You are on page 1of 34

สมาคม ม. ปลาย (พ.ย.

60) 1
1 May 2018

ข้ อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ แห่งประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (พ.ย. 59)


วันอาทิตย์ที่ 26 พฤศจิกายน 2560 เวลา 9.00 - 12.00 น.

ตอนที่ 1 มี 15 ข้ อ ข้ อละ 2 คะแนน


1. สาหรับเซตย่อย 𝐴1, 𝐴2, … , 𝐴𝑛 , … ใน ℝ ใดๆ นิยาม
 
 𝐴𝑛 := { 𝑥 ∈ ℝ | มีจานวนนับ 𝑛 ซึง่ 𝑥 ∈ 𝐴𝑛 } และ  𝐴𝑛 := { 𝑥 ∈ ℝ | 𝑥 ∈ 𝐴𝑛 ทุกจานวนนับ 𝑛 }
n 1 n 1

ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง
 
ก.  [−𝑛 + 𝑛1 1
, 𝑛 − 𝑛) = ℝ ข.  (− 𝑛1 , 1
𝑛
) = {0}
n 1 n 1
  
ค.  (𝑛1 1
, 1 − 𝑛] = (0, 1] ง. 1
 (0, 1 + 𝑛] =  (0, 1 + 𝑛)
1
n 1 n 1 n 1

2. ตารวจทาการสอบสวนผู้ต้องสงสัยในคดีลกั ทรัพย์จานวน 5 คน ได้ แก่ กนกอร เขมรัฐ แคทรี ยา จิรศักดิ์ เชิงชาย


ภายใต้ ข้อสมมติฐานว่าขโมยจะพูดโกหกเสมอ ส่วนผู้บริ สทุ ธิ์จะพูดความจริ งเสมอ และขโมยมีเพียงคนเดียว จากการ
สอบปากคาดังนี ้
 กนกอร: ขโมยเป็ นผู้ชาย
 แคทรี ยา: ขโมยคือ กนกอร
 เชิงชาย: ถ้ าขโมยคือจิรศักดิ์แล้ วกนกอรเป็ นผู้บริ สท
ุ ธิ์
ผู้ต้องสงสัยในข้ อใดเป็ นขโมย
ก. กนกอร ข. แคทรี ยา ค. เชิงชาย ง. ข้ อมูลไม่พอที่จะสรุปได้
2 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

3. จานวนของคูอ่ นั ดับ (𝑚, 𝑛) ของจานวนเต็ม 𝑚, 𝑛 ทังหมดซึ


้ ง่ สอดคล้ องกับสมการ 𝑚2 − 𝑚𝑛 + 2𝑛2 = 23
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 4 ค. 6 ง. 8

4. กาหนดให้ 𝐴 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 | 𝑥, 𝑦 ≥ 0 และ |√𝑥 − √𝑦| ≤ √|𝑥 − 𝑦| } และ


𝐵 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 | 𝑥 2 + 𝑦 2 ≤ 2𝑥 + 2𝑦 − 1 } ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นพื ้นที่ของเซต 𝐴 ∩ 𝐵
ก. 𝜋/4 ข. 𝜋/2 ค. 𝜋 ง. 2𝜋

5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2560𝑥+2017


2017𝑥−2560
และ 𝑔(𝑥) = √𝑥 − 25
ค่าของ (𝑔 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓)(650) ตรงกับข้ อไปต่อไปนี ้
ก. 25 ข. 50 ค. 625 ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 3

6. นักวิ่งสองคน 𝐴 และ 𝐵 กาลังจะวิง่ แข่งบนลูว่ ิ่งทีเ่ ป็ นเส้ นรอบวงของวงกลมรัศมี 𝑟 เมตร เป็ นจานวน 50 รอบ ถ้ านักวิง่
เริ่ มต้ นวิง่ ที่จดุ เดียวกันและวิง่ ไปในทิศทางเดียวกันด้ วยความเร็ วคงที่ โดย 𝐴 วิ่งด้ วยความเร็ว 𝑎 เมตรต่อนาที และ 𝐵
วิ่งด้ วยความเร็ว 𝑏 เมตรต่อนาที โดยที่ 𝑎 > 𝑏 เมื่อการแข่งขันเสร็ จสิ ้น พบว่า 𝐴 ได้ วิ่งแซงรอบ 𝐵 ไปเป็ นจานวนทังสิ ้ ้น
17 รอบ ข้ อใดต่อไปนี ้คือค่าที่เป็ นไปได้ ของ 𝑏/𝑎
ก. 0.631 ข. 0.640 ค. 0.651 ง. 0.661

7. ค่าของ (cot 10° − 3√3)(csc 20° + 2 cot 20°) ตรงกับข้ อใด


ก. 3√3 − 1 ข. 4 ค. √3 + 2 ง. 6

8. กาหนดให้ มีข้อมูลของตัวอย่าง ชุด 𝐴 ประกอบด้ วย 0, 10, 20, 30, 40, 50, 60, 70, 80, 90
ชุด 𝐵 ประกอบด้ วย 0, 20, 40, 60, 80, 100, 120, 140, 160, 180
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) ข้ อมูลชุด 𝐴 มีสมั ประสิทธิ์ของพิสยั มากกว่าข้ อมูลชุด 𝐵
(2) ข้ อมูลชุด 𝐴 มีสมั ประสิทธิ์ของการแปรผันมากกว่าข้ อมูลชุด 𝐵
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
4 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

9. แมวน้ อยชื่อเหมียวยี ้ ตัดสินใจเดินเป็ นวงตามจุดดังภาพ เริ่ มต้ นจากจุด 𝑆 โดยแต่ละครัง้ มีความ 𝑆


1
น่าจะเป็ นเท่ากับ 2 ที่จะย้ ายไปยังจุดที่เชื่อมติดกันกับจุดเดิม เหมียวยี ้จะเดินไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะ
1 2
ผ่านครบทุกจุดแล้ วจึงหยุดเดิน จงหาความน่าจะเป็ นที่จดุ หมายเลข 3 จะถูกเดินผ่านเพียงครัง้
เดียวและเป็ นจุดก่อนจุดสุดท้ ายของการเดินของเหมียวยี ้ 3

