้ }


ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นสมาชิกของ 𝐷
ก. −135 ข. −136 ค. −137 ง. −138
ตอบ ก
เนื่องจาก 2 กับ −1 ต่างกันอยู่ 3 ดังนัน้ ถ้ าเอา 2 แถวใดๆมา “ลบ” กัน จะ “ดึง 3 เป็ นตัวร่วม” ออกได้ เสมอ
และเนื่องจากเมทริ กซ์ 4 × 4 จะ “ลบ 2 แถว” ได้ 3 ครัง้ ก่อนทีค่ า่ จะเปลีย่ น → จะดึง 3 เป็ นตัวร่วมได้ 3 ครัง้ เสมอ
2 −1 2 2 𝑅2 − 𝑅1 2 −1 2 2
2 −1 −1 −1 𝑅3 − 𝑅1 0 0 −3 −3 → ดึง 3 ออกได้
เช่น |
−1 2 2 −1
|
𝑅4 − 𝑅1
|
−3 3
|
0 −3 → ดึง 3 ออกได้
−1 2 −1 −1 = −3 3 −3 −3 → ดึง 3 ออกได้
2 −1 2 2
3 0 0 −1 −1
= 3 ∙| |
−1 1 0 −1
−1 1 −1 −1
ดังนัน้ ค่า det จะหารด้ วย 33 = 27 ลงตัวเสมอ ซึง่ จะมีแต่ ก. เท่านัน้ → −13527
= −5 → จะตอบ ก. เลยก็ได้
แต่ถ้าต้ องการพิสจู น์วา่ −135 สามารถเป็ นค่า det ได้ จริ งๆ ก็สามารถย้ อนกลับแนวคิดดังกล่าวได้ ดงั นี ้
5 ? ? ?
3 0 −1 0 0
−135 = (27)(−5) = 3 ∙| |
0 0 −1 0
0 0 0 −1 𝐶1 − 𝐶2 − 𝐶3 − 𝐶4 → 𝐶1
−1 2 2 2 (แตก 5 เป็ น −1 + 2 + 2+ 2)
3 1 −1 0 0
= 3 ∙| |
1 0 −1 0
1 0 0 −1 กระจาย 3 เข้ าไปใน 3 แถวล่าง
−1 2 2 2
3 −3 0 0
= | |
3 0 −3 0
𝑅1 + 𝑅2
3 0 0 −3
𝑅1 + 𝑅3
−1 2 2 2
𝑅1 + 𝑅4
2 −1 2 2
= | |
2 2 −1 2
2 2 2 −1
ดังนัน้ มีเมทริ กซ์ตามเงื่อนไข ที่ det = −135 → ตอบ ก.
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 21

3 7 𝑎
16. ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งซึง่ lim
x 0
(𝑥 2 +𝑥 + 𝑥 2 −𝑥 + 𝑥 3 −𝑥) = 𝑏 จงหาค่าของ 𝑎+𝑏

ตอบ −14
3 7 𝑎 3 7 𝑎
𝑥 2 +𝑥
+ 𝑥 2 −𝑥 + 𝑥 3 −𝑥 = 𝑥(𝑥+1)
+ 𝑥(𝑥−1) + 𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)

=
3(𝑥−1) + 7(𝑥+1) + 𝑎 ถ้ า 4 + 𝑎 ≠ 0 จะหาค่าลิมิตไม่ได้
𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)
10𝑥 + 4 + 𝑎
=
𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)
→ ถ้ า 𝑥 → 0 จะได้ 4+𝑎 0
แต่โจทย์ให้ หาลิมิตได้ = 𝑏 ดังนัน้ 4+𝑎= 0
10𝑥 𝑎 = −4
= 𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)
10 10
= (𝑥−1)(𝑥+1)
→ แทน 𝑥 → 0 ใหม่ จะได้ ลมิ ิต (−1)(1)
= −10
จะได้ 𝑏 = −10
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = −4 + −10 = −14

17. จงหาจานวนเต็มบวก 𝑛 ที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ จานวนเต็ม 111⋯1 ซึง่ ประกอบด้ วยเลขโดด 1 เป็ นจานวน 𝑛 ตัว หาร
ด้ วย 7 ลงตัว
ตอบ 6
15873 หารยาวไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะลงตัว
7 11111111…
7
เนื่องจากเศษจากการหารด้ วย 7 มีแค่ 7 แบบ (คือ 0, 1, 2, … , 6)
41 ดังนัน้ รับประกันได้ วา่ หารไม่เกิน 7 รอบ ต้ องรู้คาตอบ
35
61
(คือภายใน 7 รอบ ต้ องหารลงตัว หรื อไม่ก็วนซ ้าเศษตัวเดิมแบบไม่ร้ ูจบ)
56
51
49
21
21 จะเห็นว่าหารลงตัว เมื่อเศษ = 111111 → มี 1 จานวน 6 ตัว → 𝑛=6

18. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นจุดยอดทางด้ านหนึง่ ของไฮเพอร์ โบลา 𝑥 2 − 𝑦 2 = 3 และ 𝐵 และ 𝐶 เป็ นจุดสองจุดบนอีกด้ าน
หนึง่ ของไฮเพอร์ โบลาที่ทาให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นสามเหลีย่ มด้ านเท่า จงหาพื ้นที่ของสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶
ตอบ 9√3
2 2 𝐵(𝑎, 𝑏)
จัดรูป ได้ 𝑥3 − 𝑦3 = 1 → จะได้ จดุ ยอดคือ (±√3 , 0)
จากความสมมาตร ถ้ า พิกดั 𝐵 คือ (𝑎, 𝑏) จะได้ พิกดั 𝐶 คือ (𝑎, −𝑏) ดังรูป
𝐴(−√3 , 0)
∆ 𝐴𝐵𝐶 เป็ น ∆ ด้ านเท่า → 𝐴𝐵 = 𝐵𝐶
𝐶(𝑎, −𝑏)
√(𝑎 − (−√3) )2 + (𝑏 − 0)2 = 𝑏 − (−𝑏)
และเนื่องจาก (𝑎, 𝑏) อยูบ่ นไฮเพอร์ โบลา
√(𝑎 + √3)2 + 𝑏2 = 2𝑏 จึงต้ องสอดคล้ องกับสมการไฮเพอร์ โบลา
2 2
(𝑎 + √3) + 𝑏 = 4𝑏 2 𝑎2 − 𝑏 2 = 3
𝑎2 + 2√3𝑎 + 3 = 3𝑏 2 𝑎2 − 3 = 𝑏 2 …(∗)

𝑎2 + 2√3𝑎 + 3 = 3(𝑎2 − 3)
𝑎2 + 2√3𝑎 + 3 = 3𝑎2 − 9
22 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

