You are on page 1of 34

สมาคม ม. ปลาย (พ.ย.

61) 1
6 May 2019

ข้ อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ แห่งประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (พ.ย. 61)


วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน 2561 เวลา 9.00 - 12.00 น.

ตอนที่ 1 มี 15 ข้ อ ข้ อละ 2 คะแนน


1. จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) มีเซต 𝐴, 𝐵, 𝐶 ที่ 𝐴 ⊂ 𝐵 ∈ 𝐶 และ 𝐴 ∈ 𝐵 ⊂ 𝐶
(2) กาหนดให้ 𝒫(ℝ) แทนเซตของสับเซตทังหมดของ ้ ℝ
ให้ ℱ ≠ ∅ เป็ นสับเซตแท้ ใดๆ ของ 𝒫(ℝ) ที่มีสมบัติวา่ 𝑋 − 𝑌 ∈ ℱ สาหรับทุก 𝑋, 𝑌 ∈ ℱ
จะได้ วา่ ถ้ า 𝐴, 𝐵 ∈ ℱ แล้ ว 𝐴 ∩ 𝐵 ∈ ℱ
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ

2. ทุกวันอาทิตย์ เพชรรับประทานอาหารเย็นที่บ้านคุณปู่ คณ ุ ย่า เว้ นแต่เพชรมีสอบคณิตศาสตร์ ในวันรุ่งขึ ้น


วันนี ้เพชรไม่ได้ รับประทานอาหารเย็นที่บ้านคุณปู่ คณ
ุ ย่า ข้ อความต่อไปนี ้สรุปได้ จากข้ อมูลข้ างต้ น
ก. วันนี ้ไม่ใช่วนั อาทิตย์
ข. เพชรมีสอบคณิตศาสตร์ ในวันจันทร์
ค. เพชรไม่รับประทานอาหารเย็นทีบ่ ้ านคุณปู่ คุณย่าในวันอาทิตย์ หรื อเพชรไม่มีสอบคณิตศาสตร์ ในวันจันทร์
ง. ข้ อความ ก., ข. และ ค. ไม่มีข้อใดสรุปถูกต้ อง
2 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

3. ให้ 𝕀 แทนเซตของจานวนเต็ม และสาหรับแต่ละจานวนเต็ม 𝑛 กาหนดให้ 𝑛𝕀 = { 𝑛𝑥 : 𝑥 ∈ 𝕀 }


จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) สาหรับทุกๆ จานวนเต็มบวก 𝑛1, 𝑛2 จะมีจานวนเต็ม 𝑚 เพียงหนึง่ เดียวที่ทาให้ 𝑛1𝕀 ∩ 𝑛2𝕀 = 𝑚𝕀
(2) สาหรับทุกๆ จานวนเต็มบวก 𝑛1, 𝑛2 จะมีจานวนเต็ม 𝑚 ที่ทาให้ 𝑛1𝕀 ∪ 𝑛2𝕀 = 𝑚𝕀
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริ ง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ

4. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 1 จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) สาหรับจานวนจริ ง 𝑥 ใดๆ ถ้ า 𝑎 𝑥 = 𝑥 แล้ ว 𝑎(𝑎 ) = 𝑥
𝑥

(2) สาหรับจานวนจริ ง 𝑥 ใดๆ ถ้ า 𝑎(𝑎 ) = 𝑥 แล้ ว 𝑎 𝑥 = 𝑥


𝑥

ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 3

𝑓(𝑥)
5. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั มีสมบัติวา่ lim
x1 𝑥 2 −1 = 1 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. 𝑓(1) = 0 ข. 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1
ค. lim
x1
𝑓(𝑥) = 0 ง. lim
x1
𝑓(𝑥) ไม่มีคา่

6. กาหนดให้ 𝑋, 𝑌, 𝑍 เป็ นเซตที่ไม่ใช่เซตว่าง และ 𝑓 : 𝑋 → 𝑌 , 𝑔 : 𝑌 → 𝑍 และ ℎ : 𝑍 → 𝑋 ถ้ า ℎ ∘ 𝑔 ∘ 𝑓


และ 𝑔 ∘ 𝑓 ∘ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึง และ 𝑓 ∘ ℎ ∘ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ แล้ วฟั งก์ชนั ในข้ อใดต่อไปนี ้เป็ น
ฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ และทัว่ ถึง
ก. 𝑓 ข. 𝑔 ค. ℎ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง

7. ลาดับฟี โบนัชชี (𝐹𝑛 ) นิยามโดย 𝐹0 = 0, 𝐹1 = 1 และ 𝐹𝑛+1 = 𝐹𝑛 + 𝐹𝑛−1 สาหรับจานวนเต็ม 𝑛 ≥ 1


เศษเหลือที่ได้ จากการหาร 𝐹2018 ด้ วย 4 มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3
4 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

8. ในห้ องเรียนวิชาคณิตศาสตร์ นกั เรี ยนคนหนึง่ ได้ นิยาม การกระจายตัวของข้ อมูล 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥2018 เป็ น
 ( xi  x j ) 2
i j

2018  2017
n 2 n 2
(𝑥𝑗 −𝑥̅ ) (𝑥𝑗 −𝑥̅ ) 𝑥1 +𝑥2 + … +𝑥2018
กาหนดให้ 𝜎2 = 
2018
และ 𝑠2 = 
2017
โดยที่ 𝑥̅ =
2018
j1 j1

ค่าของการกระจายตัวของข้ อมูล 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥2018 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. 2017
2018
𝜎2 ข. 2017 2
2018
𝑠 ค. 2𝜎 2 ง. 2𝑠 2

9. ลาดับอนันต์ (𝑎𝑛 ) นิยามโดย 𝑎1 = 0 และ 𝑎𝑛+1 = 12 + √𝑎𝑛 สาหรับจานวนเต็ม 𝑛≥1


ถ้ าลาดับ (𝑎𝑛 ) เป็ นลาดับลูเ่ ข้ าแล้ ว ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. limn
𝑎𝑛 > 1

ข. lim
n
𝑎𝑛 < 1

ค. lim
n
𝑎𝑛 = 1

ง. เป็ นไปได้ ทงสองกรณี


ั้ วา่ lim
n
𝑎𝑛 < 1 หรื อ lim 𝑎𝑛 > 1
n
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 5

10. ค่าของ cos 2𝜋


7
เป็ นรากของพหุนามในข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 8𝑥 3 + 4𝑥 2 − 4𝑥 − 1 ข. 8𝑥 3 − 8𝑥 2 − 2𝑥 + 1
ค. 8𝑥 3 − 4𝑥 2 + 4𝑥 − 1 ง. 8𝑥 3 + 8𝑥 2 − 2𝑥 − 1

11. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามดีกรี 2 มีคา่ ต่าสุดเมื่อ 𝑥 = 3 และ 𝐹(2𝑥) เป็ นปฏิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥)
ถ้ า 𝐹 ′(2) = −5 และ 𝐹 ′′(−2) = −4 พื ้นที่ปิดล้ อมของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 3
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 16.5 ข. 18 ค. 33 ง. 36
6 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

𝑓(𝑥) 4
12. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีความต่อเนื่องที่ 𝑥 = −3 และ x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4

ถ้ า 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) ค่าของ 𝑔′ (−3) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. −15 ข. −13 ค. 2 ง. 5

13. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนที่แตกต่างกันโดยที่ |𝑧|2 𝑤 − |𝑤|2𝑧 = 𝑧 − 𝑤


พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
Re(𝑧) 1
(1) 𝑧̅𝑤 = −1 (2) Re(𝑤) = |𝑧|2
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 7

1 2017 cos 𝑥 − sin 𝑦 cos 𝑦 − sin 𝑥


14. กาหนดให้ 𝑥 = arctan 2018 และ 𝑦 = arctan 2019 ค่าของ cos 𝑦 + sin 𝑥
+ cos 𝑥 + sin 𝑦 ตรงกับข้ อใด
ก. 2(√2 − 1) ข. √3 − 1
ค. √(2017)2018
2 +(2019)2
ง. 2017
√(2017)2 +(2019)2

15. ให้ 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 𝑛 × 𝑛 โดยที่ 𝐴 ไม่เป็ นเมทริ กซ์ศนู ย์ , 𝐼 − 𝐴 มีอินเวอร์ สการคูณ และ 𝐴𝑇 + 𝐴 เป็ น
เมทริ กซ์ศนู ย์ ถ้ า 𝐵 = (𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1 แล้ ว จานวนจริ ง 𝑘 ที่ทาให้ 𝐵𝑇 𝐵 = 𝑘𝐼 มีคา่ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 1 ค. (−1)𝑛+1 ง. 𝑛
8 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

ตอนที่ 2 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 3 คะแนน


16. ในการสารวจความนิยมของประชากรในการติดตามข่าวพบว่า 400 คนจาก 1000 คนติดตามข่าวจากโซเชียลมิเดีย
และ 12% ของคนติดตามข่าวจากโซเชียลมิเดียฟังข่าวจากทางวิทยุด้วย ในขณะที่ 20% ของคนที่ไม่ติดตามข่าว
ทางโซเชียลมิเดียฟังข่าววิทยุ กี่เปอร์ เซ็นของผู้ตดิ ตามข่าวทางวิทยุติดตามข่าวทางโซเชียลมิเดียด้ วย (ตอบในรูป
ทศนิยมสองตาแหน่ง)

17. กาหนดให้ 𝐴 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 : |𝑥| + |𝑦| ≥ 1 และ 𝑥 2 + 𝑦 2 ≤ 1 }


นิยาม 𝑓 : 𝐴 → ℝ โดย 𝑓(𝑥, 𝑦) = √𝑥 2 + 𝑦 2 สาหรับทุก (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 จงหาเรนจ์ของ 𝑓 (ตอบในรูปของช่วง)

18. กาหนดจุด 𝐴 = (4, 3) บนระนาบ ถ้ าจุด 𝐵 = (𝑎, 𝑏) บนวงกลม 𝑥 2 + 𝑦 2 − 2𝑥 − 4𝑦 − 85 = 0 ทาให้


ระยะทาง 𝐴𝐵 จากจุด 𝐴 ไปยังจุดบนเส้ นรอบวงของวงกลมมีคา่ น้ อยทีส่ ดุ แล้ ว จงหาค่าของ 3𝑎 + 2𝑏
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 9

19. เส้ นตรงที่ผา่ นโฟกัสของพาราโบลา 𝑦 2 = 16𝑥 สัมผัสกับวงกลม (𝑥 − 6)2 + 𝑦 2 = 2 ที่จดุ ใด

20. จาหาจานวนจริง 𝑎 ทังหมดที


้ ่ทาให้ สมการต่อไปนี ้มีผลเฉลยเป็ นจานวนจริ งเพียงค่าเดียว
log 3 (𝑥 − 2) + log 3 (𝑎 − 𝑥) = 2

21. ให้ 𝑢⃗, 𝑣, 𝑤


⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ ซงึ่ |𝑢
⃗ | = 2 , |𝑣 | = 1 , |𝑤
⃗⃗ | = 1 และ 𝑢 ⃗⃗ = ⃗0
⃗ + 2𝑣 + 3𝑤
จงหาค่าของ |𝑢⃗ × 𝑣|2
10 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

22. ถ้ าเขียนผลคูณ (𝑥 2 + 4)3 (𝑥 − 2)5 ในรูปของพหุนาม 𝑎0 + 𝑎1 𝑥 + 𝑎2 𝑥 2 + ⋯ + 𝑎11 𝑥11 แล้ วจงหาค่า


ของ 𝑎2 + 𝑎3 + ⋯ + 𝑎10

23. ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥50 เป็ นจานวนจริ งบวก โดยที่


1 1 1 1
𝑥1 = 1 + , 𝑥2 = 1 + , … , 𝑥49 = 1 + , 𝑥50 = 1 +
2𝑥2 2𝑥3 2𝑥50 2𝑥1
จงหาค่าของ 𝑥25
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 11

(𝑥−1)2
24. จงเขียนเซตของจานวนจริง 𝑘 ทังหมดที
้ ่ทาให้ {𝑥 ∈ℝ ∶ (𝑥+1)(𝑥+3)
= 𝑘} = ∅ ในรูปของช่วง

25. นิยามจานวนต่ างใจตรงกันว่าคือจานวนเต็มบวกที่สามารถเขียนในรูปผลต่างกาลังสองของจานวนเต็มบวกได้ สอง


แบบ เช่น 64 เป็ นจานวนต่างใจตรงกัน เนื่องจาก 64 = 102 − 62 = 172 − 152 แต่ 3 ไม่เป็ นจานวนต่างใจ
ตรงกัน เนื่องจาก 3 = 22 − 12 และไม่มีจานวนเต็มบวก 𝑎 และ 𝑏 อื่นใดที่ 3 = 𝑎2 − 𝑏2
จงหาจานวนต่างใจตรงกันที่มคี า่ น้ อยที่สดุ
12 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

ตอนที่ 3 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 4 คะแนน


26. เค้ กแต่งงานจะทาเป็ นขนมเค้ กทีม่ ีหน้ าตัดเป็ นรูปวงกลมซ้ อนขึ ้นไปเป็ นชันๆ
้ โดยที่แต่ละชันที
้ ่ซ้ อนขึ ้นไปมีรัศมีหน้ าตัด
ลดลงครึ่งหนึง่ และมีสว่ นสูงเป็ น 23 เท่าของส่วนสูงชันก่
้ อนหน้ านัน้ ถ้ าปริ มาตรของเนื ้อเค้ กที่ฐานชันล่
้ างสุดเป็ น 10
ลูกบาศก์หน่วย แล้ ว ปริ มาตรของเค้ กแต่งงานชิ ้นนี ้เท่ากับกี่ลกู บาศก์หน่วย

27. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็มบวกซึง่ สอดคล้ องกับสมการต่อไปนี ้


𝑎𝑏𝑐 + 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑐𝑎 + 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 29
จงหาค่าของ 𝑎+𝑏+𝑐

28. นาจุด 16 จุด มาจัดเรี ยงบนระนาบ โดยแบ่งออกเป็ น 4 แถว แต่ละแถวมี 4 จุด และระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใดๆ
ที่อยูต่ ิดกันในแถวเดียวกัน เท่ากับระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใดๆ ที่อยูต่ ิดกันในหลักเดียวกัน ความน่าจะเป็ น ที่เมื่อ
สุม่ เลือกจุด 3 จุดใดๆ มาจากระนาบนี ้แล้ วอยูใ่ นแนวเส้ นตรงเดียวกันเท่ากับเท่าใด
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 13

29. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน โดยที่ |𝑧| ≤ 1 และ |𝑤| ≤ 1 ถ้ า |𝑧 + 𝑖𝑤| = |𝑧 − 𝑖𝑤
̅| = 2 แล้ ว
จงหาค่าทีเ่ ป็ นไปได้ ทงหมดของ
ั้ 𝑧 2 − 𝑧𝑤 + 𝑤 2

30. กาหนดให้ 𝛼>0 จงหาจานวนจริ งบวก 𝑥 และ 𝑦 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับระบบสมการต่อไปนี ้
𝑥 𝑥+𝑦 = 𝑦 𝛼
𝑦 𝑥+𝑦 = 𝑥 2𝛼 𝑦 𝛼
14 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

31. กาหนดให้ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวกทีม่ ากกว่า 1 และให้ 𝐼 แทนเมทริ กซ์เอกลักษณ์ขนาด 𝑛 × 𝑛 และ 𝐽 แทนเมทริ กซ์
ขนาด 𝑛 × 𝑛 ที่มี 1 เป็ นสมาชิกในทุกตาแหน่ง ถ้ าอินเวอร์ สของเมทริกซ์ 29𝐼 − 3𝐽 คือ 291 (𝐼 − 3𝐽) แล้ ว จงหา
ค่าของ 𝑛

32. มีฉลาก 10 ใบ โดยที่ฉลากแต่ละใบเขียนเลขจานวนจาก 1 ถึง 10 โดยที่ฉลากแต่ละใบมีเพียงเลขจานวนเดียวเท่านัน้


สุม่ หยิบฉลากมา 10 ใบ จงหาความน่าจะเป็ นที่ผลต่างของจานวนที่ปรากฏบนฉลากแต่ละคูต่ ้ องมากกว่าหรื อ
เท่ากับ 2

33. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶𝐷𝐸 เป็ นรูปห้ าเหลี่ยมด้ านเท่ามุมเท่าที่แนบในวงกลม จุดศูนย์กลางที่ 𝑂 และมีรัศมียาว 3 หน่วย
ถ้ า 𝑋 เป็ นจุดใดๆ ที่หา่ งจากจุด 𝑂 เป็ นระยะทาง 4 หน่วย แล้ ว |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + |𝐶𝑋|2 + |𝐷𝑋|2 + |𝐸𝑋|2
มีคา่ เท่าใด
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 15

34. รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 รูปหนึง่ มีด้านแต่ละด้ านยาวเป็ นจานวนเต็ม และ ∠𝐴 = 3∠𝐵 ถ้ าด้ านทีย่ าวที่สดุ อยูต่ รงข้ าม
มุม 𝐴 มีความยาว 10 หน่วยแล้ ว ความยาวรอบรูปของสามเหลีย่ มดังกล่าวเท่ากับเท่าใด

n
35. จงหาค่าของ lim  (1 − 2 cos(2𝑘−𝑛 𝜋) + 2 cos(2𝑘−𝑛+1 𝜋))
n k 0
n
โดยนิยามสัญลักษณ์  𝑎𝑘 = 𝑎0 𝑎1 𝑎2 … 𝑎𝑛 สาหรับลาดับ (𝑎𝑘 )𝑛𝑘=0 ใดๆ
k 0
16 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

เฉลย
11
1. ก 10. ก 19. (5, 1), (5, −1) 28. 140
2. ง 11. ง 20. 8 29. 𝑖
63
3. ง 12. ข 21. 16
30. (1, 1) ,
−1+√8𝛼+1 4𝛼+1−√8𝛼+1
4. ก 13. ง 22. −3198 ( 2
, 2
)
1+√3
5. ค 14. ก 23. 2
31. 10
6. ง 15. ข 24. (−8, 0) 32. 0
7. ข 16. 28.57 25. 15 33. 125
√2
8. ง 17. [ 2 , 1] 26. 12 34. 21
9. ก 18. 40 27. 7 35. 1

แนวคิด
1. จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) มีเซต 𝐴, 𝐵, 𝐶 ที่ 𝐴 ⊂ 𝐵 ∈ 𝐶 และ 𝐴 ∈ 𝐵 ⊂ 𝐶
(2) กาหนดให้ 𝒫(ℝ) แทนเซตของสับเซตทังหมดของ ้ ℝ
ให้ ℱ ≠ ∅ เป็ นสับเซตแท้ ใดๆ ของ 𝒫(ℝ) ที่มีสมบัติวา่ 𝑋 − 𝑌 ∈ ℱ สาหรับทุก 𝑋, 𝑌 ∈ ℱ
จะได้ วา่ ถ้ า 𝐴, 𝐵 ∈ ℱ แล้ ว 𝐴 ∩ 𝐵 ∈ ℱ
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ก
(1) 𝐴 ⊂ 𝐵 และ 𝐴 ∈ 𝐵 ถ้ า 𝐵 = 𝐴 ∪ {𝐴}
เช่นถ้ าให้ 𝐴 = ∅ จะได้ 𝐵 = 𝐴 ∪ {𝐴} = ∅ ∪ {∅} = {∅}
และ 𝐶 = 𝐵 ∪ {𝐵} = {∅} ∪ {{∅}} = {∅, {∅}}
ดังนัน้ จะมี 𝐴 = ∅ , 𝐵 = {∅} และ 𝐶 = {∅, {∅}} ที่สอดคล้ องกับเงื่อนไข → (1) ถูก
(2) จากสมบัติของ ℱ ถ้ า 𝐴, 𝐵 ∈ ℱ จะสรุปได้ วา่ 𝐴 − 𝐵 ∈ ℱ
และเนื่องจาก 𝐴 , 𝐴 − 𝐵 ∈ ℱ จะสรุปต่อด้ วยสมบัติเดิมได้ วา่ 𝐴 − (𝐴 − 𝐵) ∈ ℱ
ซึง่ 𝐴 − (𝐴 − 𝐵) ก็คือ 𝐴 ∩ 𝐵 นัน่ เอง
− =
จึงสรุปได้ วา่ 𝐴 ∩ 𝐵 ∈ ℱ → (2) ถูก
𝐴 𝐴−𝐵 𝐴 − (𝐴 − 𝐵)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 17

2. ทุกวันอาทิตย์ เพชรรับประทานอาหารเย็นที่บ้านคุณปู่ คณ ุ ย่า เว้ นแต่เพชรมีสอบคณิตศาสตร์ ในวันรุ่งขึ ้น


วันนี ้เพชรไม่ได้ รับประทานอาหารเย็นที่บ้านคุณปู่ คณ
ุ ย่า ข้ อความต่อไปนี ้สรุปได้ จากข้ อมูลข้ างต้ น
ก. วันนี ้ไม่ใช่วนั อาทิตย์
ข. เพชรมีสอบคณิตศาสตร์ ในวันจันทร์
ค. เพชรไม่รับประทานอาหารเย็นทีบ่ ้ านคุณปู่ คุณย่าในวันอาทิตย์ หรื อเพชรไม่มีสอบคณิตศาสตร์ ในวันจันทร์
ง. ข้ อความ ก., ข. และ ค. ไม่มีข้อใดสรุปถูกต้ อง
ตอบ ง
𝑝 เว้ นแต่ 𝑞 ≡ 𝑝 ถ้ าไม่ 𝑞 ≡ ถ้ าไม่ 𝑞 แล้ ว 𝑝 ≡ ~𝑞 → 𝑝 ≡ 𝑞 ∨ 𝑝 ≡ 𝑝∨𝑞
กิน เว้ นแต่ มีสอบ ≡ กิน หรื อ มีสอบ
ดังนัน้ ประโยคแรกในโจทย์ จะเหมือนกับ “ทุกวันอาทิตย์ เพชรกินข้ าวเย็นที่บ้านปู่ ยา่ หรื อ เพชรมีสอบเลขวันรุ่งขึ ้น”
ซึง่ จะเป็ นจริงได้ 3 กรณี ดังนี ้
1. อา จ 2. อา จ 3. อา จ
กิน ไม่สอบ ไม่กิน สอบ กิน สอบ

ก. โจทย์กาหนดให้ วันนี ้เพชรไม่ได้ รับประทานอาหารเย็นที่บ้านคุณปู่ คณ ุ ย่า


ซึง่ ในกรณีที่ 2. เพชรไม่ได้ กินข้ าวเย็นที่บ้านปู่ ย่า ในวันอาทิตย์ ดังนัน้ วันนี ้จึงอาจเป็ นวันอาทิตย์ได้ → ก. ผิด
ข. โจทย์กาหนดให้ วันนี ้เพชรไม่ได้ กินข้ าวเย็นที่บ้านปู่ ยา่ แต่เรายังไม่ร้ ูวา่ วันนี ้เป็ นวันอาทิตย์หรื อไม่
เช่น ถ้ าวันนี ้เป็ นวันเสาร์ และวันที่เหลือเป็ นกรณีที่ 1. ตามรูป ส (วันนี ้) อา จ
จะทาให้ วนั จันทร์ ไม่มีสอบได้ → ข. ผิด ไม่กิน กิน ไม่สอบ
ค. ในกรณีที่ 3 จะทาให้ ค. ผิด

3. ให้ 𝕀 แทนเซตของจานวนเต็ม และสาหรับแต่ละจานวนเต็ม 𝑛 กาหนดให้ 𝑛𝕀 = { 𝑛𝑥 : 𝑥 ∈ 𝕀 }


จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) สาหรับทุกๆ จานวนเต็มบวก 𝑛1, 𝑛2 จะมีจานวนเต็ม 𝑚 เพียงหนึง่ เดียวที่ทาให้ 𝑛1𝕀 ∩ 𝑛2𝕀 = 𝑚𝕀
(2) สาหรับทุกๆ จานวนเต็มบวก 𝑛1, 𝑛2 จะมีจานวนเต็ม 𝑚 ที่ทาให้ 𝑛1𝕀 ∪ 𝑛2𝕀 = 𝑚𝕀
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ง
จานวนที่อยูใ่ นรูป 𝑛𝑥 เมื่อ 𝑥 ∈ 𝕀 ก็คือจานวนที่หารด้ วย 𝑛 ลงตัว
ดังนัน้ 𝑛𝕀 ก็คือเซตของจานวนที่หารด้ วย 𝑛 ลงตัวนัน่ เอง
(1) พิจารณา 𝑚𝕀 ทางฝั่งขวา เนื่องจากโจทย์ไม่ได้ บงั คับว่า 𝑚 ต้ องเป็ นบวก → จะมี 𝑚 ที่เป็ นลบ ที่ได้ ผลเหมือนกัน
(เซตของจานวนที่หารด้ วย 𝑚 ลงตัว จะเหมือนกับ เซตของจานวนที่หารด้ วย −𝑚 ลงตัว)
เช่นถ้ าให้ 𝑛1 = 1 , 𝑛2 = 1 จะมี 𝑚 = 1 และ −1 สองตัว ที่ทาให้ 𝑛1𝕀 ∩ 𝑛2𝕀 = 𝑚𝕀 = 𝕀 → (1) ผิด
(2) ถ้ าให้ 𝑛1 = 2 จะได้ 𝑛1𝕀 = เซตของจานวนที่หารด้ วย 2 ลงตัว = { 0 , ±2 , ±4 , ±6 , … }
ให้ 𝑛2 = 3 จะได้ 𝑛2𝕀 = เซตของจานวนที่หารด้ วย 3 ลงตัว = { 0 , ±3 , ±6 , ±9 , … }
18 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

จะได้ 𝑛1𝕀 ∪ 𝑛2𝕀 = { 0 , ±2 , ±3 , ±4 , ±6 , … }


สมมติให้ มี 𝑚 ที่ทาให้ 𝑚𝕀 = 𝑛1𝕀 ∪ 𝑛2𝕀 = { 0 , ±2 , ±3 , ±4 , ±6 , … }
แสดงว่า 𝑚 ต้ องหาร 0 , ±2 , ±3 , ±4 , ±6 , … ลงตัว
แต่จานวนที่หาร ±2 และ ±3 ลงตัว มีแค่ ±1 เท่านัน้ ซึง่ ถ้ า 𝑚 = ±1 จะได้ วา่ ±1 ต้ องอยูใ่ น 𝑚𝕀 ด้ วย
(เพราะ ±1 หาร ±1 ลงตัว) แต่จะเห็นว่า ±1 ไม่อยูใ่ น { 0 , ±2 , ±3 , ±4 , ±6 , … } จึงเกิดการขัดแย้ ง
จึงไม่มี 𝑚 ที่ทาให้ 2𝕀 ∪ 3𝕀 = 𝑚𝕀 → (2) ผิด

4. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 1 จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) สาหรับจานวนจริ ง 𝑥 ใดๆ ถ้ า 𝑎 𝑥 = 𝑥 แล้ ว 𝑎(𝑎 ) = 𝑥
𝑥

(2) สาหรับจานวนจริ ง 𝑥 ใดๆ ถ้ า 𝑎(𝑎 ) = 𝑥 แล้ ว 𝑎 𝑥 = 𝑥


𝑥

ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ก
(1) สมมติให้ 𝑎 𝑥 = 𝑥 แสดงว่าเราสามารถแทน 𝑥 ด้ วย 𝑎 𝑥 ได้ (เพราะมันเท่ากัน)
จาก 𝑎 𝑥 = 𝑥 → แทน 𝑥 ที่เป็ นเลขชี ้กาลังทางขวา ด้ วย 𝑎 𝑥 จะได้ 𝑎(𝑎 ) = 𝑥 → (1) ถูก
𝑥

(2) จะแสดงว่า ถ้ า 𝑎 𝑥 ≠ 𝑥 แล้ ว 𝑎(𝑎 ) ≠ 𝑥


𝑥

สมมติให้ 𝑎 𝑥 ≠ 𝑥 จะได้ วา่ 𝑎 𝑥 > 𝑥 หรื อ 𝑎 𝑥 < 𝑥


กรณี 𝑎 𝑥𝑥 > 𝑥 …(1) ยกกาลังฐาน 𝑎 ทังสองฝั ้ ่ง
กรณี 𝑎 𝑥 < 𝑥 …(2)
𝑥
𝑎(𝑎 ) > 𝑎 𝑥 𝑎(𝑎 ) < 𝑎 𝑥
(𝑎 𝑥 ) 𝑥 จาก (1) 𝑥 จาก (2)
𝑎 > 𝑎 > 𝑥 𝑎(𝑎 ) < 𝑎 𝑥 < 𝑥
𝑥 𝑥
𝑎(𝑎 ) > 𝑥 𝑎(𝑎 ) < 𝑥
(𝑎 𝑥 ) (𝑎 𝑥)
𝑎 ≠ 𝑥 𝑎 ≠ 𝑥
(ตอนยกกาลังฐาน 𝑎 ทังสองฝั
้ ่ง จะไม่ต้องกลับเครื่ องหมายมากกว่าน้ อยกว่า เพราะ 𝑎 > 1)
ดังนัน้ ถ้ า 𝑎 𝑥 ≠ 𝑥 แล้ ว 𝑎(𝑎 ) ≠ 𝑥
𝑥

จาก 𝑝 → 𝑞 ≡ ~𝑞 → ~𝑝 จะสรุปได้ วา่ ถ้ า แล้ ว (2) ถูก


𝑥
𝑎(𝑎 ) = 𝑥 𝑎𝑥 = 𝑥 →

𝑓(𝑥)
5. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั มีสมบัติวา่ lim 2
x1 𝑥 −1
= 1 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. 𝑓(1) = 0 ข. 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1
ค. lim
x1
𝑓(𝑥) = 0 ง. lim
x1
𝑓(𝑥) ไม่มีคา่

ตอบ ค
𝑓(𝑥) 𝑓(𝑥)
ก. lim
x1 𝑥 2 −1 คือค่าประมาณของ 𝑥 2 −1
เมื่อ 𝑥 เข้ าใกล้ 1 ซึง่ เป็ นคนละอย่างกับ ค่าของ 𝑥𝑓(𝑥)
2 −1 เมื่อ 𝑥 = 1

(ถึงแม้ วา่ ส่วนใหญ่มนั จะเท่ากัน แต่ก็มีบางทีที่สองค่านี ้อาจไม่เท่ากันได้ )


จึงสรุปอะไรเกี่ยวกับ 𝑓(1) ไม่ได้ (เนือ่ งจาก 𝑓(1) คือค่าของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 = 1) → ก. ผิด
ข. ต่อเนื่องเมื่อ lim
x1
𝑓(𝑥) = 𝑓(1) แต่เราไม่ร้ ู เกี่ยวกับ 𝑓(1) จึงไม่ร้ ู วา่ ต่อเนื่องหรื อไม่ → ข. ผิด

ค. เมื่อ 𝑥 เข้ าใกล้ 1 จะทาให้ ตวั ส่วน 𝑥2 − 1 เข้ าใกล้ 12 − 1 = 0


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 19

ดังนัน้ เมื่อ 𝑥 เข้ าใกล้ 1 จะต้ องทาให้ ตวั เศษเข้ าใกล้ 0 ด้ วย จึงจะเข้ ารูปแบบ 00 ที่ทาให้ lim
x1
𝑓(𝑥)
𝑥 2 −1 หาค่าได้

นัน่ คือ lim


x1
𝑓(𝑥) ต้ องเป็ น 0 → ค. ถูก
ง. เนื่องจาก ค. ถูก จึงทาให้ ง. ผิด

6. กาหนดให้ 𝑋, 𝑌, 𝑍 เป็ นเซตที่ไม่ใช่เซตว่าง และ 𝑓 : 𝑋 → 𝑌 , 𝑔 : 𝑌 → 𝑍 และ ℎ : 𝑍 → 𝑋 ถ้ า ℎ ∘ 𝑔 ∘ 𝑓


และ 𝑔 ∘ 𝑓 ∘ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึง และ 𝑓 ∘ ℎ ∘ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ แล้ วฟั งก์ชนั ในข้ อใดต่อไปนี ้เป็ น
ฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ และทัว่ ถึง
ก. 𝑓 ข. 𝑔 ค. ℎ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง
ตอบ ง
ℎ ∘ 𝑔 ∘ 𝑓 คือการใช้ ฟังก์ชน ั 𝑓 𝑔 และ ℎ ตามลาดับ
ถ้ า ℎ ∘ 𝑔 ∘ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึง แสดงว่า ℎ ที่ถกู ใช้ เป็ นฟั งก์ชนั สุดท้ าย ต้ องเป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึงด้ วย
(เพราะถ้ ามีคา่ ที่ไม่อยูใ่ นเรนจ์ของ ℎ ค่านันจะไม่
้ มีทางอยูใ่ นแรนจ์ของอะไรก็ตามที่มี ℎ ประกอบเป็ นฟั งก์ชนั สุดท้ าย)
ทานองเดียวกัน โจทย์ให้ 𝑔 ∘ 𝑓 ∘ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึง จะทาให้ สรุปได้ วา่ 𝑔 ต้ องเป็ นฟังก์ชนั ทัว่ ถึงด้ วย
และ จาก 𝑓∘ℎ∘𝑔 เป็ น 1-1
𝑓 ∘ ℎ ∘ 𝑔 คือการใช้ ฟังก์ชน ั 𝑔 ℎ และ 𝑓 ตามลาดับ
เนื่องจาก 𝑔 และ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึง ดังนัน้ ทัง้ 𝑔 ℎ และ 𝑓 ต้ องเป็ น 1-1 ทังหมด
้ จึงจะทาให้ 𝑓 ∘ ℎ ∘ 𝑔 เป็ น 1-1 ได้
(ถ้ า 𝑔 ไม่ทวั่ ถึง แล้ ว ℎ อาจไม่ใช่ 1-1 ตรงส่วนที่ 𝑔 ไม่ได้ โยงไป ซึง่ อาจทาให้ 𝑓 ∘ ℎ ∘ 𝑔 ยังเป็ น 1-1 ได้ อยู)่
และสุดท้ าย จาก 𝑔 ∘ 𝑓 ∘ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั ทัว่ ถึง และ 𝑔 เป็ น 1-1 จะสรุปได้ วา่ 𝑓 ต้ องทัว่ ถึง
(ถ้ า 𝑓 ไม่ทวั่ ถึง แล้ ว 𝑔 จะโยงตัวอื่นมาแทนตัวที่ 𝑓 ไม่โยงไปไม่ได้ เพราะ 𝑔 เป็ น 1-1 ซึง่ จะทาให้ 𝑔 ∘ 𝑓 ∘ ℎ ไม่ทวั่ ถึง)
ดังนัน้ ทัง้ 𝑓 𝑔 และ ℎ เป็ น 1-1 และทัว่ ถึง

7. ลาดับฟี โบนัชชี (𝐹𝑛 ) นิยามโดย 𝐹0 = 0, 𝐹1 = 1 และ 𝐹𝑛+1 = 𝐹𝑛 + 𝐹𝑛−1 สาหรับจานวนเต็ม 𝑛 ≥ 1


เศษเหลือที่ได้ จากการหาร 𝐹2018 ด้ วย 4 มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3
ตอบ ข
เนื่องจากการหาเศษเหลือ กระจายในการบวกได้ → นาเศษเหลือของพจน์ก่อนหน้ า มาหาเศษเหลือของพจน์ถดั ไปได้ เลย
𝐹0 = 0 → หารด้ วย 4 เหลือเศษ 0
𝐹1 = 1 → หารด้ วย 4 เหลือเศษ 1
𝐹2 หารด้ วย 4 เหลือเศษ = เศษเหลือของ 𝐹1 + เศษเหลือของ 𝐹0 = 1 + 0 = 1
𝐹3 หารด้ วย 4 เหลือเศษ = เศษเหลือของ 𝐹2 + เศษเหลือของ 𝐹1 = 1 + 1 = 2
𝐹4 หารด้ วย 4 เหลือเศษ = เศษเหลือของ 𝐹3 + เศษเหลือของ 𝐹2 = 2 + 1 = 3
𝐹5 หารด้ วย 4 เหลือเศษ = เศษเหลือของ 𝐹4 + เศษเหลือของ 𝐹3 = 3 + 2 = 5 → หารด้ วย 4 เหลือเศษ 1
𝐹6 หารด้ วย 4 เหลือเศษ = เศษเหลือของ 𝐹5 + เศษเหลือของ 𝐹4 = 1 + 3 = 4 → หารด้ วย 4 เหลือเศษ 0

จะได้ ลาดับของเศษเหลือจากการหาร 𝐹𝑛 ด้ วย 4 คือ 0, 1, 1, 2, 3, 5→1, 4→0, 1, 1, 2, 3, …
20 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

จะเห็นว่าเศษเหลือ วนซ ้าทุกๆ 6 ตัว ในรูป 0 , 1 , 1 , 2 , 3 , 1


เนื่องจาก 2018 หารด้ วย 6 เหลือเศษ 2 ดังนัน้ เศษเหลือของ 𝐹2018 จะเท่ากับเศษเหลือของ 𝐹2 ซึง่ เท่ากับ 1

8. ในห้ องเรียนวิชาคณิตศาสตร์ นกั เรี ยนคนหนึง่ ได้ นิยาม การกระจายตัวของข้ อมูล 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥2018 เป็ น
 ( xi  x j ) 2
i j

2018  2017
n 2 n 2
(𝑥𝑗 −𝑥̅ ) (𝑥𝑗 −𝑥̅ ) 𝑥1 +𝑥2 + … +𝑥2018
กาหนดให้ 𝜎2 =  2018
และ 𝑠2 =  2017
โดยที่ 𝑥̅ = 2018
j1 j1

ค่าของการกระจายตัวของข้ อมูล 𝑥1, 𝑥2, … , 𝑥2018 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. 2017
2018
𝜎2 ข. 2017
2018
𝑠2 ค. 2𝜎 2 ง. 2𝑠 2
ตอบ ง
2 2
ถ้ า 𝑖 = 𝑗 จะได้ (𝑥𝑖 − 𝑥𝑗 ) = 0 ดังนัน้ สามารถรวมกรณี 𝑖 = 𝑗 ใน  (𝑥𝑖 − 𝑥𝑗 ) ได้ โดยไม่ทาให้ คา่ เปลีย่ น
i j
2018 2018
2 2
นัน่ คือ  (𝑥𝑖 − 𝑥𝑗 ) =   (𝑥𝑖 − 𝑥𝑗 )
i j i1 j 1
2018 2018
=   (𝑥𝑖 2 − 2𝑥𝑖 𝑥𝑗 + 𝑥𝑗 2 )
i1 j 1
2018 2018 2018
∑ 𝑥2
=  (2018𝑥𝑖 2 − 2𝑥𝑖  𝑥𝑗 +  𝑥𝑗 2 ) − 𝑥̅ 2 = 𝜎 2
i1 j 1 j 1 𝑛
∑ 𝑥2 = 𝑛(𝜎 2 + 𝑥̅ 2 )
2018
=  (2018𝑥𝑖 2 − 2𝑥𝑖 (2018𝑥̅ ) + 2018(𝜎 2 + 𝑥̅ 2 ) )
i1
2018
= 2018  (𝑥𝑖 2 − 2𝑥𝑖 𝑥̅ + 𝑥̅ 2 + 𝜎 2 )
i1
2018
= 2018  ( (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 + 𝜎 2)
i1
2018
= 2018 (  (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 + 2018𝜎 2 ) n 2
(𝑥𝑗 −𝑥̅ )
n
(𝑥𝑗 −𝑥̅ )
2
i1 𝜎2 =  และ 𝑠 2 = 
j1 2018 j1 2017
n
 (𝑥𝑗 − 𝑥̅ )
2
2 2 2018𝜎 2 = 2017𝑠 2 =
= 2018 ( 2017𝑠 + 2017𝑠 ) i1
= 2018 ∙ 2017 ∙ 2𝑠 2

 ( xi  x j )2
i j 2018 ∙ 2017 ∙ 2𝑠2
ดังนัน้ = = 2𝑠 2
2018  2017 2018 ∙ 2017
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 21