ก. 13 ข. 14 ค. 15 ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง

10. สาหรับจานวนจริ ง 𝑎≥1 นิยาม √𝑎 − √𝑎 − √𝑎 − … คือ nlim



𝑎𝑛 โดยที่ 𝑎1 = √𝑎

และ 𝑎𝑛+1 = √𝑎 − 𝑎𝑛 สาหรับ 𝑛 = 1, 2, 3, … ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ องสาหรับ √1 − √1 − √1 − …

ก. มีคา่ เท่ากับ −1−√5


2
ข. มีคา่ เท่ากับ −1+√5
2
ค. มีคา่ เท่ากับ 0 ง. ไม่มีคา่

11. กาหนดให้ (𝑎𝑛 )∞ 𝑛=1 และ (𝑏𝑛 )𝑛=1 เป็ นลาดับของจานวนจริ งซึง

่ 𝑎𝑛 < 𝑏𝑛 ทุก 𝑛 = 1, 2, 3, …
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) ถ้ าลาดับ (𝑎𝑛 )∞
𝑛=1 และ (𝑏𝑛 )𝑛=1 ลูเ่ ข้ า แล้ ว lim 𝑎𝑛 < lim 𝑏𝑛

n n
   
(2) ถ้ าอนุกรม  𝑎𝑛 และ  𝑏𝑛 ลูเ่ ข้ า แล้ ว  𝑎𝑛 <  𝑏𝑛
n 1 n 1 n 1 n 1

ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 5

12. กาหนดให้ 𝑓 : [0, 1] → ℝ นิยามโดย 𝑓(𝑥) = √arccos 𝑥 + √arcsin 𝑥 ถ้ าผลต่างของค่าสูงสุดและค่าตา่ สุด


ของ 𝑓 บนช่วง [0, 1] มีคา่ เท่ากับ 𝑎√𝜋 สาหรับบางค่า 𝑎 ที่เป็ นจานวนจริง แล้ วค่าของ 4𝑎 − 2𝑎2 ตรงกับข้ อใด
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3

13. นิยามลาดับ {𝑎𝑛 }, {𝑏𝑛 } และ {𝑐𝑛 } สาหรับ 𝑛 = 1, 2, … ดังนี ้


𝑛2 +1
𝑎𝑛 = , 𝑏𝑛 = 𝑎1 𝑎2 ∙∙∙ 𝑎𝑛 , 𝑐𝑛 = 𝑏1 𝑏2 ∙∙∙ 𝑏𝑛
√𝑛4 +4
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) 𝑐9 = √32 111
𝑏𝑛 𝑛 1
(2) √2 − 𝑛+1 < 3 ทุก 𝑛 = 1, 2, …
𝑛
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ

14. ให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนซึง่ สอดคล้ องกับสมการ 𝑖𝑧 4 − 𝑧 3 − 𝑧 − 𝑖 = 0 พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) |z| = 1
(2) ถ้ า 𝑧 ≠ ±𝑖 แล้ ว 𝑧 − 1/𝑧 = 𝑖
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
6 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

15. พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) มีจานวนเชิงซ้ อน 𝑧 ที่ไม่ใช่จานวนจริ ง แต่ 𝑧 − 1𝑧 เป็ นจานวนจริง
(2) ถ้ า 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนที่ไม่ใช่จานวนจริ ง และ 𝑧 + 1𝑧 เป็ นจานวนจริ งแล้ ว |𝑧| = 1
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ

ตอนที่ 2 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 3 คะแนน


𝑥+1
16. ถ้ าฟั งก์ชนั 𝑔 : ℝ − {1} → ℝ สอดคล้ องกับสมการ 𝑔(𝑥) + 𝑥𝑔 (𝑥−1) = 𝑥 จงเขียน 𝑔(𝑥) ในรูปของ 𝑥

17. กาหนดให้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึง่ หน่วย ถ้ าเวกเตอร์ 𝑎⃗ + 2𝑏⃗⃗ ตังฉากกั
้ บเวกเตอร์ 5𝑎⃗ − 4𝑏⃗⃗ แล้ ว ความยาว
รอบรูปมากสุดที่เป็ นไปได้ ของรูปสามเหลีย่ มทีม่ ี 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นด้ านประกอบสองด้ าน มีคา่ เท่ากับเท่าใด
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 7

18. กาหนดให้ 𝑃 เป็ นจุดจุดหนึง่ ที่ไม่เป็ นจุดยอดบนไฮเพอร์ โบลา 𝑥 2 − 𝑦 2 = 9 ถ้ า 𝑃𝐹1 ∙ 𝑃𝐹2 = 25 เมื่อ 𝐹1 และ
𝐹2 เป็ นจุดโฟกัสของไฮเพอร์ โบลาดังกล่าวแล้ ว รู ปสามเหลีย่ ม 𝑃𝐹1 𝐹2 มีพื ้นที่เท่ากับเท่าใด

19. ถ้ า 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 ทุก 𝑥 ∈ [−2, 3] แล้ วพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ ง 𝑦 = |𝑓(𝑥)| ที่อยูเ่ หนือแกน 𝑋 บนช่วงปิ ด [−2, 3]
มีคา่ เท่ากับเท่าใด

20. ให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนเต็มบวกโดยที่ 𝑥<𝑦 และสอดคล้ องกับสมการ 𝑥 2 + 𝑦 2 = 2017 จงหาค่าของ 𝑦
8 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

8
21. กาหนดให้ 𝑥 > 1 และ 𝑦>1 สอดคล้ องกับสมการ log 𝑦 𝑥 − log 𝑥 𝑦 = 3 แล้ ว ค่าต่าสุดของ 𝑥 − 12𝑦
เท่ากับเท่าใด