0 = 2𝑎2 − 2√3𝑎 − 12
0 = 𝑎2 − √3𝑎 − 6
0 = (𝑎 + √3)(𝑎 − 2√3)
𝑎 = −√3 , 2√3 → (𝑎, 𝑏) อยูใ่ น 𝑄1 ดังนัน้ 𝑎, 𝑏 ต้ องเป็ นบวก
2
แทน 𝑎 = 2√3 ใน (∗) เพื่อหา 𝑏 จะได้ (2√3) − 3 = 𝑏 2
9 = 𝑏2
3 = 𝑏 (𝑏 ต้ องเป็ นบวก)
จะได้ 𝐵𝐶 = 𝑏 − (−𝑏) = 3 − (−3) = 6 ดังนัน้ พื ้นที่ ∆ 𝐴𝐵𝐶 = √43 × ด้ าน2 =
√3
4
(62 ) = 9√3

19. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จากเซตของจานวนเต็มไปยังเซตของจานวนตรรกยะซึง่ 𝑓(1) = 3 และ


1+𝑓(𝑥)
𝑓(𝑥 + 1) = 1−𝑓(𝑥) สาหรับแต่ละจานวนเต็ม 𝑥 จงหาจานวนเต็ม 𝑥 ทังหมดที ้ ่ทาให้ 𝑓(𝑥) < 0
ตอบ 4𝑛 + 2 , 4𝑛 + 3
ลองแทน 𝑥 เป็ นค่าต่างๆดู ดังนี ้
แทน 𝑥 = 1 จะได้ 𝑓(1 + 1) = 1+𝑓(1) 1−𝑓(1)
แทน 𝑥 = 3 จะได้ 𝑓(3 + 1) = 1+𝑓(3)
1−𝑓(3)
1+ 3 1
1+(− )
𝑓(2) = = −2 3 3−1 1
1− 3 𝑓(4) = 1 = 3+1
= 2
1−(− )
3
1+𝑓(2)
แทน 𝑥 = 2 จะได้ 𝑓(2 + 1) =
1−𝑓(2)
แทน 𝑥 = 4 จะได้ 𝑓(4 + 1) =
1+𝑓(4)
1−𝑓(4)
1+(−2) 1 1
𝑓(3) = = −3 1+ 2+1
2
1−(−2) 𝑓(5) = 1 = = 3
1− 2−1
2

จะเห็นว่า 𝑓(5) วนกลับไปเป็ น 3 เหมือน 𝑓(1)


เนื่องจากค่าของ 𝑓(𝑥 + 1) จะคานวณได้ จาก 𝑓(𝑥) ดังนัน้ ค่า 𝑓 จะวนซ ้าทุกๆ 4 ตัว ดังนี ้
𝑥 1 2 3 4 5 6 7 8 …
1 1 1 1
𝑓(𝑥) 3 → −2 → −3 → 2
3 → −2 → −3 → 2

(เมื่อ 𝑥 เป็ น 0 หรื อติดลบ จะคิดได้ โดยแทน 𝑥 = 0 หรื อติดลบ แล้ วแก้ สมการ จะได้ ผลในลักษณะเดียวกัน)
จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) < 0 เมื่อ 𝑥 เป็ นช่องที่ 2 หรื อ 3 ของแต่ละรอบ → 𝑥 = 4𝑛 + 2 , 4𝑛 + 3

20. กาหนดให้ สามี ภรรยา จานวน 4 คู่ มานัง่ รอบโต๊ ะกลม จงหาจานวนวิธีทงหมดในการจั
ั้ ดที่นงั่ โดยที่ผ้ ชู ายนัง่ สลับกับ
ผู้หญิง และ ไม่ให้ มีสามีภรรยาคูใ่ ดเลยนัง่ ติดกัน
ตอบ 12
ให้ สามี คือ H1 , H2 , H3 , H4 และ ภรรยา คือ W1 , W2 , W3 , W4 H1
เอา H1 ตอกไว้ ไม่ให้ วงหมุน H H
เนื่องจาก ชาย หญิง ต้ องนัง่ สลับกัน จึงเหลือที่นงั่ ให้ H2, H3, H4 แค่ 3 ที่
H
ดังนัน้ เลือกที่นงั่ ให้ H2, H3, H4 จะเลือกได้ 3! แบบ
ถัดมา W1 ต้ องไม่นงั่ ติดกับ H1 → เลือกได้ ซ้ ายล่าง หรื อไม่ก็ขวาล่าง ได้ 2 แบบ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 23

เนื่องจาก W2, W3, W4 มีที่นงั่ ที่ไม่ติดกับสามีของตน 2 แบบเช่นกัน ดังนัน้ เมื่อ W1 ได้ ที่นงั่ แล้ ว W1 จะแย่งที่นงั่ 1 ที่
จาก 2 ที่ของ W อีกคนไป ทาให้ W คนนัน้ ไม่เหลือทางเลือกและต้ องถูกบังคับนัง่ ซึง่ W คนนัน้ ก็จะไปแย่งที่นงั่ ของ W
คนอื่นต่อไปอีกเป็ นทอดๆ → เช่นกรณี W1 เลือกนัง่ ซ้ ายล่าง จะเป็ นดังนี ้
H1 H1 H1 H1
Wa Wa Wb Wa Wb
× ×
Hc Ha Hc Ha Hc Ha Hc Ha
×
W1 W1 W1 W1 Wc
Hb Hb Hb Hb
(กรณี W1 เลือกนัง่ ขวาล่าง ก็ทาแบบเดียวกัน แค่สลับซ้ ายขวา)
ดังนัน้ จะมี W1 แค่คนเดียว ที่มสี ทิ ธิเลือกที่นงั่ ได้ ได้ 2 แบบ → จะได้ จานวนแบบทังหมด
้ = 3! × 2 = 12 แบบ

21. ให้ 𝑆 และ 𝑇 แทนค่าสูงสุด และค่าตา่ สุดของ


(arcsin 𝑥)(arccos 𝑥) + (arccos 𝑥)(arccos 𝑦) + (arcsin 𝑥)(arcsin 𝑦) + (arcsin 𝑦)(arccos 𝑦)
เมื่อ 𝑥 และ 𝑦 อยูใ่ นช่วง [−1, 1] จงหาค่าของ 𝑆−𝑇
ตอบ 𝜋 2

จับกลุม่ ดึงตัวร่วมได้ ดงั นี ้


= arccos 𝑥(arcsin 𝑥 + arccos 𝑦) + arcsin 𝑦 (arcsin 𝑥 + arccos 𝑦)
= (arccos 𝑥 + arcsin 𝑦)( arcsin 𝑥 + arccos 𝑦) เปลี่ยน arccos เป็ น arcsin
𝜋
= ( 2 − arcsin 𝑥 + arcsin 𝑦)(arcsin 𝑥 + 2 − arcsin 𝑦) ด้ วยกฎ arcsin 𝜃 + arccos 𝜃 = 2
𝜋 𝜋