9. ลาดับอนันต์ (𝑎𝑛 ) นิยามโดย 𝑎1 = 0 และ 𝑎𝑛+1 = 12 + √𝑎𝑛 สาหรับจานวนเต็ม 𝑛≥1


ถ้ าลาดับ (𝑎𝑛 ) เป็ นลาดับลูเ่ ข้ าแล้ ว ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. limn
𝑎𝑛 > 1

ข. lim
n
𝑎𝑛 < 1

ค. lim
n
𝑎𝑛 = 1

ง. เป็ นไปได้ ทงสองกรณี


ั้ วา่ lim
n
𝑎𝑛 < 1 หรื อ lim 𝑎𝑛 > 1
n

ตอบ ก
จาก 𝑎𝑛+1 =
1
2
+ √𝑎𝑛
1
lim 𝑎𝑛+1 = lim (2 + √𝑎𝑛 )
n n
กระจาย lim ได้ เพราะ 𝑎𝑛 ลูเ่ ข้ า
1
lim 𝑎𝑛+1 = 2
+ lim an
n 
n
เมื่อ 𝑛 → ∞ จะได้ 𝑛 + 1 → ∞ ด้ วย
1
lim 𝑎𝑛 = 2
+ lim an
n n 
1
𝑘 = + √𝑘
2
2𝑘 = 1 + 2√𝑘
2
2√𝑘 − 2√𝑘 − 1 = 0
−(−2)±√(−2)2 −4(1)(−1)
√𝑘 = 2(2)
2±√8 1+√2 1+1.414
√𝑘 = = 2 = > 1
4 2 ยกกาลังสองทังสองข้
้ าง
𝑘 > 1
lim 𝑎𝑛 > 1
n

10. ค่าของ cos 2𝜋


7
เป็ นรากของพหุนามในข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 8𝑥 3 + 4𝑥 2 − 4𝑥 − 1 ข. 8𝑥 3 − 8𝑥 2 − 2𝑥 + 1
ค. 8𝑥 3 − 4𝑥 2 + 4𝑥 − 1 ง. 8𝑥 3 + 8𝑥 2 − 2𝑥 − 1
ตอบ ก
2𝜋 2𝜋 7
ให้ 𝑎 = cis 7
จะได้ 𝑎7 = (cis 7
) = cis 2𝜋 = cos 2𝜋 + 𝑖 sin 2𝜋 = 1
𝑎7 − 1 = 0 2𝜋
(𝑎 − 1)(𝑎6 + 𝑎5 + 𝑎4 + 𝑎3 + 𝑎2 + 𝑎 + 1) = 0 𝑎 = cis ≠ 1
7
𝑎6 + 𝑎5 + 𝑎4 + 𝑎3 + 𝑎2 + 𝑎 + 1 = 0 → หารตลอดด้ วย 𝑎 − 1 ได้
6(2𝜋) 5(2𝜋) 4(2𝜋) 3(2𝜋) 2(2𝜋) 1(2𝜋)
cis + cis + cis + cis + cis + cis +1= 0
7 7 7 7 7 7 ส่วนจริงต้ อง = 0 ด้ วย
6(2𝜋) 5(2𝜋) 4(2𝜋) 3(2𝜋) 2(2𝜋) 1(2𝜋)
cos 7 + cos 7 + cos 7 + cos 7 + cos 7 + cos 7 +1 = 0 มุมรวมกันได้ 2𝜋
1(2𝜋) 2(2𝜋) 3(2𝜋) 3(2𝜋) 2(2𝜋) 1(2𝜋) cos จะเท่ากัน
cos + cos + cos + cos + cos + cos +1 = 0
7 7 7 7 7 7
ให้ 𝜃 = 2𝜋 7
2 cos 3𝜃 + 2 cos 2𝜃 + 2 cos 𝜃 + 1 = 0
2(4 cos3 𝜃 − 3 cos 𝜃) + 2(2 cos2 𝜃 − 1) + 2 cos 𝜃 + 1 = 0 ให้ 𝑥 = cos 𝜃
8𝑥 3 + 4𝑥 2 − 4𝑥 − 1 = 0
22 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

11. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามดีกรี 2 มีคา่ ต่าสุดเมื่อ 𝑥 = 3 และ 𝐹(2𝑥) เป็ นปฏิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥)
ถ้ า 𝐹 ′(2) = −5 และ 𝐹 ′′(−2) = −4 พื ้นที่ปิดล้ อมของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 3
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 16.5 ข. 18 ค. 33 ง. 36
ตอบ ง
𝑏
ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 → จากสมบัติของฟั งก์ชนั กาลังสอง ค่าสูงสุด/ตา่ สุด จะเกิดเมื่อ 𝑥 = − 2𝑎
𝑏
โจทย์ให้ 𝑓 มีคา่ ตา่ สุดเมื่อ 𝑥 = 3 ดังนัน้ − 2𝑎 = 3 → 𝑏 = −6𝑎 → จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 − 6𝑎𝑥 + 𝑐 …(∗)
จะได้ 𝐹(2𝑥) = ปฎิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) = 𝑎3 𝑥 3 − 3𝑎𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑑 เป็ นค่าคงที่ใดๆ
𝑎 𝑘 3 𝑘 2
แทน 𝑥 ด้ วย 𝑘2 จะได้ 𝑘
𝐹 (2 (2 )) = ( )
3 2
− 3𝑎 (2 ) + 𝑐 (2 ) + 𝑑
𝑘

𝑎 3 3𝑎 2 𝑐
𝐹(𝑘) = 24
𝑘 − 4
𝑘 + 2
𝑘 +𝑑
𝑎 2 3𝑎 𝑐
𝐹 ′ (𝑘) = 8
𝑘 − 2
𝑘 + 2
𝑎 3𝑎
𝐹 ′′ (𝑘) = 4
𝑘 − 2

จาก 𝐹 ′′ (−2) = −4 และจาก 𝐹 ′ (2) = −5


𝑎 3𝑎 𝑎 3𝑎 𝑐
(−2) − = −4 (22 ) − (2) + = −5
4 2 8 2 2
−2𝑎 = −4 1 − 6 +2
𝑐
= −5
𝑎 = 2
𝑐 = 0
แทนค่า 𝑎=2, 𝑐=0 ใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 12𝑥 → ตัดแกน 𝑥 ที่ 2𝑥 2 − 12𝑥 = 0
2𝑥(𝑥 − 6) = 0
𝑥 = 0, 6
ดังนัน้ จาก 𝑥=0 ถึง 𝑥=3 ไม่ผา่ นจุดตัดแกน 𝑥
3 3
2 3
 2𝑥 2 − 12𝑥 𝑑𝑥 = 3
𝑥 − 6𝑥 2 |
0 0
2 2
= (3 (3 ) − 6(3 )) − (3 (03 ) −
3 2
6(02 )) = −36 → จะได้ พื ้นที่ = |−36| = 36

𝑓(𝑥) 4
12. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีความต่อเนื่องที่ 𝑥 = −3 และ x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4

ถ้ า 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) ค่าของ 𝑔′ (−3) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้


ก. −15 ข. −13 ค. 2 ง. 5
ตอบ ข
𝑓(𝑥) 4 𝑓(𝑥) 4 𝑓(𝑥) 4 (𝑥+1)𝑓(𝑥) + 4
จาก x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4 → จัดรูป 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3 = 𝑥+3
+ (𝑥+1)(𝑥+3) = (𝑥+1)(𝑥+3)
(−3+1)𝑓(−3)+4 −2𝑓(−3)+4
จะเห็นว่าเมื่อแทน 𝑥 = −3 จะได้ (−3+1)(−3+3)
= 0
→ ลิมิตหาค่าได้ = 4 แสดงว่าเศษต้ อง = 0
จะได้ −2𝑓(−3) + 4 = 0
𝑓(−3) = 2 …(1)
ดิฟ บน (𝑥+1)𝑓′ (𝑥)+𝑓(𝑥)
ลิมิตอยูใ่ นรูป 00 → ใช้ โลปิ ตาล จะได้ ดิฟ ล่าง
= 2𝑥+4
(−3+1)𝑓′ (−3)+𝑓(−3) −2𝑓′ (−3)+2
เมื่อแทน 𝑥 = −3 จะได้ 2(−3)+4
= −2
จะเห็นว่าส่วน ≠ 0 แล้ ว
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 23

𝑓(𝑥) 4 −2𝑓′ (−3)+2


จาก x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4 จะสรุปได้ วา่ −2
= 4

𝑓 (−3) = 5 …(2)
จาก 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥)
𝑔′ (𝑥) = 𝑥𝑓 ′ (𝑥) + 𝑓(𝑥) จาก (1) และ (2)
𝑔′ (−3) = (−3)𝑓 ′ (−3) + 𝑓(−3)
𝑔′ (−3) = (−3)( 5 ) + 2 = −13

13. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนที่แตกต่างกันโดยที่ |𝑧|2 𝑤 − |𝑤|2𝑧 = 𝑧 − 𝑤


พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
Re(𝑧) 1
(1) 𝑧̅𝑤 = −1 (2) Re(𝑤) = |𝑧|2
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ง
จาก |𝑧|2 𝑤 − |𝑤|2 𝑧 = 𝑧 − 𝑤 𝑢 ∙ 𝑢̅ = |𝑢|2 |𝑧|2 𝑤 − |𝑤|2 𝑧 = 𝑧 − 𝑤
𝑧𝑧̅𝑤 − 𝑤𝑤 ̅𝑧 = 𝑧−𝑤 |𝑧|2 𝑤 + 𝑤 = |𝑤|2 𝑧 + 𝑧
𝑤𝑧(𝑧̅ − 𝑤 ̅) = 𝑧−𝑤 𝑤(|𝑧|2 + 1) = 𝑧(|𝑤|2 + 1)
𝑤𝑧(𝑧̅̅̅̅̅̅̅̅)
−𝑤 = 𝑧−𝑤 1
𝑤(|𝑧|2 + 1) = 𝑧 (|𝑧|2 + 1)
|𝑤||𝑧||𝑧̅̅̅̅̅̅̅̅|
−𝑤 = |𝑧 − 𝑤|
|𝑢| = |𝑢̅| 1 + |𝑧|2
|𝑤||𝑧| = 1 𝑤(|𝑧|2 + 1) = 𝑧( |𝑧|2
)
1 𝑧
|𝑤| = 𝑤 =
|𝑧| |𝑧|2
𝑧 𝑧∙𝑧̅
(1) 𝑧̅𝑤 = 𝑧̅ (|𝑧|2 ) = |𝑧|2
= 1 → ผิด (2) Re(𝑤) = Re(|𝑧|2 )
𝑧

Re(𝑧)
Re(𝑤) = |𝑧|2
Re(𝑧)
|𝑧|2 =
Re(𝑤)
→ ผิด

1
14. กาหนดให้ 𝑥 = arctan 2018 และ 𝑦 = arctan 2017
2019
ค่าของ cos 𝑥 − sin 𝑦
cos 𝑦 + sin 𝑥
+
cos 𝑦 − sin 𝑥
cos 𝑥 + sin 𝑦
ตรงกับข้ อใด
ก. 2(√2 − 1) ข. √3 − 1
2018
ค. √(2017)2+(2019)2 ง. √(2017)20172 +(2019)2

ตอบ ก
ให้ 𝑎 = 2018 จะได้ 𝑎 − 1 = 2017 และ 𝑎 + 1 = 2019
1
จาก 𝑥 = arctan 2018 และ 𝑦 = arctan 2017
2019
จะวาดได้ ดงั รูป

= √𝑎2 + 1 = √(𝑎 + 1)2 + (𝑎 − 12 = √𝑎2 + 2𝑎 + 1 + 𝑎2 − 2𝑎 + 1


1 𝑎−1 = √2𝑎2 + 2
𝑥 𝑦
𝑎 𝑎+1 = √2 √𝑎2 + 1

จะได้ cos 𝑥 − sin 𝑦 = 𝑎


√𝑎 2 +1

𝑎−1
และ cos 𝑥 + sin 𝑦 = 𝑎
+
𝑎−1
√2√𝑎 2 +1 √𝑎 2 +1 √2√𝑎 2 +1
√2𝑎 − 𝑎 + 1 √2𝑎 + 𝑎 − 1
= =
√2√𝑎2 +1 √2√𝑎2 +1
24 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

จะได้ cos 𝑦 + sin 𝑥 =


𝑎+1
+
1
และ cos 𝑦 − sin 𝑥 =
𝑎+1

1
√2√𝑎2 +1 √𝑎 2 +1 √2√𝑎2 +1 √𝑎 2 +1
𝑎 + 1 + √2 𝑎 + 1 − √2
= =
√2√𝑎 2 +1 √2√𝑎 2 +1

cos 𝑥 − sin 𝑦 cos 𝑦 − sin 𝑥 √2𝑎 − 𝑎 + 1 𝑎 + 1 − √2


ดังนัน้ cos 𝑦 + sin 𝑥
+ cos 𝑥 + sin 𝑦 = 𝑎 + 1 + √2
+ 2𝑎 + 𝑎 − 1

(√2 − 1)𝑎 + 1 𝑎 −(√2 − 1)
= +
𝑎 +(√2 + 1) (√2 + 1)𝑎 − 1
1 𝑎
(√2 − 1)(𝑎 + ) (√2 − 1)( − 1)
√2 − 1 √2 − 1
= 𝑎 +(√2 + 1)
+ (√2 + 1)𝑎 − 1

(√2 − 1)(𝑎 + √2 + 1) (√2 − 1)((√2 + 1)𝑎 − 1)


= 𝑎 +(√2 + 1)
+ (√2 + 1)𝑎 − 1

= √2 − 1 + √2 − 1
= 2(√2 − 1)