22. กาหนดพาราโบลา 𝑝(𝑥) = 2017𝑥 2 − 2560𝑥 − 743


ให้ 𝐿1 และ 𝐿2 เป็ นเส้ นสัมผัสพาราโบลา 𝑝(𝑥) ที่จดุ (−10, 𝑝(−10)) และที่จดุ (1000, 𝑝(1000)) ตามลาดับ
ถ้ า 𝐿1 และ 𝐿2 ตัดกันที่จดุ (𝑥0, 𝑦0 ) แล้ ว 𝑥0 มีคา่ เท่าใด

23. กาหนดให้ 𝐴 = {𝑎∈ℝ : สมการ ln(𝑎𝑥 − 3) − ln(3 − 𝑥) = ln(𝑥 − 2) มีผลเฉลยเพียงหนึง่ เดียว } และ
𝐵 = { 𝑏 ∈ ℝ : |𝑏 − 1| < |6 − 4𝑏| }
จงหา 𝐴∩𝐵
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 9

24. บทนิยาม สาหรับเมทริ กซ์ 𝐴 ใดๆ ซึง่ มีสมาชิกเป็ นจานวนเต็ม และสาหรับจานวนเต็มบวก 𝑛 ใดๆ นิยาม 𝐴 mod 𝑛
ให้ เป็ นเมริ กซ์ทมี่ ีมิตเิ ท่ากับมิติของ 𝐴 และสมาชิกตาแหน่งใดๆของ 𝐴 mod 𝑛 ได้ จากเศษเหลือที่ได้ จากการหาร
3 4 0 1
สมาชิกในตาแหน่งนันของ
้ 𝐴 ด้ วย 𝑛 เช่น ถ้ า 𝐴 = [
2 5
] แล้ ว จะได้ วา่ 𝐴 mod 3 = [
2 2
]
𝑎 𝑏
ให้ 𝑋 = {[ ] ∶ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ {0,1,2}}
𝑐 𝑑
จานวนเมทริ กซ์ 𝐴 ∈ 𝑋 ทังหมดที
้ ่มีสมบัติ 𝐴2 mod 3 = 𝐼 เท่ากับเท่าใด

25. สุม่ เลือกจานวนเต็ม 𝑎 และ 𝑏 จากเซตของจานวนเต็ม {1, 2, … , 100} ความน่าจะเป็ นที่จะสุม่ ได้ 𝑎 และ 𝑏 ซึง่ ทา
ให้ 7𝑎 + 𝑏 หารด้ วย 10 ลงตัวเท่ากับเท่าใด

ตอนที่ 3 มี 10 ข้ อ ข้ อละ 4 คะแนน


26. จงหาคาตอบ (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 ทังหมดของระบบสมการ
้ 2 log(𝑥 − 2𝑦) = log 𝑥 + log 𝑦
3𝑥−𝑦 + 27𝑦 = 6
10 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

27. จงหาจานวนจริง 𝑎 ทังหมดที


้ ่ทาให้ เซตคาตอบของอสมการ 4𝑥 − 𝑎 ∙ 2𝑥 − 𝑎 + 3 ≤ 0 ไม่เป็ นเซตว่าง

28. มีชายหญิงอยูจ่ านวนหนึง่ ถูกจัดให้ นงั่ ทานอาหารรอบโต๊ ะกลม โดยมีเงื่อนไขว่า


มีผ้ หู ญิง 3 คนที่มีผ้ ชู ายนัง่ ทางขวามือถัดจากตนเอง
มีผ้ ชู าย 1 คนที่มีผ้ ชู ายนัง่ ทางซ้ ายมือถัดจากตนเอง
มีผ้ หู ญิง 3 คนที่มีผ้ หู ญิงนัง่ ทางซ้ ายมือถัดจากตนเอง
จะมีวธิ ีในการจัดให้ ชายหญิงกลุม่ นี ้นัง่ รอบโต๊ ะกลมโดยสอดคล้ องเงื่อนไขข้ างต้ นทังหมดกี
้ ่วิธี

29. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่ทาให้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 1) มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์หรื อค่าต่าสุด
สัมพัทธ์
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 11

30. หนูทดลองตัวหนึง่ อยูใ่ นห้ องของกล่องทดลองเขาวงกตซึง่ มีช่องประตู 4 ช่อง มีหนึง่ ช่องของประตูที่มีทางเดินที่นาหนู


ไปสูท่ างออกภายนอกโดยหนูจะใช้ เวลาในการเดินทาง 9 วินาที ส่วนช่องประตูอีกสามช่องที่เหลือจะนาไปสูท่ างเดินที่
วกกลับมาที่ห้องเดิม โดยหนูจะใช้ เวลาในทางเดินเหล่านี ้เป็ นเวลา 3, 5 และ 7 วินาทีตามลาดับ และทุกครัง้ ที่หนู
กลับมาที่ห้องเดิมหนูจะสุม่ เข้ าช่องประตูอีกครัง้ โดยทีก่ ารสุม่ เลือกประตูแต่ละครัง้ จะไม่ขึ ้นกับการสุม่ เลือกช่องประตู
ในครัง้ ก่อนหน้ า จงหาความน่าจะเป็ นที่หนูจะใช้ เวลา 30 วินาทีในการเดินทางออกไปสูภ่ ายนอก

3
31. จงหาค่าของ lim
x
𝑥 2 (√𝑥 + 1 + √𝑥 − 1 − 2√𝑥)

4 1
32. จงหาผลรวมของค่า 𝑥 ทังหมดในช่
้ วง [0, 2𝜋] ซึง่ สอดคล้ องกับสมการ sec 𝑥 − 2 tan 𝑥
− sec 𝑥 + tan 𝑥 = 3√3
12 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

33. จงหาค่า 𝑎>0 และ 𝑥>0 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับระบบสมการ (ln 𝑎)𝑎 𝑥 = 1
𝑎𝑥 = 𝑥