𝜋 𝜋
= ( − (arcsin 𝑥 − arcsin 𝑦))( + (arcsin 𝑥 − arcsin 𝑦))
2 2
𝜋 2 (น − ล)(น + ล) = น2 − ล2
= ( ) − (arcsin 𝑥 − arcsin 𝑦)2
2
𝜋 2
ค่าสูงสุด 𝑆 จะเกิดเมื่อ (arcsin 𝑥 − arcsin 𝑦)2 ต่าสุด นัน่ คือเมื่อ arcsin 𝑥 = arcsin 𝑦 จะได้ 𝑆 = (2)
𝜋 𝜋
ค่าตา่ สุด 𝑇 จะเกิดเมื่อ (arcsin 𝑥 − arcsin 𝑦)2 มากสุด เช่นเมื่อ arcsin 𝑥 = 2 และ arcsin 𝑦 = − 2
2
𝜋 2 𝜋 𝜋 𝜋 2
จะได้ 𝑇 = ( 2 ) − ( 2 − (− 2 )) = ( 2 ) − 𝜋 2
𝜋 2 𝜋 2
ดังนัน้ 𝑆 − 𝑇 = ( ) − (( ) − 𝜋 2 ) = 𝜋 2
2 2

22. กาหนดให้ 𝑋 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} จงหาจานวนสับเซตของ 𝑋 ทังหมดซึ ้ ง่ สมาชิกในสับเซตนี ้มีจานวนคี่


มากกว่าจานวนคู่
ตอบ 256
จะพยายามโยงเข้ าไปหาเซตที่เล็กกว่า คือ 𝑌 = {1, 2, 3, … , 8} แบบไม่มี 9
จากสูตรจานวนสับเซต = 2𝑛(𝐴) จะได้ จานวนสับเซตทังหมดของ ้ 𝑌 คือ 28 = 256
จะแบ่งสับเซตของ 𝑌 ทัง้ 256 สับเซต เป็ น 3 กลุม่ คือ (1) สับเซตของ 𝑌 ที่มีจานวนคี่ มากกว่า จานวนคู่
(2) สับเซตของ 𝑌 ที่มีจานวนคี่ น้ อยกว่า จานวนคู่
(3) สับเซตของ 𝑌 ที่มีจานวนคี่ เท่ากับ จานวนคู่
(1) กับ (2) จะมีจานวนเท่ากัน (เนื่องจาก {1, 2, 3, … , 8} มีเลขคูก่ บั เลขคี่อย่างละ 4 ตัวเท่าๆกัน + หลักความสมมาตร)
ให้ (1) และ (2) มีอย่างละ 𝑎 สับเซต และให้ (3) มี 𝑏 สับเซต ดังนัน้ 2𝑎 + 𝑏 = 256 …(∗)
(จะเห็นว่า 𝑋 = {1, 2, 3, … , 8, 9} มีจานวนคี่ มากกว่า จานวนคู่ จึงใช้ หลักความสมมาตรไม่ได้ )
24 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

โจทย์ถาม จานวนสับเซตของ 𝑋 = {1, 2, 3, … , 8, 9} ที่มีจานวนคี่ มากกว่า จานวนคู่


จะแบ่งสับเซตของ 𝑋 ที่มี จานวนคี่ มากกว่า จานวนคู่ ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
(4) สับเซตของ 𝑋 ที่มีจานวนคี่ มากกว่า จานวนคู่ และไม่มี 9 เป็ นสมาชิก
(5) สับเซตของ 𝑋 ที่มีจานวนคี่ มากกว่า จานวนคู่ และ มี 9 เป็ นสมาชิก
เนื่องจาก (4) ไม่มี 9 เป็ นสมาชิก ดังนัน้ (4) ของ 𝑋 จะมีจานวนเท่ากับ (1) ของ 𝑌 → (4) มี 𝑎 สับเซต
และสาหรับ (5) จะเห็นว่า ถ้ าตัด 9 ที่เป็ นสมาชิกออก จะกลายเป็ น สับเซตที่มีจานวนคี่ มากกว่าหรื อเท่ากับ จานวนคู่
ดังนัน้ (5) จะมีจานวนเท่ากับ (1) + (3) → (5) มี 𝑎 + 𝑏 สับเซต
จานวนคี่ > จานวนคู่
(1) คือ มากกว่า , (3) คือเท่ากับ จานวนคี่ − 1 ≥ จานวนคู่
ดังนัน้ (4) + (5) จะมี = 𝑎 + 𝑎 + 𝑏 = 2𝑎 + 𝑏
จาก (∗)
= 256

23. จงหาคาตอบที่เป็ นจานวนจริ งทังหมดของสมการ


้ 2(log10 𝑥)−1 + 𝑥 − log10 2 = 4.125
ตอบ 0.01 , 1000
2log10 𝑥 1
21
+ 𝑥 log10 2 = 4.125
𝑚log𝑎 𝑛 = 𝑛log𝑛 𝑚
2log10 𝑥 1
2
+ 2log10 𝑥 = 4.125
𝑎 1
ให้ 𝑎 = 2log10 𝑥
+ = 4.125 1
2 𝑎 2log10 𝑥 = 4
, 8
2
4𝑎 + 8 = 33𝑎 log10 𝑥
2 = 2 , 23
−2
4𝑎2 − 33𝑎 + 8 = 0
log10 𝑥 = −2 , 3
(4𝑎 − 1)(𝑎 − 8) = 0
1 𝑥 = 10−2 , 103
𝑎 = , 8 𝑥 = 0.01 , 1000
4

24. กาหนดตารางแจกแจงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียน 30 คน คะแนน จานวนนักเรี ยน (คน)


เป็ นดังนี ้ 20 – 39 3
สาหรับ 𝑖 = 1, 2,3, 4 ให้ 𝑥𝑖 และ 𝑓𝑖 เป็ นจุดกึง่ กลางของอันตรภาค 40 – 59 8
60 – 79 13
ชันที
้ ่ 𝑖 และความถี่ของอันตรภาคชันที
้ ่ 𝑖 ตามลาดับ 80 – 99 6
4 4
ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นค่าคงที่ซงึ่ ทาให้  𝑓𝑖 (𝑥𝑖 − 𝑎)2 +  𝑓𝑖 |𝑥𝑖 − 𝑏| มีคา่ ตา่ สุด จงหาค่าของ 𝑎−𝑏
i 1 i 1
16
ตอบ − 3
4 4
จากสมบัติของค่ากลาง จะได้  𝑓𝑖 (𝑥𝑖 − 𝑎)2 ต่าสุดเมื่อ 𝑎 = 𝑥̅ และ  𝑓𝑖 |𝑥𝑖 − 𝑏| ต่าสุดเมื่อ 𝑏 = Med
i 1 i 1