15. ให้ 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 𝑛 × 𝑛 โดยที่ 𝐴 ไม่เป็ นเมทริ กซ์ศนู ย์ , 𝐼 − 𝐴 มีอินเวอร์ สการคูณ และ 𝐴𝑇 + 𝐴 เป็ น
เมทริ กซ์ศนู ย์ ถ้ า 𝐵 = (𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1 แล้ ว จานวนจริ ง 𝑘 ที่ทาให้ 𝐵𝑇 𝐵 = 𝑘𝐼 มีคา่ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 1 ค. (−1)𝑛+1 ง. 𝑛
ตอบ ข
𝑇
𝐵𝑇 𝐵 = ((𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1 ) (𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1
= ((𝐼 − 𝐴)−1 )𝑇 (𝐼 + 𝐴)𝑇 (𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1
= ((𝐼 − 𝐴)𝑇 )−1 (𝐼 + 𝐴)𝑇 (𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1
= (𝐼 𝑇 − 𝐴𝑇 )−1 (𝐼 𝑇 + 𝐴𝑇 )(𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1 จาก 𝐴𝑇 + 𝐴 = 0 จะได้ 𝐴𝑇 = −𝐴
= (𝐼 + 𝐴 )−1 (𝐼 − 𝐴 )(𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1
(𝐼 − 𝐴)(𝐼 + 𝐴) = (𝐼 + 𝐴)(𝐼 − 𝐴)
= (𝐼 + 𝐴 )−1 (𝐼 + 𝐴 )(𝐼 − 𝐴)(𝐼 − 𝐴)−1
เพราะกระจายแล้ วได้ 𝐼 − 𝐴2 ทังคู
้ ่
= ( 𝐼 )( 𝐼 )
= 𝐼

16. ในการสารวจความนิยมของประชากรในการติดตามข่าวพบว่า 400 คนจาก 1000 คนติดตามข่าวจากโซเชียลมิเดีย


และ 12% ของคนติดตามข่าวจากโซเชียลมิเดียฟังข่าวจากทางวิทยุด้วย ในขณะที่ 20% ของคนที่ไม่ติดตามข่าว
ทางโซเชียลมิเดียฟังข่าววิทยุ กี่เปอร์ เซ็นของผู้ตดิ ตามข่าวทางวิทยุติดตามข่าวทางโซเชียลมิเดียด้ วย (ตอบในรูป
ทศนิยมสองตาแหน่ง)
ตอบ 28.57
ทังหมด
้ 1000 คน มีโซเชียล 400 คน → ไม่โซเชียล 1000 − 400 = 600 คน
12
12% ของโซเชียล ฟั งวิทยุ = 100 ∙ 400 = 48 คน
20
20% ของไม่โซเชียล ฟั งวิทยุ = 100 ∙ 600 = 120 คน
ดังนัน้ ฟั งวิทยุทงหมด
ั้ = 48 (โซเชียล) + 120 (ไม่โซเชียล) = 168 คน
48 2
ดังนัน้ ในคนฟังวิทยุ 168 คน จะมีโซเชียล 168 ∙ 100 = 7 ∙ 100 = 28.571…
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 25

17. กาหนดให้ 𝐴 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 : |𝑥| + |𝑦| ≥ 1 และ 𝑥 2 + 𝑦 2 ≤ 1 }


นิยาม 𝑓 : 𝐴 → ℝ โดย 𝑓(𝑥, 𝑦) = √𝑥 2 + 𝑦 2 สาหรับทุก (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 จงหาเรนจ์ของ 𝑓 (ตอบในรูปของช่วง)
ตอบ [√22 , 1]
จากความรู้ในเรื่ องรูปกราฟพื ้นฐานที่ควรจาได้ 1 |𝑥| + |𝑦| ≥ 1 1 𝑥2 + 𝑦2 ≤ 1

และการสุม่ จุดแทนในอสมการ เพื่อแรเงา 1 1


จะได้ กราฟของอสมการเป็ นดังรูป

1
ดังนัน้ |𝑥| + |𝑦| ≥ 1 และ 2
𝑥 +𝑦 ≤1 2
จะหมายถึงบริเวณทีซ่ ้ อนทับกัน ดังรูป
1

√𝑥 2 + 𝑦 2 = √(𝑥 − 0)2 + (𝑦 − 0)2 = ระยะจาก (0, 0) ไปยัง (𝑥, 𝑦)


ดังนัน้ จะหาเรนจ์ของ 𝑓(𝑥, 𝑦) = √𝑥 2 + 𝑦 2 ต้ องหาว่าระยะจาก (0, 0) ไปยังจุดในส่วนที่แรเงา มีคา่ เท่าไหร่ได้ บ้าง

สันสุ
้ ด = ระยะตังฉากไปยั
้ งเส้ นตรง ยาวสุด = ระยะไปยังเส้ นรอบวง
= 1 sin 45° = รัศมีวงกลม
𝑑 √2
𝐷
= = 1
45° 2
1 1

√2
ดังนัน้ ค่าของ √𝑥 2 + 𝑦 2 จะมีคา่ อยูใ่ นช่วง [ 2 , 1]

18. กาหนดจุด 𝐴 = (4, 3) บนระนาบ ถ้ าจุด 𝐵 = (𝑎, 𝑏) บนวงกลม 𝑥 2 + 𝑦 2 − 2𝑥 − 4𝑦 − 85 = 0 ทาให้


ระยะทาง 𝐴𝐵 จากจุด 𝐴 ไปยังจุดบนเส้ นรอบวงของวงกลมมีคา่ น้ อยทีส่ ดุ แล้ ว จงหาค่าของ 3𝑎 + 2𝑏
ตอบ 40
จัดรูปวงกลม 𝑥 2 + 𝑦 2 − 2𝑥 − 4𝑦 − 85 = 0
(𝑥 − 1)2 + (𝑦 − 2)2 = 90 → ศก = 𝐶(1, 2) และ รัศมี = √90 = 3√10
ต่อ 𝐶𝐴 ออกไปตัดวงกลมที่ 𝐵′ ดังรูป
𝐴(4, 3)
𝐵′ จากสมบัติของสามเหลีย่ ม จะได้ 𝐶𝐴 + 𝐴𝐵 ≥ 𝐶𝐵 𝐶𝐵 = 𝐶𝐵′ = 𝑟
𝐶𝐴 + 𝐴𝐵 ≥ 𝐶𝐵′
𝐶(1, 2) 𝐶𝐴 + 𝐴𝐵 ≥ 𝐶𝐴 + 𝐴𝐵′
𝐵 𝐴𝐵 ≥ 𝐴𝐵′
นัน่ คือ 𝐴𝐵 จะมีคา่ น้ อยที่สดุ เมื่อ 𝐵 อยูท่ ี่ 𝐵′
จะใช้ ความรู้เรื่ องเวกเตอร์ มาหาพิกดั ของ 𝐵′ → สังเกตว่า ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝐶𝐵′ คือเวกเตอร์ ในทิศ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐶𝐴 ที่ยาว = 𝑟 = 3√10
⃗⃗⃗⃗⃗ = [4 − 1] = [3] →
𝐶𝐴 จะได้ |𝐶𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗ | = √32 + 12 = √10 → เวกเตอร์ หนึง่ หน่วยในทิศ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐶𝐴 คือ 1 3
[ ]
3−2 1 √10 1
1 3 9
ดังนัน้ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝐶𝐵′ = 3√10 (
√10 1
= [ ]
[ ])
3
𝑎−1 𝑎−1 9
เมื่อ 𝐵 อยูท่ ี่ 𝐵′ จะได้ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝐶𝐵′ = [
𝑏−2
] ดังนัน้ [
𝑏−2
] = [ ]
3
จะได้ 𝑎 = 10 และ 𝑏=5
จะได้ 3𝑎 + 2𝑏 = 3(10) + 2(5) = 40
26 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

19. เส้ นตรงที่ผา่ นโฟกัสของพาราโบลา 𝑦 2 = 16𝑥 สัมผัสกับวงกลม (𝑥 − 6)2 + 𝑦 2 = 2 ที่จดุ ใด


ตอบ (5, 1), (5, −1)
จัดรูปพาราโบลา จะได้ 𝑦 2 = 4(4)𝑥 → เป็ นแบบตะแคงขวา 𝑐 = 4 → จะได้ จดุ โฟกัสคือ F(4, 0)
วงกลม (𝑥 − 6)2 + 𝑦 2 = 2 มีจดุ ศุนย์กลาง C(6, 0) และมีรัศมี = √2 Y
P
วาดรุป จะเห็นว่าเส้ นสัมผัสจาก F ไปยังวงกลมจะมี 2 เส้ นดังรูป √2
ให้ P เป็ นจุดสัมผัสด้ านบน จากสมบัติเส้ นสัมผัส จะได้ FP̂C = 90° F(4,0) C(6,0)
X

พีทากอรัส จะได้ FP = √FC2 − PC2


2
P
= √(6 − 4)2 − √2 = √4 − 2 = √2
√2 √2
จะเห็นว่า FP = PC = √2 ดังนัน้ ∆FPC เป็ น ∆ หน้ าจัว่ ℎ

ส่วนสูง ℎ จะแบ่งครึ่งฐาน FC เป็ นฝั่งละ 6−4


2
= 1 ดังรู ป F(4,0) 1 1 C(6,0)
2
พีทากอรัส จะได้ ℎ = √√2 − 12 = 1 → จะได้ พิกดั จุด P คือ (5, 1)
จุดสัมผัสด้ านล่างจะสมมาตรกับ P รอบแกน X → จะได้ จดุ สัมผัสด้ านล่างคือ (5, −1)

20. จาหาจานวนจริง 𝑎 ทังหมดที


้ ่ทาให้ สมการต่อไปนี ้มีผลเฉลยเป็ นจานวนจริ งเพียงค่าเดียว
log 3 (𝑥 − 2) + log 3 (𝑎 − 𝑥) = 2
ตอบ 8
หลัง log ต้ องเป็ นบวก → 𝑥−2 > 0 และ 𝑎−𝑥 > 0
𝑥 > 2 𝑎 > 𝑥 → 2 < 𝑥 < 𝑎 …(∗)
และจากสมการ log 3 (𝑥 − 2) + log 3 (𝑎 − 𝑥) = 2
log 3 (𝑥 − 2)(𝑎 − 𝑥) = 2
(𝑥 − 2)(𝑎 − 𝑥) = 32
𝑎𝑥 − 𝑥 2 − 2𝑎 + 2𝑥 = 9
0 = 𝑥 2 − (𝑎 + 2)𝑥 + 2𝑎 + 9
(𝑎+2) ± √(𝑎+2)2 − 4(2𝑎+9)
ใช้ สตู รคาตอบของสมการกาลังสอง จะได้ 𝑥 =
𝑎+2
2 ให้ 𝑘 = (𝑎 + 2)2 − 4(2𝑎 + 9)
√𝑘
= ±
2 2

กรณี 𝑘 < 0 : ในรูทจะติดลบ สมการจะไม่มีคาตอบ → ใช้ ไม่ได้ (โจทย์ต้องการให้ มี 1 คาตอบ)


กรณี 𝑘 > 0 : สมการจะมี 2 คาตอบ คือ 𝑎+22
√𝑘 𝑎+2
+ 2 และ 2 − 2
√𝑘

แต่จาก (∗) เราต้ องตรวจสอบด้ วยว่า 2 คาตอบนี ้ อยูร่ ะหว่าง 2 กับ 𝑎 หรื อไม่
เนื่องจาก 𝑎+2
2
คือจานวนที่อยูต่ รงกลางระหว่าง 2 กับ 𝑎 พอดี
𝑎+2
ดังนัน้ 2
√𝑘
± 2 จะอยูใ่ นช่วง (2, 𝑎) ทังคู
้ ่ หรื อ ไม่อยูใ่ นช่วง (2, 𝑎) ทังคู
้ ่ ดังรูป
√𝑘 √𝑘 √𝑘 √𝑘
2 2 2 2

2 𝑎+2 𝑎 2 𝑎+2 𝑎
2 2
𝑎+2 √𝑘 𝑎+2 √𝑘 𝑎+2 √𝑘 𝑎+2 √𝑘
− + − +
2 2 2 2 2 2 2 2

ดังนัน้ กรณีนี ้ จะมี 2 คาตอบ หรือไม่ก็ไม่มีคาตอบเลย → ใช้ ไม่ได้


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 27

กรณี 𝑘 = 0 : สมการจะมี 1 คาตอบ คือ 𝑎+2


2
ซึง่ เป็ นค่าตรงกลางระหว่าง 2 กับ 𝑎 จึงสอดคล้ องกับเงื่อนไข (∗) เสมอ
จาก 𝑘 = (𝑎 + 2)2 − 4(2𝑎 + 9) จะได้ (𝑎 + 2)2 − 4(2𝑎 + 9) = 0
𝑎2 + 4𝑎 + 4 − 8𝑎 − 36 = 0
𝑎2 − 4𝑎 − 32 = 0
(𝑎 − 8)(𝑎 + 4) = 0
𝑎 = 8 , −4
แต่จาก (∗) จะได้ 2<𝑎 ทาให้ 𝑎 = −4 ไม่ได้ → เหลือ 𝑎 = 8 เพียงคาตอบเดียว