34. กาหนดให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 5 × 5 ซึง่ 𝐴 , 𝐵 และ 𝐵−1 − 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ไม่เอกฐาน
จงหา (𝐴−1 + (𝐵−1 − 𝐴)−1 )−1 (ตอบในรูปของเมทริ กซ์ 𝐴 และ 𝐵 โดยไม่ใช้ เครื่ องหมายอินเวอร์ ส)

1 1 1
35. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที
้ ่สอดคล้ องกับสมการ 𝑥 − tan 20°
+ 𝑥 + tan 40° + 𝑥 − tan 80° = 0
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 13

เฉลย
28
1. ค 10. ง 19. 3
28. (52) 4! 6!
5
2. ก 11. ค 20. 44 29. 0, 4
, 2
737
3. ค 12. ข 21. −16 30. 48
4. ค 13. ค 22. 495 31. −0.25
13𝜋
5. ก 14. ข 23. (1, 1.4) 32. 6
1
6. ค 15. ค 24. 14 33. 𝑥 = 𝑒 , 𝑎 = 𝑒𝑒
7. ข 16. 𝑥2𝑥
2 +1 25. 1 34. 𝐴 − 𝐴𝐵𝐴
4 1
8. ง 17. 2 + √3 26. (3,3 ) 35. √3 ± 2
9. ก 18. 12 27. [𝑎, ∞)

แนวคิด
1. สาหรับเซตย่อย 𝐴1 , 𝐴2 , … , 𝐴𝑛 , … ใน ℝ ใดๆ นิยาม
 
 𝐴𝑛 := { 𝑥 ∈ ℝ | มีจานวนนับ 𝑛 ซึง่ 𝑥 ∈ 𝐴𝑛 } และ  𝐴𝑛 := { 𝑥 ∈ ℝ | 𝑥 ∈ 𝐴𝑛 ทุกจานวนนับ 𝑛 }
n 1 n 1

ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง
 
ก.  [−𝑛 + 𝑛1 , 𝑛− ) = ℝ
1
𝑛
ข.  (− 𝑛1 , 1
𝑛
) = {0}
n 1 n 1
  
ค.  (𝑛1 1
, 1 − 𝑛] = (0, 1] ง. 1
 (0, 1 + 𝑛] =  (0, 1 + 𝑛)
1
n 1 n 1 n 1

ตอบ ค
ก. เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะเห็นว่า 𝑎 ∈ [−𝑛 + 𝑛1 , 𝑛 − 𝑛1 ) ได้ เสมอ เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนนับที่มีคา่ มากพอ
เช่น เมื่อ 𝑛 = ⌈|𝑎|⌉ + 2 จะได้ 3 ∈ [−5 + 15 , 5 − 15) , 91.9 ∈ [−93 + 931 , 93 − 931 )
1 1
−5.1 ∈ [−7 + 7 , 7 − 7) เป็ นต้ น

ดังนัน้ จานวนจริงทุกจานวน จะอยูใ่ น  [−𝑛 + 𝑛1 , 𝑛 − 𝑛) →
1
ก. ถูก
n 1

ข. จะเห็นว่า 0 ∈ (− 𝑛1 , 𝑛1 ) สาหรับทุกจานวนนับ 𝑛
และเมื่อ 𝑎 ≠ 0 จะสามารถหา 𝑛 ที่ 𝑎 ∉ (− 𝑛1 , 𝑛1 ) ได้ เสมอ เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนนับที่มีคา่ มากพอ
เช่น เมื่อ 𝑛 = ⌈|𝑎1|⌉ จะได้ 3 ∉ (− 11 , 11) , 0.05 ∉ (− 20 1 1
, 20) เป็ นต้ น

ดังนัน้ 0 จะเป็ นจานวนเดียวเท่านัน้ ที่อยูใ่ น  (− 𝑛1 , 1
𝑛
) → ข. ถูก
n 1

1 1 1 1
ค. ไม่วา่ 𝑛 จะเป็ นจานวนนับอะไรก็ตาม จะเห็นว่า 1 ∉ (𝑛 , 1 − 𝑛] ดังนัน้ 1 ∉  (𝑛 , 1 − 𝑛]
n 1

1 1
แต่ 1 ∈ (0, 1] ดังนัน้  (𝑛 , 1 − 𝑛] ≠ (0, 1] → ค. ผิด
n 1

ง. จะแสดงว่าทังฝั
้ ่งซ้ ายและฝั่งขวา ต่างก็เท่ากับ (0, 1] ทังคู
้ ่
เมื่อ 𝑎 ∈ (0, 1] จะเห็นว่า (0, 1] ⊂ (0, 1 + 𝑛] และ (0, 1] ⊂ (0, 1 + 𝑛1 ) สาหรับจานวนนับ 𝑛 ทุกตัว
1

เมื่อ 𝑎 ≤ 0 จะเห็นว่า 𝑎 ∉ (0, 1 + 𝑛1 ] และ 𝑎 ∉ (0, 1 + 𝑛1 ) สาหรับ 𝑛 บางตัว (เช่นเมื่อ 𝑛 = 1)


14 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

เมื่อ 𝑎 > 1 จะมี 𝑛 ที่ 𝑎 ∉ (0, 1 + 𝑛1 ] และ 𝑎 ∉ (0, 1 + 𝑛1 ) เสมอ เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนนับทีม่ ีคา่ มากพอ
1 1
เช่น เมื่อ 𝑛 = ⌈𝑎−1 ⌉ + 1 จะได้ 3 ∉ (0, 1 + 1] และ 3 ∉ (0, 1 + 11)
1 1
1.1 ∉ (0, 1 + 11] และ 1.1 ∉ (0, 1 + 11) เป็ นต้ น
ดังนัน้ จะมีแค่ (0, 1] เท่านัน้ ที่อยูท่ งฝั
ั ้ ่งซ้ ายและฝั่งขวา → ง. ถูก