สิง่ ที่ต้องระวังของข้ อนี ้ คือ ต้ องหา 𝑏 จาก Med ของข้ อมูล 𝑥𝑖 ไม่ใช่จากตารางอันตรภาคชันที
้ ่โจทย์กาหนด
หา 𝑥̅ โดยวิธีลดทอนข้ อมูล (หาตรงๆก็ได้ แต่คิดเลขเยอะ)
𝑥𝑖 𝑓𝑖 𝑥𝑖 −69.5 𝑓𝑖 𝑑𝑖
𝑑𝑖 = 20
29.5 3 −2 −6 8
49.5 8 −1 −8
จะได้ 𝑑̅ = −
30
69.5 13 0 0 𝑥̅ – 69.5 8
ดังนัน้ = − 30
89.5 6 1 6 20
16
30 −8 𝑥̅ = − + 69.5 = 𝑎
3
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 25

หา Med จากความถี่สะสม
𝑥𝑖 𝑓𝑖 𝐹𝑖
29.5 3 3 ข้ อมูลไม่ได้ เป็ นอันตรภาคชัน้ → ใช้ 𝑁 + 1 เป็ นตัวหาร
49.5 8 11 จะได้ Med อยูต่ วั ที่ 30+1 = 15.5 → อยูช่ นที
ั ้ ่ 3 (𝐹𝑖 เริ่ มเกิน 15.5 ในชันที
้ ่ 3)
69.5 13 24 2
89.5 6 30 จะได้ Med = 69.5 = 𝑏
16 16
ดังนัน้ 𝑎−𝑏 = −
3
+ 69.5 − 69.5 = −
3

25. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}


จงหาจานวนฟั งก์ชนั 𝑓 : 𝐴 → 𝐴 ทังหมดซึ
้ ง่ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑛))) = 𝑛 ทุก 𝑛 ∈ 𝐴
ตอบ 351
ให้ 𝑎 ∈ 𝐴 : กรณี 𝑓(𝑎) = 𝑎 จะทาให้ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑎))) = 𝑓(𝑓( 𝑎 ))
= 𝑓( 𝑎 )
= 𝑎 สอดคล้ องกับเงื่อนไข
กรณี 𝑓(𝑎) ≠ 𝑎 สมมติให้ 𝑓(𝑎) = 𝑏 เมื่อ 𝑏≠𝑎
จะเห็นว่า 𝑓(𝑏) = 𝑎 ไม่ได้ และ 𝑓(𝑏) = 𝑏 ไม่ได้
ไม่งนั ้ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑎))) = 𝑓(𝑓( 𝑏 )) ไม่งนั ้ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑎))) = 𝑓(𝑓( 𝑏 ))
= 𝑓( 𝑎 ) = 𝑓( 𝑏 )
= 𝑏 = 𝑏
นัน่ คือ จะย้ อนไปซ ้า 𝑎 หรื อ 𝑏 ไม่ได้ → ให้ 𝑓(𝑏) = 𝑐 เมื่อ 𝑐 ≠ 𝑎 และ 𝑐 ≠ 𝑏
𝑓(𝑏)
𝑎, 𝑏, 𝑐 ครบ 3 ตัวแล้ ว ดังนัน้ 𝑓(𝑐) ต้ องย้ อนกลับไปเป็ น 𝑎เพื่อให้ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑎))) = 𝑓(𝑓( 𝑏 ))
= 𝑓( 𝑐 )
= 𝑎
ดังนัน้ การจับคูใ่ น 𝑓 จะมีได้ แค่ 2 แบบ คือ “ไปที่ตวั เดิม” 𝑓(𝑎) = 𝑎 กับ “กลุม่ หมุน 3 ตัว” 𝑓(𝑎) = 𝑏
𝑓(𝑏) = 𝑐
→ จะแบ่งกรณีนบ ั 𝑓 ตามกลุม่ พวกนี ้ 𝑓(𝑐) = 𝑎

กรณีที่ 𝑓 ไม่มี กลุม่ หมุน : แสดงว่า 𝑓(𝑎) = 𝑎 ทุก 𝑎 ∈ 𝐴 → มี 1 แบบ


้ ่ 1 เลือก 3 ตัวทีจ่ ะใช้ ในกลุม่ หมุนได้ (73) = 7∙6∙5
กรณีที่ 𝑓 มีกลุม่ หมุน 1 กลุม่ : ขันที 3∙2
= 35 วิธี
ขันที
้ ่ 2 เรี ยง 3 ตัวในขันที
้ ่ 1 เป็ นวงกลม ได้ (3 − 1)! = 2 วิธี
(ที่เหลืออีก 4 ตัว ต้ องโยงไปที่ตวั เดิม เลือกไม่ได้ )
รวมจานวนแบบ = 35 × 2 = 70 แบบ
7∙6∙5 4∙3∙2
(73)(43) ∙
กรณีที่ 𝑓 มีกลุม่ หมุน 2 กลุม่ : ขันที
้ ่ 1 เลือกตัวทีจ่ ะใช้ ใน 2 กลุม่ หมุน จะได้ 2! = 2! = 70 วิธี
3∙2 3∙2

ขันที
้ ่ 2 เรี ยงกลุม่ หมุนทัง้ 2 กลุม่ เป็ นวงกลม ได้ (3 − 1)! (3 − 1)! = 4 วิธี
(ที่เหลืออีก 1 ตัว ต้ องโยงไปที่ตวั เดิม เลือกไม่ได้ )
รวมจานวนแบบ = 70 × 4 = 280 แบบ
รวมทุกกรณี จะได้ จานวนฟั งก์ชนั 𝑓 คือ 1 + 70 + 280 = 351 ฟั งก์ชนั
26 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

26. ให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นพจน์ที่เรี ยงกันในลาดับเลขคณิตของจานวนเต็ม โดยที่ 𝑝 เป็ นจานวนเฉพาะ


และ 𝑝2 + 𝑞𝑟 = 𝑝𝑟 + 46 จงหาค่าของ 𝑝𝑞𝑟
ตอบ 28
ให้ ผลต่างร่วม = 𝑑 ดังนัน้ 𝑞 = 𝑝 + 𝑑 และ 𝑟 = 𝑝 + 2𝑑
แทนใน 𝑝2 + 𝑞𝑟 = 𝑝𝑟 + 46
𝑝2 + (𝑝 + 𝑑)(𝑝 + 2𝑑) = 𝑝(𝑝 + 2𝑑) + 46 จัดเป็ นสมการกาลังสองที่มี 𝑝 เป็ นตัวแปร
𝑝2 + 𝑝2 + 3𝑑𝑝 + 2𝑑 2 = 𝑝2 + 2𝑑𝑝 + 46 แล้ วใช้ สตู ร −𝑏±√𝑏 2 −4𝑎𝑐
2𝑎
𝑝2 + 𝑑𝑝 + 2𝑑2 − 46 = 0
−𝑑 ± √𝑑 2 −4(2𝑑 2 −46) −𝑑 ± √184−7𝑑2
𝑝 = 2
= 2
…(∗)