21. ให้ 𝑢⃗, 𝑣, 𝑤


⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ ซงึ่ |𝑢
⃗ | = 2 , |𝑣 | = 1 , |𝑤
⃗⃗ | = 1 และ 𝑢
⃗ + 2𝑣 + 3𝑤 ⃗
⃗⃗ = 0
จงหาค่าของ |𝑢⃗ × 𝑣|2
ตอบ 63
16
𝑢
⃗ + 2𝑣 + 3𝑤 ⃗⃗ = ⃗0
𝑢
⃗ + 2𝑣 = −3𝑤 ⃗⃗
⃗ + 2𝑣 |2
|𝑢 = |−3𝑤 ⃗⃗ |2 ⃗ × 𝑣 |2 =
|𝑢 ⃗ ||𝑣 | sin 𝜃)2
(|𝑢
⃗ |2 + |2𝑣 |2 + 2(𝑢
|𝑢 ⃗ ∙ 2𝑣) = |3𝑤 ⃗⃗ |2 = 2 1 sin2 𝜃
2 2
⃗ |2 + |2𝑣 |2 + 4|𝑢
|𝑢 ⃗ ||𝑣 |cos 𝜃 = |3𝑤 ⃗⃗ |2 = 4 (1 − cos2 𝜃)
22 + (2 ∙ 1)2 + 4(2)(1) cos 𝜃 = (3 ∙ 1)2 1 63 63
9−4−4 1 = 4 (1 − 82 ) = 4 (64) = 16
cos 𝜃 = =
8 8

22. ถ้ าเขียนผลคูณ (𝑥 2 + 4)3 (𝑥 − 2)5 ในรูปของพหุนาม 𝑎0 + 𝑎1 𝑥 + 𝑎2 𝑥 2 + ⋯ + 𝑎11 𝑥11 แล้ วจงหาค่า


ของ 𝑎2 + 𝑎3 + ⋯ + 𝑎10
ตอบ −3198
จาก (𝑥 2 + 4)3 (𝑥 − 2)5 = 𝑎0 + 𝑎1 𝑥 + 𝑎2 𝑥 2 + ⋯ + 𝑎11 𝑥 11 …(∗)
แทน 𝑥 = 1 ใน (∗) : (12 + 4)3 (1 − 2)5 = 𝑎0 + 𝑎1 + 𝑎2 + ⋯ + 𝑎11
−125 = 𝑎0 + 𝑎1 + 𝑎2 + ⋯ + 𝑎11 …(1)
แทน 𝑥 = 0 ใน (∗) : (02 + 4)3 (0 − 2)5 = 𝑎0
−2048 = 𝑎0 …(2)
𝑎11 คือ สปส ของ 𝑥 กาลังสูงที่สดุ ในการกระจาย (𝑥 2 + 4)3 (𝑥 − 2)5
แต่จะเห็นว่า 𝑥 กาลังสูงที่สดุ ของแต่ละวงเล็บที่มาคุณกัน ไม่มี สปส คูณอยู่ (𝑥 2 + 4)3 (𝑥 − 2)5
ดังนัน้ ถ้ ากระจายออกมาแล้ ว 𝑥 กาลังสูงที่สดุ ก็จะไม่มี สปส คูณอยูเ่ ช่นกัน → 𝑎11 = 1 …(3)

𝑎1 คือ สปส ของ 𝑥 กาลัง 1 ในการกระจาย (𝑥 2 + 4)3 (𝑥 − 2)5


แต่จะเห็นว่าในการกระจาย (𝑥 2 + 4)3 จะไม่มีพจน์ 𝑥 กาลัง 1 เลย (เพราะ 𝑥 2 + 4 เลขชี ้กาลังของ 𝑥 เริ่ มที่ 2)
ดังนัน้ 𝑥 กาลัง 1 จะเกิดจากพจน์ที่ไม่มี 𝑥 ของ (𝑥 2 + 4)3 คูณกับ พจน์ 𝑥 กาลัง 1 ของ (𝑥 − 2)5
= 43 ใช้ ทวินาม จะได้ = (54)𝑥1 (−2)4
จะได้ 𝑎1 = 43 ∙ (54)(−2)4 = 5120 …(4)
เอา (1) มาหักออกด้ วย 𝑎0 , 𝑎11 และ 𝑎1 จาก (2), (3) และ (4)
จะเหลือ 𝑎2 + 𝑎3 + ⋯ + 𝑎10 = −125 − (−2048 + 1 + 5120) = −3198
28 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

23. ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥50 เป็ นจานวนจริ งบวก โดยที่


1 1 1 1
𝑥1 = 1 + 2𝑥 , 𝑥2 = 1 + 2𝑥 , … , 𝑥49 = 1 + 2𝑥 , 𝑥50 = 1 + 2𝑥
2 3 50 1
จงหาค่าของ 𝑥25
1+√3
ตอบ 2
1
𝑥1 = 1+ …(1)
2𝑥2
1 ทาแบบเดียวกันกับแต่ละคูข่ องสมการที่เหลือ จะได้
𝑥2 = 1 + 2𝑥 …(2)
3 𝑥3 − 𝑥4
1 1 𝑥2 − 𝑥3 = − 2𝑥3 𝑥4
(1) − (2) : 𝑥1 − 𝑥2 = 2𝑥2
− 2𝑥
3 𝑥4 − 𝑥5
𝑥3 − 𝑥2 𝑥3 − 𝑥4 = − 2𝑥 𝑥
𝑥1 − 𝑥2 = 2𝑥2 𝑥3
4 5

𝑥2 − 𝑥3 𝑥 −𝑥
𝑥1 − 𝑥2 = − 2𝑥 𝑥 𝑥50 − 𝑥1 = − 1 2
2 3 2𝑥1 𝑥2

นาผลลบทัง้ 50 สมการมาคูณกัน จะได้


𝑥2 − 𝑥3 𝑥3 − 𝑥 4 𝑥1 − 𝑥2
(𝑥1 − 𝑥2 )(𝑥2 − 𝑥3 ) … (𝑥50 − 𝑥1 ) = (− ) (− 2𝑥 ) … (− 2𝑥 )
2𝑥2 𝑥3 3 𝑥4 1 𝑥2

(𝑥1 − 𝑥2 )(𝑥2 − 𝑥3 ) … (𝑥50 − 𝑥1 ) =


(𝑥2 − 𝑥3 )(𝑥3 −𝑥4 )…(𝑥1 −𝑥2 ) ลบ คูณกัน 50 ครัง้ กลายเป็ นบวก
250 (𝑥1 ∙ 𝑥2 ∙ … ∙ 𝑥50 )2
(𝑥2 − 𝑥3 )(𝑥3 −𝑥4 )…(𝑥1 −𝑥2 )
(𝑥1 − 𝑥2 )(𝑥2 − 𝑥3 ) … (𝑥50 − 𝑥1 ) − = 0
250 (𝑥1 ∙ 𝑥2 ∙ … ∙ 𝑥50 )2 ดึงตัวร่วม
1
(𝑥1 − 𝑥2 )(𝑥2 − 𝑥3 ) … (𝑥50 − 𝑥1 ) (1 − 250 (𝑥 ∙ 𝑥 ∙ … ∙ 𝑥 )2 ) = 0 … (∗)
1 2 50

เนื่องจาก 𝑥𝑖 ทุกตัวเป็ นจานวนจริ งบวก ดังนัน้ 1 + 2𝑥1 ทุกตัว จะมากกว่า 1 ทาให้ ได้ วา่ 𝑥𝑖 ทุกตัว จะมากกว่า 1
𝑖

ดังนัน้ 250(𝑥 ∙ 𝑥 ∙ … ∙ 𝑥 )2 จะน้ อยกว่า 1 ซึง่ จะสรุปได้ วา่ 1 − 250(𝑥 ∙ 𝑥 1 ∙ … ∙ 𝑥 )2 ใน (∗) ไม่มีทางเป็ นศูนย์ได้
1
1 2 50 1 2 50

ดังนัน้ ต้ องมีวงเล็บอย่างน้ อย 1 วงเล็บ ที่เหลือทางซ้ ายของ (∗) ทีเ่ ป็ น 0


และเมื่อมีคู่ 𝑥𝑖 ติดกัน 1 คู่ ที่เท่ากัน มันจะดึงให้ 𝑥𝑖 ที่เหลือเท่ากันไปด้ วย
เช่น ถ้ า 𝑥10 − 𝑥11 = 0 จะสรุปได้ วา่ 𝑥10 = 𝑥11 ซึง่ จะได้ วา่ 1 + 2𝑥1 = 1+
1
2𝑥11
10
𝑥9 = 𝑥10
ทาเป็ นทอดต่อไปเรื่ อยๆ สุดท้ าย เราจะสรุปได้ เลยว่า 𝑥𝑖 ทุกตัว เท่ากันหมด
1
จาก 𝑥1 = 1 + 2𝑥 จะได้ 𝑘 = 1 + 2𝑘
1
(ให้ 𝑥𝑖 ทุกตัวเท่ากับ 𝑘)
2
2𝑘 2 − 2𝑘 − 1 = 0

−(−2)±√(−2)2 −4(1)(−1) 1+√3


จะได้ 𝑘=
2(2)
=
2
(ค่าลบใช้ ไม่ได้ เพราะโจทย์ให้ 𝑥𝑖 ทุกตัวเป็ นบวก)

(𝑥−1)2
24. จงเขียนเซตของจานวนจริง 𝑘 ทังหมดที
้ ่ทาให้ { 𝑥 ∈ ℝ ∶ (𝑥+1)(𝑥+3)
= 𝑘} = ∅ ในรูปของช่วง
ตอบ (−8, 0)
(𝑥−1)2
คือต้ องหา 𝑘 ที่ทาให้ สมการไม่มคี าตอบ (𝑥+1)(𝑥+3) = 𝑘
(𝑥 − 1)2 = 𝑘(𝑥 + 1)(𝑥 + 3)
𝑥 − 2𝑥 + 1 = 𝑘𝑥 2 + 4𝑘𝑥 + 3𝑘
2

0 = (𝑘 − 1)𝑥 2 + (4𝑘 + 2)𝑥 + 3𝑘 − 1 …(∗)


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 29

กรณี 𝑘 − 1 ≠ 0 : จะได้ (∗) เป็ นสมการกาลัง 2 ซึง่ จะไม่มคี าตอบเมื่อ


(4𝑘 + 2)2 − 4(𝑘 − 1)(3𝑘 − 1) < 0
÷ 4 ตลอด
22 (2𝑘 + 1)2 − 4(𝑘 − 1)(3𝑘 − 1) < 0
(2𝑘 + 1)2 − (𝑘 − 1)(3𝑘 − 1) < 0
4𝑘 2 + 4𝑘 + 1 − 3𝑘 2 + 4𝑘 − 1 < 0
𝑘 2 + 8𝑘 < 0
𝑘(𝑘 + 8) < 0
+ − +
จะได้ 𝑘 ∈ (−8, 0)
−8 0
กรณี 𝑘 − 1 = 0 : (∗) จะไม่ใช่สมการกาลัง 2 คิดแบบกรณีแรกไม่ได้
กรณีนี ้จะได้ 𝑘 = 1 แทนใน (∗) ได้ 0 = (1 − 1)𝑥 2 + (4(1) + 2)𝑥 + 3(1) − 1
0 = 6𝑥 + 2
1
−3 = 𝑥 → สมการมีคาตอบ ใช้ ไม่ได้
รวม 2 กรณี จะได้ 𝑘 ∈ (−8, 0)

25. นิยามจานวนต่ างใจตรงกันว่าคือจานวนเต็มบวกที่สามารถเขียนในรูปผลต่างกาลังสองของจานวนเต็มบวกได้ สอง


แบบ เช่น 64 เป็ นจานวนต่างใจตรงกัน เนื่องจาก 64 = 102 − 62 = 172 − 152 แต่ 3 ไม่เป็ นจานวนต่างใจ
ตรงกัน เนื่องจาก 3 = 22 − 12 และไม่มีจานวนเต็มบวก 𝑎 และ 𝑏 อื่นใดที่ 3 = 𝑎2 − 𝑏2
จงหาจานวนต่างใจตรงกันที่มคี า่ น้ อยที่สดุ
ตอบ 15
𝑎2 − 𝑏 2 = (𝑎 − 𝑏)(𝑎 + 𝑏) → สังเกตว่า 𝑎 − 𝑏 น้ อยกว่า 𝑎 + 𝑏 อยู่ 2𝑏 ซึง่ 2𝑏 เป็ นเลขคูบ ่ วก
นัน่ คือ จานวนต่างใจตรงกัน ต้ องสามารถ “แยกเป็ นผลคูณของสองตัวทีต่ า่ งกันเป็ นจานวนคูบ่ วก” ได้ 2 แบบ
ดังนัน้ 1, 2, 3, 5, 7, 11, 13, … หรื อจานวนเฉพาะอื่นๆ จะใช้ ไม่ได้ เพราะเขียนเป็ นผลคูณได้ แค่แบบเดียว
4 = 1 × 4 (ไม่ได้ เพราะต่างกันเป็ นเลขคี่) = 2 × 2 (ไม่ได้ เพราะต่างกัน 0)
6 = 1 × 6 (ไม่ได้ เพราะต่างกันเป็ นเลขคี่) = 2 × 3 (ไม่ได้ เพราะต่างกันเป็ นเลขคี่)
8 = 1 × 8 (ไม่ได้ เพราะต่างกันเป็ นเลขคี่) = 2 × 4 (ได้ ) → ได้ แค่แบบเดียว
9 = 1 × 9 (ได้ ) = 3 × 3 (ไม่ได้ เพราะต่างกัน 0) → ได้ แค่แบบเดียว
10 = 1 × 10 (ไม่ได้ เพราะต่างกันเป็ นเลขคี)่ = 2 × 5 (ไม่ได้ เพราะต่างกันเป็ นเลขคี่)
12 = 1 × 12 (ไม่ได้ ) = 2 × 6 (ได้ ) = 3 × 4 (ไม่ได้ ) → ได้ แค่แบบเดียว
14 = 1 × 14 (ไม่ได้ ) = 2 × 7 (ไม่ได้ )
15 = 1 × 15 (ได้ ) = 3 × 5 (ได้ ) → แยกเป็ นสองตัวที่ตา่ งกันเป็ นคูบ
่ วกได้ 2 แบบ
ซึง่ ถ้ าย้ อนหา 𝑎, 𝑏 จะได้ 15 = (8 − 7)(8 + 7) = (4 − 1)(4 + 1)
จะได้ จานวนต่างใจตรงกันที่น้อยที่สดุ คือ 15
30 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