2. ตารวจทาการสอบสวนผู้ต้องสงสัยในคดีลกั ทรัพย์จานวน 5 คน ได้ แก่ กนกอร เขมรัฐ แคทรี ยา จิรศักดิ์ เชิงชาย


ภายใต้ ข้อสมมติฐานว่าขโมยจะพูดโกหกเสมอ ส่วนผู้บริ สทุ ธิ์จะพูดความจริ งเสมอ และขโมยมีเพียงคนเดียว จากการ
สอบปากคาดังนี ้
 กนกอร: ขโมยเป็ นผู้ชาย
 แคทรี ยา: ขโมยคือ กนกอร
 เชิงชาย: ถ้ าขโมยคือจิรศักดิ์แล้ วกนกอรเป็ นผู้บริ สท
ุ ธิ์
ผู้ต้องสงสัยในข้ อใดเป็ นขโมย
ก. กนกอร ข. แคทรี ยา ค. เชิงชาย ง. ข้ อมูลไม่พอที่จะสรุปได้
ตอบ ก
เนื่องจากขโมยมีคนเดียว ดังนัน้ คาพูดของ เชิงชาย จะเป็ นจริงเสมอ
เนื่องจากขโมยจะพูดโกหกเสมอ ดังนัน้ เชิงชาย ไม่ใช่ขโมย
กรณี แคทรี ยาพูดจริ ง จะได้ วา่ กนกอร เป็ นขโมย ดังนัน้ คาพูด กนกอร ที่บอกว่า “ขโมยเป็ นผู้ชาย” จะเป็ นเท็จ
ดังนัน้ ขโมยเป็ นหญิง → จะสรุปได้ วา่ กนกอร เป็ นขโมย ที่เป็ นหญิง
กรณี ให้ แคทรี ยาพูดโกหก จะได้ แคทรี ยา เป็ นขโมย (เพราะขโมยจะพูดโกหกเสมอ)
เนื่องจากขโมยมีคนเดียว ดังนัน้ คาพูดกนกอรจะเป็ นจริ ง → สรุ ปได้ วา่ แคทรี ยา เป็ นขโมย ที่เป็ นชาย
ดังนัน้ ข้ อนี ้ควรจะตอบข้ อ ง. เพราะไม่ร้ ูวา่ กนกอร (ญ) หรื อ แคทรี ยา (ช) ทีเ่ ป็ นขโมย
แต่ผมเดาใจคนออกข้ อสอบ ว่าคงอยากให้ เรารู้เองว่า แคทรี ยาเป็ นหญิง → ถ้ าผมสอบ ผมคงเสีย่ งตอบของ ก.

3. จานวนของคูอ่ นั ดับ (𝑚, 𝑛) ของจานวนเต็ม 𝑚, 𝑛 ทังหมดซึ


้ ง่ สอดคล้ องกับสมการ 𝑚2 − 𝑚𝑛 + 2𝑛2 = 23
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
ก. 0 ข. 4 ค. 6 ง. 8
ตอบ ค
จัดรูปให้ เป็ นสมการกาลังสองที่มี 𝑚 เป็ นตัวแปร → 𝑚2 − 𝑚𝑛 + 2𝑛2 = 23
𝑚2 − 𝑛𝑚 + 2𝑛2 − 23 = 0
2 2 2 2
ใช้ สตู ร 𝑥 = −𝑏±√𝑏2𝑎 −4𝑎𝑐 จะได้ 𝑚 = −(−𝑛) ± √(−𝑛)2−4(1)(2𝑛 −23) = 𝑛 ± √92−7𝑛 2
เนื่องจาก 𝑚 และ 𝑛 ต้ องเป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ 92 − 7𝑛2 ต้ องถอดรูทลงตัวเท่านัน้ (ไม่งนั ้ 𝑚 จะเป็ นอตรรกยะ)
จะเห็นว่ามี 𝑛 = ±2 เท่านัน้ ที่ทาให้ 92 − 7𝑛2 ถอดรูทลงตัว
𝑛 92 − 7𝑛2
0 92 (ถ้ า 𝑛 เป็ น ±4 ลงไป จะทาให้ 92 − 7𝑛2 ติดลบ และถอดรูทไม่ได้ )
±1 85 2±√64
±2 64  ถ้ า 𝑛=2 จะได้ 𝑚 = 2
= −3 , 5
±3 29 −2±√64
ติดลบ
ถ้ า 𝑛 = −2 จะได้ 𝑚 = = −5 , 3
2
±4
จะได้ คาตอบคือ (−3, 2), (5, 2), (−5, −2), (3, −2) รวม 4 คาตอบ
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 15

4. กาหนดให้ 𝐴 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 | 𝑥, 𝑦 ≥ 0 และ |√𝑥 − √𝑦| ≤ √|𝑥 − 𝑦| } และ


2 2 2
𝐵 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ | 𝑥 + 𝑦 ≤ 2𝑥 + 2𝑦 − 1 } ข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นพื ้นที่ของเซต 𝐴 ∩ 𝐵
ก. 𝜋/4 ข. 𝜋/2 ค. 𝜋 ง. 2𝜋
ตอบ ค
หา 𝐴 : |√𝑥 − √𝑦| ≤ √|𝑥 − 𝑦|
ยกกาลังสอง เพื่อกาจัดรูท
4 4 รวมเป็ น กาลังสี่
(√𝑥 − √𝑦) ≤ √|𝑥 − 𝑦| ยกกาลังสอง เพื่อกาจัดค่าสัมบูรณ์
4
(√𝑥 − √𝑦) ≤ (𝑥 − 𝑦)2
4 2 2 2
(√𝑥 − √𝑦) ≤ (√𝑥 − √𝑦 )
4 2 ผลต่างกาลังสอง
(√𝑥 − √𝑦) ≤ ((√𝑥 − √𝑦)(√𝑥 + √𝑦))
2 2 4
0 ≤ (√𝑥 − √𝑦) (√𝑥 + √𝑦) − (√𝑥 − √𝑦)
2 2 2
0 ≤ (√𝑥 − √𝑦) ((√𝑥 + √𝑦) − (√𝑥 − √𝑦) )
2 ผลต่างกาลังสอง
0 ≤ (√𝑥 − √𝑦) (2√𝑦) (2√𝑥)