พิจารณา √184 − 7𝑑2 → เนื่องจาก ในรูทต้ อง ≥ 0 และ 𝑑2 ≥ 0 ดังนัน้ 0 ≤ 184 − 7𝑑2 ≤ 184
เนื่องจาก 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ 𝑑 ต้ องเป็ นจานวนเต็ม ซึง่ จะทาให้ 184 − 7𝑑2 ต้ องถอดรูทลงตัว
ดังนัน้ ค่าทีเ่ ป็ นไปได้ ของ 184 − 7𝑑2 จะมีแค่ 02 , 12 , 22 , 32 , … , 132 (142 = 196 จะเกิน 184)
และเนื่องจาก 184 หารด้ วย 7 เหลือเศษ 2 และ 7𝑑2 หารด้ วย 7 ลงตัว ดังนัน้ 184 − 7𝑑2 หารด้ วย 7 เหลือเศษ 2
และใน 02, 12, 22, … , 62 จะมีแค่ 32 กับ 42 เท่านัน้ ที่หารด้ วย 7 เหลือเศษ 2
ดังนัน้ 184 − 7𝑑2 ต้ องอยูใ่ นรูป (7𝑘 + 3)2 หรื อ (7𝑘 + 4)2 เท่านัน้
ดังนัน้ ค่าทีเ่ ป็ นไปได้ ของ 184 − 7𝑑2 จะเหลือแค่ 32 , 42 , 102 , 112
184 − 7𝑑2 = 32 184 − 7𝑑2 = 42 184 − 7𝑑2 = 102 184 − 7𝑑2 = 112
175 = 7𝑑2 168 = 7𝑑2 84 = 7𝑑2 63 = 7𝑑2
25 = 𝑑2 24 = 𝑑2 12 = 𝑑2 9 = 𝑑2
±5 = 𝑑 ไม่ลงตัว ไม่ลงตัว ±3 = 𝑑
แทนใน (∗) แทนใน (∗)
−(±5) ± 3 −(±3) ± 11
𝑝 = 2
𝑝 = 2
ไม่เป็ นจานวนเฉพาะ จะเห็นว่า −(−3)+ 11
= 7 เป็ นจานวนเฉพาะ
2
ดังนัน้ จะได้ 𝑑 = −3 , 𝑝 = 7
จะได้ 𝑝𝑞𝑟 = (7)(4)(1) = 28

27. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับสมการ 𝑥 2 + 5⌈𝑥⌉ + 4 = 0 เมื่อ ⌈𝑥⌉ คือจานวนเต็มที่น้อยที่สดุ ที่
มากกว่าหรื อเท่ากับ 𝑥
ตอบ −1 , −√6 , −√11 , −4
จะแบ่งกรณีให้ สามารถหาค่าของ ⌈𝑥⌉ ได้
กรณี 𝑥 ∈ (−1, ∞) : จะได้ ⌈𝑥⌉ ≥ 0 ซึง่ จะเห็นว่า 𝑥 2 + 5⌈𝑥⌉ + 4 ≥ 𝑥 2 + 4 ≥ 4 ไม่มีทาง = 0
ดังนัน้ กรณีนี ้ สมการจะไม่มคี าตอบ
กรณี 𝑥 ∈ (−2, −1] : จะได้ ⌈𝑥⌉ = −1 จะได้ สมการกลายเป็ น 𝑥 2 + 5(−1) + 4 = 0
𝑥2 = 1
𝑥 = ±1
ดังนัน้ ในช่วง (−2, −1] จะได้ คาตอบคือ −1
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 27

กรณี 𝑥 ∈ (−3, −2] : จะได้ ⌈𝑥⌉ = −2 จะได้ สมการกลายเป็ น 𝑥 2 + 5(−2) + 4 = 0


𝑥2 = 6
𝑥 = ±√6
ดังนัน้ ในช่วง (−3, −2] จะได้ คาตอบคือ −√6 (√4 < √6 < √9)
กรณี 𝑥 ∈ (−4, −3] : จะได้ ⌈𝑥⌉ = −3 จะได้ สมการกลายเป็ น 𝑥 2 + 5(−3) + 4 = 0
𝑥2 = 11
𝑥 = ±√11
ดังนัน้ ในช่วง (−4, −3] จะได้ คาตอบคือ −√11 (√9 < √11 < √16)
กรณี 𝑥 ∈ (−5, −4] : จะได้ ⌈𝑥⌉ = −4 จะได้ สมการกลายเป็ น 𝑥 2 + 5(−4) + 4 = 0
𝑥2 = 16
𝑥 = ±4
ดังนัน้ ในช่วง (−5, −4] จะได้ คาตอบคือ −4
กรณี 𝑥 ∈ (−∞, −5] : จาก 𝑥 ≤ −5 คูณ 𝑥 ตลอด (𝑥 เป็ นลบ ต้ องกลับ น้ อยกว่า เป็ น มากกว่า)
𝑥2 ≥ −5𝑥
𝑥 2 + 5𝑥 ≥ 0 …(∗)
และจาก ⌈𝑥⌉ ≥ 𝑥 (⌈𝑥⌉ คือจานวนเต็มที่น้อยที่สดุ ที่ ≥ 𝑥)
จะได้ 𝑥 2 + 5⌈𝑥⌉ + 4 ≥ 𝑥 2 + 5𝑥 + 4 ≥ 4 (จาก (∗)) ไม่มีทาง = 0
ดังนัน้ กรณีนี ้ สมการจะไม่มคี าตอบ
รวมทุกกรณี จะได้ คาตอบคือ −1 , −√6 , −√11 , −4

𝐹𝑛
28. จงหาค่าของอนุกรมอนันต์ที่ลเู่ ข้ าต่อไปนี ้  2 𝑛
n 1

เมื่อ {𝐹𝑛 } เป็ นลาดับฟิ โบนักชีนิยามโดย 𝐹1 = 𝐹2 = 1 และ 𝐹𝑛 = 𝐹𝑛−1 + 𝐹𝑛−2 𝑛 ≥ 3


ตอบ 2
𝐹1 𝐹 𝐹3 𝐹 𝐹5
21
+ 222 + 23
+ 244 + 25
+… = 𝑥 …(1)
𝐹2 𝐹 𝐹4 𝐹
คูณ 2 ตลอด ให้ ตาแหน่งเลื่อน
𝐹1 + 21
+ 232 + 23
+ 254 + … = 2𝑥 …(2)
𝐹2 −𝐹1 𝐹 −𝐹 𝐹4 −𝐹3 𝐹 −𝐹
(2) − (1) : 𝐹1 + 21
+ 322 2 + 23
+ 523 4 + … = 𝑥
𝐹 𝐹2 𝐹
𝐹1 + 0 + 212 + 23
+ 234 + … = 𝑥
1 𝐹 𝐹2 𝐹
𝐹1 + 2 ( 212 + 23
+ 234 + …) = 𝑥
1
1 + ( 𝑥 ) = 𝑥
2 คูณ 2 ตลอด
2 + 𝑥 = 2𝑥
2 = 𝑥
28 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