26. เค้ กแต่งงานจะทาเป็ นขนมเค้ กทีม่ ีหน้ าตัดเป็ นรูปวงกลมซ้ อนขึ ้นไปเป็ นชันๆ ้ โดยที่แต่ละชันที้ ่ซ้อนขึ ้นไปมีรัศมีหน้ าตัด
2
ลดลงครึ่งหนึง่ และมีสว่ นสูงเป็ น 3 เท่าของส่วนสูงชันก่
้ อนหน้ านัน้ ถ้ าปริ มาตรของเนื ้อเค้ กที่ฐานชันล่
้ างสุดเป็ น 10
ลูกบาศก์หน่วย แล้ ว ปริ มาตรของเค้ กแต่งงานชิ ้นนี ้เท่ากับกี่ลกู บาศก์หน่วย
ตอบ 12
ให้ ชนล่
ั ้ างสุดมีรัศมี 𝑟 และสูง ℎ ซึง่ จะมีปริ มาตร = 𝜋𝑟 2 ℎ
1 2 1 2 2 1
ชันถั
้ ดขึ ้นมา จะมีรัศมี 2
𝑟 และสูง 3
ℎ ซึง่ จะมีปริ มาตร = 𝜋 (2 𝑟) (3 ℎ) = 6
𝜋𝑟 2 ℎ
2
1 2 2 2 2 2
้ ดขึ ้นมา จะมีรัศมี (2) 𝑟 และสูง (3) ℎ ซึง่ จะมีปริ มาตร = 𝜋 ((12) 𝑟) ((23) ℎ) = 612 𝜋𝑟 2 ℎ
ชันถั
จะเห็นว่าปริ มาตรเค้ ก เป็ นลาดับเรขาคณิต ที่มีอตั ราส่วนร่วม 16 และมี 𝑎1 = ปริ มาตรชันล่
้ างสุด = 10
𝑎1 10 6
จากสูตรอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ 𝑆∞ = 1−𝑟 จะได้ ปริ มาตรรวม = 1−1 = 10 ∙ 5 = 12
6

27. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็มบวกซึง่ สอดคล้ องกับสมการต่อไปนี ้


𝑎𝑏𝑐 + 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑐𝑎 + 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 29
จงหาค่าของ 𝑎+𝑏+𝑐
ตอบ 7
𝑎𝑏𝑐 + 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑐𝑎 + 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 29
𝑎𝑏𝑐 + 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑏 + 𝑐𝑎 + 𝑎 + 𝑐 + 1 = 29 + 1
𝑎𝑏(𝑐 + 1) + 𝑏(𝑐 + 1) + 𝑎(𝑐 + 1) + 𝑐 + 1 = 30
(𝑐 + 1)(𝑎𝑏 + 𝑏 + 𝑎 + 1) = 30
(𝑐 + 1)(𝑏(𝑎 + 1) + 𝑎 + 1) = 30
(𝑐 + 1)(𝑏 + 1)(𝑎 + 1) = 30

เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็มบวก ดังนัน้ 𝑎 + 1 , 𝑏 + 1 และ 𝑐 + 1 จะเป็ นจานวนที่มากกว่า 1


30 แยกเป็ นผลคูณของ 3 จานวนที่มากกว่า 1 ได้ แค่แบบเดียว คือ 2 × 3 × 5
ดังนัน้ 𝑎 + 1 , 𝑏 + 1 , 𝑐 + 1 คือ 2 , 3 , 5 (อาจไม่ตามลาดับ)
ดังนัน้ 𝑎 , 𝑏, 𝑐 คือ 1 , 2 , 4 (อาจไม่ตามลาดับ) ซึง่ จะบวกกันได้ 1 + 2 + 4 = 7

28. นาจุด 16 จุด มาจัดเรี ยงบนระนาบ โดยแบ่งออกเป็ น 4 แถว แต่ละแถวมี 4 จุด และระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใดๆ
ที่อยูต่ ิดกันในแถวเดียวกัน เท่ากับระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใดๆ ที่อยูต่ ิดกันในหลักเดียวกัน ความน่าจะเป็ น ที่เมื่อ
สุม่ เลือกจุด 3 จุดใดๆ มาจากระนาบนี ้แล้ วอยูใ่ นแนวเส้ นตรงเดียวกันเท่ากับเท่าใด
11
ตอบ 140
กรณี 3 จุด อยุใ่ นแนวนอน : เลือกแนวนอนได้ 4 แบบ
เลือก 3 จุด จาก 4 จุดที่อยูใ่ นแนวนอนเดียวกัน ได้ (43) แบบ
รวมได้ 4 (43) = 16 แบบ
กรณี 3 จุด อยูใ่ นแนวตัง้ : จะได้ จานวนแบบเท่ากับกรณีแรก = 16 แบบ

กรณี 3 จุด อยูใ่ นแนวเฉียงลง :


1 แบบ จะได้ 1 + 1 + (43) = 6 แบบ

1 แบบ (43) แบบ


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 31

กรณี 3 จุด อยูใ่ นแนวเฉียงขึ ้น จะได้ จานวนแบบเท่ากับกรณีเฉียงลง = 6 แบบ

16+16+6+6 44 11
รวมทุกกรณี จะได้ ความน่าจะเป็ น =
(16
= 16∙15∙14 =
140
3) 3∙2

29. กาหนดให้ 𝑧 และ 𝑤 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน โดยที่ |𝑧| ≤ 1 และ |𝑤| ≤ 1 ถ้ า |𝑧 + 𝑖𝑤| = |𝑧 − 𝑖𝑤
̅| = 2 แล้ ว
จงหาค่าทีเ่ ป็ นไปได้ ทงหมดของ
ั้ 𝑧 2 − 𝑧𝑤 + 𝑤 2
ตอบ 𝑖
จาก |𝑧| ≤ 1 และ |𝑤| ≤ 1 จะได้ |𝑧| + |𝑤| ≤ 2 …(1)
จากสูตร |𝑧1 + 𝑧2 | ≤ |𝑧1 | + |𝑧2| จะได้ |𝑧 + 𝑖𝑤| ≤ |𝑧| + |𝑖𝑤|
2 ≤ |𝑧| + |𝑤| …(2)
จาก (1) และ (2) จะได้ |𝑧| + |𝑤| = 2 ซึง่ จะได้ |𝑧| = 1 และ |𝑤| = 1
และจากสูตร |𝑧1 + 𝑧2 |2 + |𝑧1 − 𝑧2 |2 = 2|𝑧1 |2 + 2|𝑧2 |2
จะได้ |𝑧 + 𝑖𝑤|2 + |𝑧 − 𝑖𝑤|2 = 2|𝑧|2 + 2|𝑖𝑤|2 และ |𝑧 + 𝑖𝑤̅|2 + |𝑧 − 𝑖𝑤̅|2 = 2|𝑧|2 + 2|𝑖𝑤
̅|2
2 2 2 2 2 2
2 + |𝑧 − 𝑖𝑤| = 2(1 ) + 2(1 ) |𝑧 + 𝑖𝑤
̅| + 2 = 2(1 ) + 2(12 )
2

|𝑧 − 𝑖𝑤|2 = 0 ̅|2
|𝑧 + 𝑖𝑤 = 0
𝑧 = 𝑖𝑤 𝑧 = −𝑖𝑤
̅
สังเกตว่า 𝑖𝑤 กับ −𝑖𝑤̅ เป็ นคูส่ งั ยุคกัน ( 𝑖𝑤
̅̅̅ = 𝑖̅ 𝑤
̅ = −𝑖𝑤 ̅)
แสดงว่า 𝑧 = 𝑧̅ ดังนัน้ ส่วนจินตภาพของ 𝑧 ต้ องเป็ น 0 จึงสรุปได้ วา่ 𝑧 เป็ นจานวนจริง
จาก |𝑧| = 1 จึงได้ วา่ 𝑧 = ±1 และจาก 𝑧 = 𝑖𝑤 จะได้ 𝑤 = 𝑧𝑖 = ±1𝑖 = ∓𝑖
ดังนัน้ 𝑧 2 − 𝑧𝑤 + 𝑤 2 = (±1)2 − (±1)(∓𝑖) + (∓𝑖)2
= 1 − (−𝑖) + (−1) = 𝑖

30. กาหนดให้ 𝛼>0 จงหาจานวนจริ งบวก 𝑥 และ 𝑦 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับระบบสมการต่อไปนี ้
𝑥 𝑥+𝑦 = 𝑦 𝛼
𝑦 𝑥+𝑦 = 𝑥 2𝛼 𝑦 𝛼
ตอบ (1, 1), ( −1+√28𝛼+1 , 4𝛼+1−2√8𝛼+1 )
เมื่อ 𝑥 = 1 หรื อ 𝑦 = 1 : เนื่องจาก 𝛼, 𝑥, 𝑦 เป็ นบวกทังหมด
้ → จะได้ แก้ ระบบสมการได้ คาตอบ (𝑥, 𝑦) คือ (1, 1)
เมื่อ 𝑥 ≠ 1 และ 𝑦 ≠ 1 : จะสามารถนา 𝑥 และ 𝑦 ไปใช้ เป็ นฐานของ log ได้
สมการแรก จะได้ 𝑥 + 𝑦 = log 𝑥 𝑦 𝛼 = 𝛼 log 𝑥 𝑦 …(1)
สมการที่สอง จะได้ 𝑥 + 𝑦 = log 𝑦 𝑥 2𝛼 𝑦 𝛼 = log 𝑦 𝑥 2𝛼 + log 𝑦 𝑦 𝛼 = 2𝛼 log 𝑦 𝑥 + 𝛼 …(2)
(1) และ (2) เท่ากับ 𝑥 + 𝑦 ดังนัน้ 𝛼 log 𝑥 𝑦 = 2𝛼 log 𝑦 𝑥 + 𝛼
log 𝑥 𝑦 = 2 log 𝑦 𝑥 + 1
2 ให้ log 𝑥 𝑦 = 𝑘 จะได้ log 𝑦 𝑥 = 𝑘1
𝑘 = + 1 𝑘
2
𝑘 −𝑘−2 = 0
(𝑘 − 2)(𝑘 + 1) = 0
𝑘 = 2 , −1

แต่จาก (1) จะเห็นว่า 𝑥+𝑦 และ 𝛼 เป็ นบวก ดังนัน้ log 𝑥 𝑦 ต้ องเป็ นบวก → 𝑘 = log 𝑥 𝑦 = 2
𝑦 = 𝑥2
แทนใน (1) จะได้ 𝑥 + 𝑥 2 = 2𝛼 จัดเป็ นสมการกาลังสองได้ 𝑥 2 + 𝑥 − 2𝑎 = 0
32 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

−1±√12 −4(1)(−2𝛼) −1+√8𝛼+1


จะได้ 𝑥 = 2(1)
= 2
(ค่าลบใช้ ไม่ได้ เพราะ 𝑥 เป็ นบวก)
2
−1+√8𝛼+1 1+8𝛼+1−2√8𝛼+1 4𝛼+1−√8𝛼+1
และ 𝑦 = 𝑥2 = ( 2
) = 4
= 2

31. กาหนดให้ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวกทีม่ ากกว่า 1 และให้ 𝐼 แทนเมทริ กซ์เอกลักษณ์ขนาด 𝑛 × 𝑛 และ 𝐽 แทนเมทริ กซ์
ขนาด 𝑛 × 𝑛 ที่มี 1 เป็ นสมาชิกในทุกตาแหน่ง ถ้ าอินเวอร์ สของเมทริกซ์ 29𝐼 − 3𝐽 คือ 291 (𝐼 − 3𝐽) แล้ ว จงหา
ค่าของ 𝑛
ตอบ 10
อินเวอร์ สของเมทริ กซ์ 29𝐼 − 3𝐽 คือ 291 (𝐼 − 3𝐽) แสดงว่า (29𝐼 − 3𝐽) × 291 (𝐼 − 3𝐽) = 𝐼
29𝐼 − 3𝐽 − 87𝐽 + 9𝐽2 = 29𝐼
9𝐽2 = 90𝐽
𝐽2 = 10𝐽 …(∗)
1 1 … 1 1 1 … 1
1 1 … 1 1 1 … 1
𝐽 คือเมทริ กซ์ที่มีแต่ 1 ในทุกตาแหน่ง ดังนัน้ 𝐽2 = [ ]×[ ]
⋮ ⋮ ⋱ ⋮ ⋮ ⋮ ⋱ ⋮
1 1 … 1 1 1 … 1
จะเห็นว่าตอนหาผลคูณในแต่ละตาแหน่ง จะมี 1 × 1 บวกกันอยู่ 𝑛 ตัว (𝐽 มีมิติ 𝑛 × 𝑛)
ดังนัน้ 𝐽2 จะเป็ นเมทริ กซ์ทมี่ ีแต่ 1 × 1 × 𝑛 = 𝑛 ในทุกตาแหน่ง
ในขณะที่ 10𝐽 จะเป็ นเมทริ กซ์ทมี่ ีแต่ 10 ในทุกตาแหน่ง → จาก (∗) จะได้ 𝑛 = 10