จะเห็นว่าทุกตัวทางขวามากกว่าหรื อเท่ากับ 0 ทุกตัว → อสมการเป็ นจริงเสมอเมื่อ 𝑥, 𝑦 ≥ 0


→ จะได้ 𝐴 คือบริ เวณทังหมดในจตุ
้ ภาคที่ 1
หา 𝐵 : 𝑥2 + 𝑦2 ≤ 2𝑥 + 2𝑦 − 1
𝑥 2 − 2𝑥 + 𝑦 2 − 2𝑦 ≤ −1
2 2
𝑥 − 2𝑥 + 1 + 𝑦 − 2𝑦 + 1 ≤ −1 + 1 + 1 1
(𝑥 − 1)2 + (𝑦 − 1)2 ≤ 1
1
เป็ นพื ้นที่ในวงกลมที่มี ศก = (1, 1) และ รัศมี = 1 ดังรูป
เนื่องจากวงกลม 𝐵 อยูใ่ นจตุภาคที่ 1 ทังวง
้ จะได้ 𝐴 ∩ 𝐵 = วงกลม 𝐵 ทังวง ้
ดังนัน้ 𝐴 ∩ 𝐵 จะเป็ นวงกลม รัศมี 1 หน่วย → จะได้ พื ้นที่ = 𝜋(12 ) = 𝜋

5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2560𝑥+2017


2017𝑥−2560
และ 𝑔(𝑥) = √𝑥 − 25
ค่าของ (𝑔 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓)(650) ตรงกับข้ อไปต่อไปนี ้
ก. 25 ข. 50 ค. 625 ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง
ตอบ ก
จัดรูปสมการ 𝑦 = 𝑓(𝑥) : 𝑦
2560𝑥+2017
= 2017𝑥−2560
2017𝑥𝑦 − 2560𝑦 = 2560𝑥 + 2017
2017𝑥𝑦 − 2017 = 2560𝑥 + 2560𝑦
จะเห็นว่า 𝑥 และ 𝑦 ในสมการที่ได้ มีลกั ษณะ “สมมาตร” กัน (เมื่อเปลีย่ น 𝑥 เป็ น 𝑦 , เปลีย่ น 𝑦 เป็ น 𝑥 จะได้ สมการเดิม)
ดังนัน้ 𝑓 −1 = 𝑓 ( เพราะ 𝑓 −1 ได้ จากการเปลีย่ น 𝑥 เป็ น 𝑦 , เปลีย่ น 𝑦 เป็ น 𝑥
ถ้ าเปลีย่ นแล้ วได้ เหมือนเดิม แสดงว่า 𝑓 −1 = 𝑓 )
ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓)(650) = 𝑔( 𝑓 ( 𝑓 ( 𝑓 ( 𝑓 (650))))) 𝑓 −1 = 𝑓
= 𝑔(𝑓 −1 (𝑓 (𝑓 −1 (𝑓(650)))))
𝑓 −1 ตัดกับ 𝑓 ได้
= 𝑔(𝑓 −1 (𝑓 ( 650 )))
= 𝑔( 650 )
= √650 − 25 = 25
16 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

6. นักวิ่งสองคน 𝐴 และ 𝐵 กาลังจะวิง่ แข่งบนลูว่ ิ่งทีเ่ ป็ นเส้ นรอบวงของวงกลมรัศมี 𝑟 เมตร เป็ นจานวน 50 รอบ ถ้ านักวิง่
เริ่ มต้ นวิง่ ที่จดุ เดียวกันและวิง่ ไปในทิศทางเดียวกันด้ วยความเร็ วคงที่ โดย 𝐴 วิ่งด้ วยความเร็ว 𝑎 เมตรต่อนาที และ 𝐵
วิ่งด้ วยความเร็ว 𝑏 เมตรต่อนาที โดยที่ 𝑎 > 𝑏 เมื่อการแข่งขันเสร็ จสิ ้น พบว่า 𝐴 ได้ วิ่งแซงรอบ 𝐵 ไปเป็ นจานวนทังสิ ้ ้น
17 รอบ ข้ อใดต่อไปนี ้คือค่าที่เป็ นไปได้ ของ 𝑏/𝑎
ก. 0.631 ข. 0.640 ค. 0.651 ง. 0.661
ตอบ ค
เนื่องจาก 𝑎 > 𝑏 ดังนัน้ เมื่อการแข่งขันเสร็ จสิ ้น 𝐴 จะวิง่ ได้ ครบ 50 รอบ (แต่ 𝐵 จะวิง่ ได้ น้อยกว่า 50 รอบ)
1 รอบ = 2𝜋𝑟 เมตร ดังนัน้ 𝐴 จะวิ่งได้ ระยะทาง = 50(2𝜋𝑟) = 100𝜋𝑟 เมตร
𝐴 วิ่งเร็ ว 𝑎 เมตรต่อนาที ดังนัน้ 𝐴 ใช้ เวลาวิง่ =
100𝜋𝑟
นาที จึ ง จะถึ งเส้ น ชั
ย เวลา = ระยะทาง
ความเร็ ว
𝑎
100𝜋𝑟
𝐵 เริ่ มวิ่งพร้ อม 𝐴 ดังนัน้ ขณะที่ 𝐴 เข้ าเส้ นชัย 𝐵 จะใช้ เวลาวิง่ ไป 𝑎 นาที ด้ วย
ดังนัน้ ขณะที่ 𝐴 เข้ าเส้ นชัย 𝐵 วิ่งได้ ระยะทาง 100𝜋𝑟 𝑎
∙ 𝑏 เมตร
𝐴 แซง 𝐵 ไป 17 รอบ แสดงว่า ระยะทาง𝐴 − ระยะทาง𝐵 ต้ องเกิน 17 รอบสนาม แต่ไม่ถงึ 18 รอบสนาม
100𝜋𝑟
17(2𝜋𝑟) < 100𝜋𝑟 − ∙ 𝑏 < 18(2𝜋𝑟)
𝑎
100𝑏
÷ 𝜋𝑟 ตลอด
34 < 100 − 𝑎 < 36
100𝑏
− 100 ตลอด
−68 < − 𝑎 < −64
𝑏
÷ (− 100) ตลอด
0.68 > 𝑎
> 0.64 ต้ องกลับ มากกว่า ↔ น้ อยกว่า
→ จะเห็นว่ามีข้อ ค เท่านัน้ ที่อยูร่ ะหว่าง 0.64 และ 0.68