29. คณะกรรมการชุดหนึง่ ประกอบไปด้ วยกรรมการ 20 คน ซึง่ ทุกคนต้ องโหวตจัดอันดับนักเตะสามคน ได้ แก่ เมสซี่
โรนัลโด้ และ ชัวเรส โดยที่กรรมการแต่ละคนจะเลือกจัดอันดับได้ คนละแบบเท่านัน้ ผลปรากฏว่า กรรมการ 11 คนให้
เมสซี่เหนือกว่าโรนัลโด้ กรรมการ 12 คนจัดให้ ชวั เรสเหนือกว่าเมสซี่ และกรรมการอย่างน้ อย 14 คนให้ โรนัลโด้
เหนือกว่าชัวเรส ถ้ าแต่ละการจัดอันดับที่เป็ นไปได้ ของนักเตะทังสามคน
้ (ซึง่ มีอยู่ 6 แบบ) ถูกเลือกโดยกรรมการอย่าง
น้ อยหนึง่ คน จงหาว่ามีกรรมการจานวนกี่คนที่โหวตให้ โรนัลโด้ ได้ อยูใ่ นอันดับที่ 1
ตอบ 8
อันดับ จานวนกรรมการ ให้ การจัดอันดับ เมสซี่ (M) โรนัลโด้ (R) และ ชัวเรส (S) ถูกเลือกดังตาราง
M,R,S 𝑎 มีกรรมการ 20 คน → 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 + 𝑒 + 𝑓 = 20 …(1)
M,S,R 𝑏
R,M,S 𝑐 11 คน ให้ M เหนือ R → 𝑎+𝑏+𝑒 = 11 …(2)
R,S,M 𝑑 12 คน ให้ S เหนือ M → 𝑑+𝑒+𝑓 = 12 …(3)
S,M,R 𝑒
S,R,M 𝑓 อย่างน้ อย 14 คน ให้ R เหนือ S → 𝑎 + 𝑐 + 𝑑 ≥ 14 …(4)

เอา (4) ไปแทนใน (1) : 20 = 𝑎+𝑏+𝑐+𝑑+𝑒+𝑓 (2) + (3) − (1) : 𝑒 − 𝑐 = 3


20 = (𝑎 + 𝑐 + 𝑑) + 𝑏 + 𝑒 + 𝑓 𝑒 = 𝑐 + 3 …(5)
20 ≥ 14 +𝑏+𝑒+𝑓
6 ≥ 𝑏+𝑒+𝑓
6 ≥ 𝑏 + (𝑐 + 3) + 𝑓
3 ≥ 𝑏+ 𝑐 +𝑓
เป็ นไปได้ แบบเดียว คือ 𝑏 = 𝑐 = 𝑓 = 1
แต่ทกุ แบบ ถูกเลือกอย่างน้ อย 1 คน ดังนัน้ 𝑏≥1, 𝑐≥1, 𝑓≥1
แทนใน (5) : 𝑒 = 1 + 3 = 4
แทนใน (3) : 𝑑 + 4 + 1 = 12
𝑑 = 7
ดังนัน้ คนที่โหวต R เป็ นที่ 1 จะมี 𝑐 + 𝑑 = 1 + 7 = 8 คน

30. จงหาสมการของพาราโบลาคว่าที่ผา่ นจุดกาเนิดและจุด (2, 4) ที่ทาให้ พื ้นที่ใต้ กราฟพาราโบลารูปนี ้เมื่อเทียบกับ


แกน 𝑋 มีคา่ น้ อยที่สดุ
ตอบ 𝑦 = −2𝑥 2 + 6𝑥
ให้ สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 → กราฟควา่ จะได้ 𝑎 < 0
→ ผ่านจุด (0, 0) จะได้ 0 = 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 𝑐 → ผ่านจุด (2, 4) จะได้ 4 = 𝑎(22 ) + 𝑏(2)
0= 𝑐 4 = 4𝑎 + 2𝑏
2 = 2𝑎 + 𝑏
เหลือ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥
2 − 2𝑎 = 𝑏 …(∗)
𝑎 เป็ นลบ ดังนัน้ 𝑏 จะเป็ นบวก

หาพื ้นที่ใต้ กราฟเทียบกับแกน 𝑋 ต้ องอินทิเกรตระหว่าง จุดตัดแกน 𝑋


0 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥
แทน 𝑦 = 0 0 = 𝑥(𝑎𝑥 + 𝑏)
𝑏
𝑥 = 0 , −𝑎
b

a 𝑏 𝑎 เป็ นลบ 𝑏 เป็ นบวก
𝑎𝑥 3 𝑏𝑥 2 − 𝑎
จะได้ พื ้นที่ใต้ กราฟ =  𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 𝑑𝑥 =2
3
+ 2
| −
𝑏
จะเป็ นบวก
0 𝑎
0
𝑎 𝑏 3 𝑏 𝑏 2 𝑏3 𝑏3 𝑏3
= 3
(− 𝑎) + 2 (− 𝑎) − 0 = − 3𝑎2 + 2𝑎2 = 6𝑎 2
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 29

3 3 3 3
แทน 𝑏 = 2 − 2𝑎 จาก (∗) จะได้ พื ้นที่ = (2−2𝑎) 6𝑎 2
2 (1−𝑎)
= 6𝑎2 = 3𝑎2
4(1−𝑎)

โจทย์ถามพื ้นที่น้อยสุด ต้ องดิฟแล้ วดูจดุ ที่อนุพนั ธ์เปลีย่ นจาก ลบ เป็ น บวก


𝑑 𝑑
3𝑎 2 12(1−𝑎)2 (−1) − 4(1−𝑎)3 6𝑎 𝑑 บน (ล่าง∙ บน)−(บน∙𝑑𝑥 ล่าง)
ดิฟพื ้นที่ = 9𝑎 4
( )
𝑑𝑥 ล่าง
= 𝑑𝑥
ล่าง 2

=
−12𝑎(1−𝑎)2 (3𝑎 + 2(1−𝑎)) วงเล็บกาลังคู่
9𝑎 4
→ ไม่ต้องสลับ มีลบอยูห ่ น้ าสุด
4(1−𝑎)2 (𝑎 + 2)
= − 3𝑎 3
− + − − → เริ่ มที่ ลบ

−2 0 1
จะเห็นว่าอนุพนั ธ์เปลีย่ นจากลบเป็ นบวก เมื่อ 𝑎 = −2 → แทนใน (∗) ได้ 𝑏 = 2 − 2(−2) = 6
จะได้ สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = −2𝑥 2 + 6𝑥