32. มีฉลาก 10 ใบ โดยที่ฉลากแต่ละใบเขียนเลขจานวนจาก 1 ถึง 10 โดยที่ฉลากแต่ละใบมีเพียงเลขจานวนเดียวเท่านัน้


สุม่ หยิบฉลากมา 10 ใบ จงหาความน่าจะเป็ นที่ผลต่างของจานวนที่ปรากฏบนฉลากแต่ละคูต่ ้ องมากกว่าหรื อ
เท่ากับ 2
ตอบ 0
ข้ อนี ้ โจทย์นา่ จะผิด เพราะถ้ าสุม่ หยิบมา 10 ใบ ก็คือหยิบมาทุกใบ
ซึง่ จะมีฉลากคูท่ ตี่ า่ งกันน้ อยกว่า 2 อยูใ่ นนันอย่
้ างแน่นอน (เช่น 7 กับ 8)
เหตุการณ์ที่โจทย์สนใจ จึงเป็ นไปไม่ได้ → ความน่าจะเป็ น = 0

33. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶𝐷𝐸 เป็ นรูปห้ าเหลีย่ มด้ านเท่ามุมเท่าที่แนบในวงกลม จุดศูนย์กลางที่ 𝑂 และมีรัศมียาว 3 หน่วย
ถ้ า 𝑋 เป็ นจุดใดๆ ที่หา่ งจากจุด 𝑂 เป็ นระยะทาง 4 หน่วย แล้ ว |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + |𝐶𝑋|2 + |𝐷𝑋|2 + |𝐸𝑋|2
มีคา่ เท่าใด
ตอบ 125
2 2 2 2
𝐷 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = |𝐴𝑂
|𝐴𝑋|2 = |𝐴𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝑂𝑋⃗⃗⃗⃗⃗ | = |𝐴𝑂⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝑂𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗ | + 2𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
⃗⃗⃗⃗⃗
= 3 + 4 2 2 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
+ 2𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐸 𝐶 = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
+ 2𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ ...(1)
2 2
𝑂 ทานองเดียวกัน |𝐵𝑋| = |𝐵𝑂
2 ⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝑂𝑋
⃗⃗⃗⃗⃗ | + 2𝐵𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗
𝑋 = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
+ 2𝐵𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ …(2)
𝐴 𝐵 2
|𝐶𝑋| = ⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗
25 + 2𝐶𝑂 ∙ 𝑂𝑋 …(3)
2
|𝐷𝑋| = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗
+ 2𝐷𝑂 𝑂𝑋 …(4)
2
|𝐸𝑋| = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
+ 2𝐸𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ …(5)
⃗⃗⃗⃗⃗ + ⃗⃗⃗⃗⃗
(1) + (2) + … + (5) : |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + … + |𝐸𝑋|2 = 5(25) + 2(𝐴𝑂 𝐵𝑂 + … + ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐸𝑂) ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝑋 …(∗)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61) 33

360°
𝐴𝑂 กับ ⃗⃗⃗⃗⃗
⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐵𝑂 ทามุมกัน 5
เมื่อนามาบวกกันแบบหางต่อหัว จะทามุม 180° − 72° = 108° ซึง่ เท่ากับมุม
= 72°
ภายในของรูปห้ าเหลีย่ มมุมเท่าพอดี ( 180°(5−2)
5
= 36° × 3 = 108° )
นัน่ คือ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝑂 + ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐸𝑂 จะประกอบกันเป็ นห้ าเหลีย่ ม และวนกลับมาที่จด
𝐵𝑂 + … + ⃗⃗⃗⃗⃗ ุ ตังต้
้ น กลายเป็ น ⃗0
แทนใน (∗) จะได้ |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + … + |𝐸𝑋|2 = 5(25) + 2 ⃗0 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝑂𝑋 = 125 + 0 = 125

34. รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 รูปหนึง่ มีด้านแต่ละด้ านยาวเป็ นจานวนเต็ม และ ∠𝐴 = 3∠𝐵 ถ้ าด้ านทีย่ าวที่สดุ อยูต่ รงข้ าม
มุม 𝐴 มีความยาว 10 หน่วยแล้ ว ความยาวรอบรูปของสามเหลีย่ มดังกล่าวเท่ากับเท่าใด
ตอบ 21
ให้ ∠𝐵 = 𝜃 จะได้ ∠𝐴 = 3𝜃 และ ∠𝐶 = 𝜋 − 4𝜃 ดังรูป 𝐶 𝜋 − 4𝜃

จากกฎของ sin จะได้ sin103𝜃 𝑏


= sin 𝜃 =
𝑐
sin(𝜋−4𝜃)
𝑏 10
10 𝑏 𝑐
sin 3𝜃
= sin 𝜃
= sin 4𝜃
10 𝑏 𝑐 3𝜃 𝜃
3 sin 𝜃−4 sin3 𝜃
= sin 𝜃
= 4 sin 𝜃 cos 𝜃 cos 2𝜃
𝐴 𝑐 𝐵
10 𝑐
3−4 sin2 𝜃
= 𝑏 = 4 cos 𝜃 cos 2𝜃
…(∗)

จาก 10
3−4 sin2 𝜃
= 𝑏 cos 𝜃 = √1 − sin2 𝜃 cos 2𝜃 = 1 − 2 sin2 𝜃
10 3 5 3 5
= 3 − 4 sin2 𝜃 = √1 − (4 − 2𝑏) = 1 − 2( −
4 2𝑏
)
𝑏
2 3 5 1 5
sin 𝜃 = 4
− 2𝑏 1 5 = − +
= √4 + 2𝑏 2 𝑏

𝑐
แทน cos 𝜃 และ cos 2𝜃 ใน (∗) ครึ่งหลัง จะได้ 𝑏 =
1 5 1 5
4 √ + ∙ (− + )
4 2𝑏 2 𝑏

เนื่องจาก 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็ม แสดงว่า √14 + 2𝑏


5
ต้ องหาค่ารูทได้ ลงตัว
(ถ้ าถอดไม่ลง จะได้ เป็ นค่าอตรรกยะที่เขียนเป็ นเศษส่วนของจานวนเต็มไม่ได้ )
้ าด้ านทีย่ าวที่สดุ ซึง่ คือ 10) ที่ทาให้ 14 + 2𝑏
ไล่แทน 𝑏 = 1, 2, 3, … , 9 (ต้ องสันกว่ 5
=
𝑏+10
4𝑏
ถอดรูทลงตัว
จะได้ 𝑏 = 8 เท่านัน้
1 5 1 5 1 5 1 5 3 1
จาก (∗) จะได้ 𝑐 = 4𝑏√4 + 2𝑏 ∙ (− 2 + 𝑏) = 4(8)√4 + 2(8) ∙ (− 2 + 8) = 4(8) (4) (8) = 3
จะได้ ความยาวรอบรูป = 10 + 8 + 3 = 21

n
35. จงหาค่าของ lim  (1 − 2 cos(2𝑘−𝑛 𝜋) + 2 cos(2𝑘−𝑛+1 𝜋))
n k 0
n
โดยนิยามสัญลักษณ์  𝑎𝑘 = 𝑎0 𝑎1 𝑎2 … 𝑎𝑛 สาหรับลาดับ (𝑎𝑘 )𝑛𝑘=0 ใดๆ
k 0

ตอบ 1
n n
𝜋 𝜋
 (1 − 2 cos(2𝑘−𝑛 𝜋) + 2 cos(2𝑘−𝑛+1 𝜋)) =  (1 − 2 cos 2𝑛−𝑘 + 2 cos 2𝑛−𝑘−1 )
k 0 k 0
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
กระจายได้ (1 − 2 cos 𝑛
2
+ 2 cos
2𝑛−1
) (1 − 2 cos
2𝑛−1
+ 2 cos
2𝑛−2
) … (1 − 2 cos
20
+ 2 cos
2−1
) …(∗)
34 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 61)

พจน์แรก 1 − 2 cos
𝜋 𝜋
+ 2 cos 𝑛−1
2𝑛 2 จัดตัวส่วนให้ เป็ น 2𝑛+1
2𝜋 4𝜋
= 1− 2 cos 2𝑛+1 + 2 cos 2𝑛+1 𝜋
คูณเข้ าและหารออกด้ วย cos 2𝑛+1 เพื่อให้ cos เข้ าสูตร
𝜋 2𝜋 𝜋 4𝜋 𝜋
cos 𝑛+1 − 2 cos 𝑛+1 cos 𝑛+1 + 2 cos 𝑛+1 cos 𝑛+1
2 2 2 2 2
2 cos 𝐴 cos 𝐵 = cos(𝐴 + 𝐵) + cos(𝐴 − 𝐵)
= 𝜋
cos 𝑛+1
2
𝜋 3𝜋 𝜋 5𝜋 3𝜋
cos 𝑛+1 − (cos 𝑛+1 + cos 𝑛+1) +(cos 𝑛+1 + cos 𝑛+1)
2 2 2 2 2
= 𝜋
cos 𝑛+1
2
𝜋 3𝜋 𝜋 5𝜋 3𝜋
cos 𝑛+1 − cos 𝑛+1 − cos 𝑛+1 + cos 𝑛+1 + cos 𝑛+1
2 2 2 2 2
= 𝜋
cos 𝑛+1
2
5𝜋
cos 𝑛+1
2
= 𝜋
cos 𝑛+1
2

สามารถทาแบบเดียวกันกับพจน์ที่เหลือได้ ยกเว้ นพจน์สดุ ท้ ายที่ cos 𝜋2 = 0 ทาให้ คณ


ู เข้ าและหารออกไม่ได้
𝜋 𝜋
คิดพจน์สดุ ท้ ายแบบตรงๆ จะได้ 1 − 2 cos 20 + 2 cos 2−1 = 1 − 2(−1) + 2(1) = 5
5𝜋
5𝜋 5𝜋 5𝜋 sin
จะได้ (∗)
cos 𝑛+1
2
cos 𝑛
2
cos 2
2 คูณเข้ าและหารออกด้ วย sin2𝑛+1
𝜋
= 𝜋 ∙ 𝜋 ∙ … ∙ 𝜋 ∙ 5 2𝑛+1
cos 𝑛+1 cos 𝑛 cos 2
5𝜋
2
5𝜋
2
5𝜋
2
5𝜋 𝜋
และเตรียม “กวาด” ด้ วยสูตร
sin 𝑛+1 2 cos 𝑛+1 2 cos 𝑛 2 cos 2 sin 𝑛+1
= 2
𝜋 ∙ 2
𝜋 ∙ 2
𝜋 ∙ … ∙ 2
𝜋 ∙ 5 ∙ 2
5𝜋
2 sin 𝜃 cos 𝜃 = sin 2𝜃
sin 𝑛+1 2 cos 𝑛+1 2 cos 𝑛 2 cos 2 sin 𝑛+1
2 2 2 2 2
5𝜋 5𝜋 5𝜋 𝜋
sin 𝑛 2 cos 𝑛 2 cos 2 sin 𝑛+1
2 2 2 2
= 𝜋 ∙ 𝜋 ∙ … ∙ 𝜋 ∙ 5 ∙ 5𝜋
sin 𝑛 2 cos 𝑛 2 cos 2 sin 𝑛+1
2 2 2 2
5𝜋 5𝜋 𝜋
sin 𝑛−1 2 cos 2 sin 𝑛+1
2 2 2
= 𝜋 ∙ … ∙ 𝜋 ∙ 5 ∙ 5𝜋
sin 𝑛−1 2 cos 2 sin 𝑛+1
2 2 2
5𝜋 𝜋 𝜋
sin 1 sin 𝑛+1 sin 𝑛+1
2 2 2
= 𝜋 ∙ 5 ∙ 5𝜋 = 5∙ 5𝜋
sin 1 sin 𝑛+1 sin 𝑛+1
2 2 2
𝜋 𝜋
sin 𝑛+1 0 sin 𝑛+1 sin 𝜃
แต่จะเห็นว่า lim
n
5∙ 2
5𝜋
sin 𝑛+1
อยูใ่ นรูป 0
→ ต้ องจัดรูป 2
sin 𝑛+1
5𝜋 = sin 5𝜃
ให้ เกิดการตัดกันก่อน
2 2
เนื่องจาก sin 5𝜃 = sin(2𝜃 + 3𝜃) = sin 2𝜃 cos 3𝜃 + cos 2𝜃 sin 3𝜃
= 2 sin 𝜃 cos 𝜃 cos 3𝜃 + cos 2𝜃 (3 sin 𝜃 − 4 sin3 𝜃)
= sin 𝜃 (2 cos 𝜃 cos 3𝜃 + cos 2𝜃 (3 − 4 sin2 𝜃))
sin 𝜃 1
ดังนัน้ sin 5𝜃
= 2 cos 𝜃 cos 3𝜃 + cos 2𝜃(3−4 sin2 𝜃)
𝜋
sin 𝑛+1 1
จะได้ lim
n
5∙ 2
5𝜋
sin 𝑛+1
= lim 5 ∙
n
𝜋 3𝜋 2𝜋
2 cos 𝑛+1 cos 𝑛+1 + cos 𝑛+1 (3−4 sin2 𝑛+1)
𝜋
2 2 2 2 2
1
= 5∙ )( )+ ( ))
= 1
2( 1 1 1 )(3−4( 0

เครดิต
ขอบคุณ คุณ สนธยา เสนามนตรี และ คุณ Atiratch Laoharenoo สาหรับข้ อสอบ
ขอบคุณ คุณ Permsup Meeying สาหรับเฉลยละเอียด
ขอบคุณ คุณ Teerapat Saengsubin ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร

You might also like