7. ค่าของ (cot 10° − 3√3)(csc 20° + 2 cot 20°) ตรงกับข้ อใด


ก. 3√3 − 1 ข. 4 ค. √3 + 2 ง. 6
ตอบ ข
cos 10° 1 2 cos 20°
= ( sin 10° − 3√3) (sin 20° + sin 20°
)
cos 10° − 3√3 sin 10° 1 + 2 cos 20°
=( sin 10°
) ( sin 20° )
cos 10° + 2 cos 10° cos 20° − 3√3 sin 10° − 3√3(2 cos 20° sin 10°) 2
= sin 10° sin 20°
∙2
cos 10° + cos 30° + cos 10° − 3√3 sin 10° − 3√3(sin 30°−sin 10°) 2
= ∙
cos 10° − cos 30° 1
cos 10° + cos 30° + cos 10° − 3√3 sin 10° − 3√3 sin 30° + 3√3 sin 10°
= ∙ 2
cos 10° − cos 30°
√3 3√3
2 cos 10° + −
2 2
= √3
∙2
cos 10° −
2
2√3
2 cos 10° −
2
= √3
∙2
cos 10° −
2
√3
2(cos 10°− )
2
= √3
∙2 = 4
cos 10°−
2
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 17

8. กาหนดให้ มีข้อมูลของตัวอย่าง ชุด 𝐴 ประกอบด้ วย 0, 10, 20, 30, 40, 50, 60, 70, 80, 90
ชุด 𝐵 ประกอบด้ วย 0, 20, 40, 60, 80, 100, 120, 140, 160, 180
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) ข้ อมูลชุด 𝐴 มีสมั ประสิทธิ์ของพิสยั มากกว่าข้ อมูลชุด 𝐵
(2) ข้ อมูลชุด 𝐴 มีสมั ประสิทธิ์ของการแปรผันมากกว่าข้ อมูลชุด 𝐵
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ง
(1) สปส พิสยั = 𝑚𝑎𝑥−𝑚𝑖𝑛
𝑚𝑎𝑥+𝑚𝑖𝑛
90−0
→ ชุด 𝐴 คือ 90+0 = 1
180−0
→ ชุด 𝐵 คือ 180+0
= 1 เท่ากัน → (1) ผิด
𝑠
(2) สปส การแปรฝัน = 𝑥̅
ข้ อมูล 𝐵 ได้ จากการนาข้ อมูล 𝐴 มาคูณ 2 → จากสมบัติของ 𝑠 และ 𝑥̅ จะได้ 𝑠𝐵 = 2𝑠𝐴 …(1)
𝑥̅𝐵 = 2𝑥̅𝐴 …(2)
𝑠𝐵 2𝑆𝐴 𝑆𝐴
(1) ÷ (2) จะได้ 𝑥̅𝐵
= 2𝑥̅𝐴
= 𝑥̅𝐴
ดังนัน้ ข้ อมูลทังสองชุ
้ ด จะมี สปส การแปรผันเท่ากัน → (2) ผิด

9. แมวน้ อยชื่อเหมียวยี ้ ตัดสินใจเดินเป็ นวงตามจุดดังภาพ เริ่ มต้ นจากจุด 𝑆 โดยแต่ละครัง้ มีความ 𝑆


1
น่าจะเป็ นเท่ากับ 2 ที่จะย้ ายไปยังจุดที่เชื่อมติดกันกับจุดเดิม เหมียวยี ้จะเดินไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะ
1 2
ผ่านครบทุกจุดแล้ วจึงหยุดเดิน จงหาความน่าจะเป็ นที่จดุ หมายเลข 3 จะถูกเดินผ่านเพียงครัง้
เดียวและเป็ นจุดก่อนจุดสุดท้ ายของการเดินของเหมียวยี ้ 3

ก. 13 ข. 14 ค. 15 ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง
ตอบ ก
จะเห็นว่าเดิน 3 ครัง้ ก็พอจะบอกได้ วา่ มีทางสาเร็จหรื อไม่ → จะดูการเดิน 3 ครัง้ ที่เป็ นไปได้ ทงหมด
ั้
แล้ วจึงค่อยๆ ไล่ย้อนขึ ้นมาเพื่อหาโอกาสที่เดินสาเร็จในการเดินครัง้ ก่อนหน้ า 𝑆

1 2
พิจารณา เส้ นทาง 𝑆 → 1 → 3 จะเห็นว่าการเดินครัง้ ถัดไป มีโอกาสที่จะเดินต่อไปที่ 2 ⋮
1 3 𝑆
หรื อ 1 อย่างละ 2 เท่าๆกัน
𝑆 → 1 → 3 → 2 : ถ้ าเดินแบบนี ้ ถือว่าสาเร็ จ (โอกาสสาเร็ จ = 1) 2 1 2 1
𝑆 → 1 → 3 → 1 : ถ้ าเดินแบบนี ้ ต่อให้ ครัง้ ต่อๆ ไปเดินยังไง ก็ไม่สาเร็ จ
เพราะผ่าน 3 ไปแล้ วครัง้ หนึง่ แต่ยงั ไม่จบในจุดถัดไป (จะจบได้ ต้องเดินครบทุกเลข แต่ยงั ไม่
ผ่าน 2) จึงไม่ที่ทางที่จะผ่าน 3 เพียงครัง้ เดียวก่อนจุดสุดท้ ายได้ (โอกาสสาเร็ จ = 0)
ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 → 3 มีโอกาสที่จะเดินต่อไปที่ 2 (โอกาสสาเร็ จ = 1) หรื อ 1 (โอกาสสาเร็ จ = 0) เท่าๆ กัน
ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 → 3 จะมีโอกาสสาเร็ จ = 1+0 2
= 2
1
18 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