31. ให้ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 ให้ 𝐼𝑛 แทนเมทริ กซ์เอกลักษณ์ขนาด 𝑛 × 𝑛 และ 𝐽𝑛 แทนเมทริ กซ์ขนาด
𝑛 × 𝑛 ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็ น 1 จงหาจานวนเต็มบวก 𝑘 ที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ มจี านวนเฉพาะ 𝑝 สอดคล้ องกับ
สมการ det(𝑝𝐼𝑛 + 𝑘𝐽𝑛 ) = 672
ตอบ 8
หมายเหตุ : ข้ อนี ้ โจทย์ควรระบุตวั บ่งปริ มาณให้ 𝑛 ด้ วย โจทย์ควรจะถามค่า 𝑘 ที่น้อยที่สดุ “สาหรับ 𝑛 บางตัว” สาหรับ 𝑝
บางตัว ที่สอดคล้ องกับสมการ det(𝑝𝐼𝑛 + 𝑘𝐽𝑛 ) = 672
1 0 0 ⋯ 0 1 1 11 𝑝+𝑘
⋯ 𝑘 𝑘 ⋯ 𝑘
0 1 0 ⋯ 0 1 1 11 ⋯𝑘 𝑝 + 𝑘 𝑘 ⋯ 𝑘
𝑝𝐼𝑛 + 𝑘𝐽𝑛 = 𝑝 0 0 1 ⋯ 0 +𝑘 1 1 11 = ⋯𝑘 𝑘 𝑝+𝑘 ⋯ 𝑘
⋮ ⋮ ⋮ ⋱ ⋮ ⋮ ⋮ ⋮⋮ ⋱⋮ ⋮ ⋮ ⋱ ⋮
[0 0 0 ⋯ 1] [1 1 11] [ 𝑘⋯ 𝑘 𝑘 ⋯ 𝑝 + 𝑘]
𝑝+𝑘 𝑘 𝑘 𝑘 ⋯ 𝑘
−𝑝 𝑝 0 0 ⋯ 0
| −𝑝 0 𝑝 0 ⋯ 0|
จะเปลีย่ นรูปให้ มี 0 เยอะๆ : | 𝑝𝐼𝑛 + 𝑘𝐽𝑛 | ทุกแถว − 𝑅1
| −𝑝 0 0 𝑝 ⋯ 0|
~
⋮ ⋮ ⋮ ⋮ ⋱ ⋮
−𝑝 0 0 0 ⋯ 𝑝
𝑝 + 𝑛𝑘 𝑘 𝑘 𝑘 ⋯ 𝑘
0 𝑝 0 0 ⋯ 0
| 0 0 𝑝 0 ⋯ 0|
𝐶1 + ทุกแถว
| 0 0 0 𝑝 ⋯ 0|
~
⋮ ⋮ ⋮ ⋮ ⋱ ⋮
0 0 0 0 ⋯ 𝑝
ใต้ เส้ นทแยงมุมหลักเป้น 0 หมด → det = ผลคูณเส้ นทแยงมุมหลัก = (𝑝 + 𝑛𝑘) 𝑝𝑛−1
ดังนัน้ ต้ องหา 𝑘 ที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ (𝑝 + 𝑛𝑘) 𝑝𝑛−1 = 672 → ต้ องให้ 𝑝 กับ 𝑛 มากๆ ถึงจะได้ 𝑘 น้ อยๆ
แยกตัวประกอบ 672 จะได้ 25 ∙ 3 ∙ 7 ดังนัน้ 𝑝 เป็ น 2 , 3 , 7 ได้ เท่านัน้
กรณี 𝑝 = 2 จะได้ (2 + 𝑛𝑘)2𝑛−1 = 25 ∙ 3 ∙ 7 → 𝑛 มากสุดคือ 6
กรณี 𝑛 = 6 จะได้ (2 + 6𝑘)25 = 25 ∙ 3 ∙ 7 → 2 + 6𝑘 = 21 → 𝑘 = 196 ไม่เป็ นจานวนเต็ม
กรณี 𝑛 = 5 จะได้ (2 + 5𝑘)24 = 25 ∙ 3 ∙ 7 → 2 + 5𝑘 = 42 → 𝑘 = 8
กรณี 𝑛 น้ อยกว่านี ้ ไม่ต้องทาแล้ ว เพราะไม่มีทางได้ 𝑘 < 8 แล้ ว (𝑛 ยิ่งน้ อย 𝑘 จะยิ่งมาก)
30 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59)

กรณี 𝑝 = 7 จะได้ (7 + 𝑛𝑘)7𝑛−1 = 25 ∙ 3 ∙ 7 → 𝑛 มากสุดแค่ 2


กรณี 𝑛 = 2 จะได้ (7 + 2𝑘)71 = 25 ∙ 3 ∙ 7 → 7 + 2𝑘 = 96 → 𝑘 = 892 ไม่เป็ นจานวนเต็ม
กรณี 𝑛 น้ อยกว่านี ้ ไม่ต้องทาแล้ ว เพราะไม่มีทางได้ 𝑘 < 892 → ไม่มีทางได้ 𝑘 < 8
กรณี 𝑝 = 3 จะได้ (3 + 𝑛𝑘)3𝑛−1 = 25 ∙ 3 ∙ 7 → 𝑛 มากสุดแค่ 2
ไม่ต้องทาแล้ ว เพราะ 𝑛 มากสุดแค่ 2 เหมือนกรณี 𝑝 = 7 (𝑝 ยิ่งน้ อย 𝑘 จะยิ่งมาก)
จะได้ 𝑘 น้ อยสุด คือ 8

32. สุม่ เลือกจานวนเต็มบวกจากเซต {1, 2, … , 50} มาหนึง่ จานวน จงหาความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้ จานวนเต็มบวก 𝑁 ซึง่
𝑁 − 2 หาร 𝑁 5 + 𝑁 4 + 𝑁 3 + 𝑁 2 + 𝑁 + 2 ลงตัว
7
ตอบ 50
จากทฤษฎีเศษ 𝑁 − 2 หาร 𝑁 5 + 𝑁 4 + 𝑁 3 + 𝑁 2 + 𝑁 + 2 เหลือเศษ = 25 + 24 + 23 + 22 + 2 + 2
= 32 +16 + 8 + 4 + 2 + 2 = 64
ดังนัน้ จะหารลงตัว เมื่อ 𝑁−2 หาร 64 ลงตัว ดังนี ้
𝑁 − 2 = ±1 , ±2 , ±4 , ±8 , ±16 , ±32 , ±64
𝑁 = ±1+2 , ±2+2 , ±4+2 , ±8+2 , ±16+2 , ±32+2 , ±64+2 เลือกเฉพาะที่อยูใ่ น
= 1,3 , 4 , 6 , 10 , 18 , 34
7 {1, 2, 3, … , 50}
→ มี 7 ตัว ดังนัน้ ความน่าจะเป็ น = 50

1
33. กาหนดให้ 𝑃1 = 2559 และ 𝑃𝑛 = 1 + (𝑃1 𝑃2 ⋯ 𝑃𝑛−1 ) เมื่อ 𝑛 = 2, 3, 4, … จงหาค่าของ 
n 1 𝑃𝑛
2
ตอบ 2559
1
จัดรูป 𝑃𝑛
ให้ เป็ นผลลบ เพื่อทาเทเลสโคปิ ค 𝑃𝑛 = 1 + (𝑃1 𝑃2 ⋯ 𝑃𝑛−1 )
𝑃𝑛
=
1
+
𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛−1 ÷ 𝑃1 𝑃2 ⋯ 𝑃𝑛 ตลอด
𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛 𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛 𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛
1 1 1
= +
𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛−1 𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛 𝑃𝑛
1 1 1
𝑃1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛−1
−𝑃 =
1 𝑃2 ⋯𝑃𝑛 𝑃𝑛

1 1 1 1 1
ดังนัน้  𝑃
= 𝑃1
+ 𝑃2
+ 𝑃3
+ 𝑃4
+…
n 1 𝑛
1 1 1 1 1 1 1
= 𝑃1
+ (𝑃 − 𝑃 ) + (𝑃 −𝑃 ) +(𝑃 −𝑃 )+…
1 1 𝑃2 1 𝑃2 1 𝑃2 𝑃3 1 𝑃2 𝑃3 1 𝑃2 𝑃3 𝑃4
1 1 1 1 1 1 1
= 𝑃1
+ 𝑃1
−𝑃 + −𝑃 +𝑃 −𝑃 +…
1 𝑃2 𝑃1 𝑃2 1 𝑃2 𝑃3 1 𝑃2 𝑃3 1 𝑃2 𝑃3 𝑃4

1 1 2 2
เหลือผลบวก = 𝑃1
+𝑃 = 𝑃1
= 2559
1
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 59) 31

34. จงหาพหุนาม 𝑝(𝑥) ที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนเต็ม และสอดคล้ องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้


(i) 𝑝(√2 + √3) = 0 และ
3

(ii) 𝑝(𝑥) เป็ นพหุนามดีกรี 6 โดยที่สม ั ประสิทธิ์ของ 𝑥 6 เท่ากับ 1


ตอบ 𝑥 6 − 9𝑥 4 − 4𝑥 3 + 27𝑥 2 − 36𝑥 − 23
ให้ 𝑥 = 3√2 + √3 จะได้
3
𝑥 − √3 = √2 3
ยกกาลัง 3 ทังสองข้
้ าง (𝑎 −3𝑏) 2
𝑥 3 − 3√3𝑥 2 + 9𝑥 − 3√3 = 2 = 𝑎 − 3𝑎 𝑏 + 3𝑎𝑏 2 − 𝑏 3
𝑥 3 + 9𝑥 − 2 = 3√3𝑥 2 + 3√3
𝑥 3 + 9𝑥 − 2 = 3√3(𝑥 2 + 1) ยกกาลัง 2 ทังสองข้
้ าง
𝑥 6 + 81𝑥 2 + 4 + 18𝑥 4 − 4𝑥 3 − 36𝑥 = 27(𝑥 4 + 2𝑥 2 + 1)
(𝑎 + 𝑏 + 𝑐) 2
𝑥 6 − 9𝑥 4 − 4𝑥 3 + 27𝑥 2 − 36𝑥 − 23 = 0 2 2 2
= 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 2𝑎𝑏 + 2𝑎𝑐 + 2𝑏𝑐
เนื่องจากเริ่ มต้ นด้ วย 𝑥 = 3√2 + √3
ดังนัน้ 3√2 + √3 จะสอดคล้ องกับสมการ 𝑥 6 − 9𝑥 4 − 4𝑥 3 + 27𝑥 2 − 36𝑥 − 23 = 0 ด้ วย
จะได้ 𝑝(𝑥) = 𝑥 6 − 9𝑥 4 − 4𝑥 3 + 27𝑥 2 − 36𝑥 − 23

35. กาหนดให้ M2 (ℝ) แทนเซตของเมทริกซ์ขนาด 2 × 2 ทังหมดที้ ่มีสมาชิกในแต่ละตาแหน่งเป็ นจานวนจริง


จงหาเมทริ กซ์ 𝐶 ∈ M2 (ℝ) ทังหมดที
้ ่ทาให้ สาหรับทุกๆเมทริ กซ์ 𝐴, 𝐵 ∈ M2 (ℝ)ใดๆ
(𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2 𝐶 = 𝐶(𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2
ตอบ อะไรก็ได้
𝑎 𝑏 𝑒 𝑓
สมมติให้ 𝐴=[ ] และ 𝐵=[
𝑔 ℎ
]
𝑐 𝑑
𝑎 𝑏 𝑒 𝑓 𝑒 𝑓 𝑎 𝑏
จะได้ 𝐴𝐵 − 𝐵𝐴 = [ ][ ] − [ ][ ]
𝑐 𝑑 𝑔 ℎ 𝑔 ℎ 𝑐 𝑑
𝑎𝑒 + 𝑏𝑔 𝑎𝑓 + 𝑏ℎ 𝑒𝑎 + 𝑓𝑐 𝑒𝑏 + 𝑓𝑑
= [ ]−[ ]
𝑐𝑒 + 𝑑𝑔 𝑐𝑓 + 𝑑ℎ 𝑔𝑎 + ℎ𝑐 𝑔𝑏 + ℎ𝑑
𝑏𝑔 − 𝑓𝑐 𝑎𝑓 + 𝑏ℎ − 𝑒𝑏 − 𝑓𝑑 ให้ สมาชิกซ้ ายบน 𝑏𝑔 − 𝑓𝑐 = 𝑥
= [ ]
𝑐𝑒 + 𝑑𝑔 − 𝑔𝑎 − ℎ𝑐 𝑐𝑓 − 𝑔𝑏 จะได้ สมาชิกขวาล่าง 𝑐𝑓 − 𝑔𝑏 = −𝑥
𝑥 𝑦
= [ ] และให้ สมาชิกสองตัวที่เหลือเป็ น 𝑦 กับ 𝑧
𝑧 −𝑥
𝑥 𝑦 𝑥 𝑦 𝑥 2 + 𝑦𝑧 0 1 0
ดังนัน้ (𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2 = [ ][
𝑧 −𝑥 𝑧 −𝑥
] = [ ] = (𝑥 2 + 𝑦𝑥) [ ]
0 𝑦𝑥 + 𝑥 2 0 1
แทนใน (𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2 𝐶 = 𝐶(𝐴𝐵 − 𝐵𝐴)2

(𝑥 2 + 𝑦𝑥) [1 0] 𝐶 = 𝐶(𝑥 2 + 𝑦𝑥) [1 0] …(∗)


0 1 0 1
เนื่องจาก 𝑥 2 + 𝑦𝑥 เป็ นตัวเลข จึงสลับทีก่ ารคูณได้ และ [10 01] คือเมทริ กซ์เอกลัษณ์ คูณอะไรก็ได้ เท่าเดิม
ดังนัน้ (∗) จะเป็ นจริ งเสมอ ไม่วา่ 𝐶 เป็ นเมทริ กซ์ 2 × 2 อะไรก็ตาม

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Wasanont TeacherPomme Pongsawat สาหรับข้ อสอบครับ
ขอบคุณ คุณ บุญช่วย ฤทธิเทพ
และ คุณ สารศิลป์ ทับทิมทอง ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสารครับ

You might also like