พิจารณาเส้ นทาง 𝑆→1→𝑆 จะเห็นว่าการเดินครัง้ ถัดไป มีโอกาสที่จะเดินต่อไปที่ 2 หรื อ 1 อย่างละ 12 เท่าๆกัน


𝑆 → 1 → 𝑆 → 2 : ถ้ าเดินแบบนี ้ จะเดินผ่านเกือบทุกจุดแล้ ว ขาดแค่ 3 ดังนัน้ เมื่อไหร่ ก็ตามทีเ่ ดินไปที่ 3 จะถือว่า
สิ ้นสุดการเดินทันที (3 คือจุดสุดท้ าย) จึงไม่มีทางผ่าน 3 ก่อนจุดสุดท้ ายได้ (โอกาสสาเร็ จ = 0)
𝑆 → 1 → 𝑆 → 1 : เดินแบบนี ้ จะยังบอกไม่ได้ วา่ สาเร็ จหรื อไม่ → สมมติให้ โอกาสที่เดินแบบนี ้แล้ วสาเร็ จ = 𝑝
ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 → 𝑆 มีโอกาสที่จะเดินต่อไปที่ 2 (โอกาสสาเร็ จ = 0) หรื อ 1 (โอกาสสาเร็ จ = 𝑝) เท่าๆ กัน
ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 → 𝑆 จะมีโอกาสสาเร็จ = 0+𝑝 2
= 2
𝑝

1 𝑝
จากทังกรณี
้ 𝑆 → 1 → 3 (โอกาสสาเร็ จ = ) และ 𝑆 → 1 → 𝑆 (โอกาสสาเร็ จ = )
2 2
ย้ อนกลับขึ ้นไปพิจารณาเส้ นทาง 𝑆 → 1
จะเห็นว่า เส้ นทาง 𝑆 → 1 มีโอกาสที่จะเดินต่อไปที่ 3 (โอกาสสาเร็จ = 12) หรื อ 1 (โอกาสสาเร็ จ = 𝑝2) เท่าๆ กัน
1 𝑝
+ 1+𝑝
ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆→1 จะมีโอกาสสาเร็ จ = 2 2
2
= 4

แต่เส้ นทาง 𝑆 → 1 จะมีโอกาสสาเร็ จเหมือนกับเส้ นทาง 𝑆 → 1 → 𝑆 → 1 (เพราะเดินมาอยูท่ ี่จดุ 1 เหมือนกัน และเคย


ผ่าน 𝑆 กับ 1 สองจุดเหมือนกัน) แต่เราเคยสมมติให้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 → 𝑆 → 1 มีโอกาสสาเร็ จ = 𝑝
ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 จะมีโอกาสสาเร็ จ = 𝑝 ด้ วย ทาให้ ได้ สมการคือ 1+𝑝
4
= 𝑝
1 + 𝑝 = 4𝑝
1
= 𝑝
3

เนื่องจากจุด 1 กับ 2 มีความสมมาตรกัน ดังนัน้ เส้ นทาง 𝑆 → 1 กับ 𝑆 → 2 จะมีโอกาสสาเร็จเท่ากัน คือ 13


ดังนัน้ จากจุด 𝑆 ที่เป็ นจุดเริ่ มต้ น จะมีโอกาสเดินไปที่ 1 (โอกาสสาเร็ จ = 13) หรื อ 2 (โอกาสสาเร็ จ = 13) เท่าๆ กัน
1 1
+ 1
ดังนัน้ จากจุด 𝑆 จะมีโอกาสสาเร็ จ = 3 3
2
= 3

10. สาหรับจานวนจริ ง 𝑎≥1 นิยาม √𝑎 − √𝑎 − √𝑎 − … คือ nlim



𝑎𝑛 โดยที่ 𝑎1 = √𝑎

และ 𝑎𝑛+1 = √𝑎 − 𝑎𝑛 สาหรับ 𝑛 = 1, 2, 3, … ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ องสาหรับ √1 − √1 − √1 − …

ก. มีคา่ เท่ากับ −1−√5


2
ข. มีคา่ เท่ากับ −1+√5
2
ค. มีคา่ เท่ากับ 0 ง. ไม่มีคา่
ตอบ ง

จากนิยาม จะได้ √1 − √1 − √1 − … คือ nlim



𝑎𝑛 เมื่อ 𝑎=1

ซึง่ จะได้ 𝑎1 = √1 = 1 และ 𝑎𝑛+1 = √1 − 𝑎𝑛 → แทน 𝑛=1 จะได้ 𝑎2 = √1 − 𝑎1 = √1 − 1 = 0


→ แทน 𝑛=2 จะได้ 𝑎3 = √1 − 𝑎2 = √1 − 0 = 1
→ แทน 𝑛=3 จะได้ 𝑎4 = √1 − 𝑎3 = √1 − 1 = 0

จะเห็นว่า 𝑎𝑛 แกว่งไปมาระหว่าง 1 กับ 0 ดังนัน้ จะหาค่า nlim

𝑎𝑛 ไม่ได้

หมายเหตุ : ข้ อนี ้ จะยังสมมติให้ √1 − √1 − √1 − … = 𝑥 ไม่ได้ จนกว่าจะรู้วา่ มันมีคา่


สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 19

11. กาหนดให้ (𝑎𝑛 )∞ 𝑛=1 และ (𝑏𝑛 )𝑛=1 เป็ นลาดับของจานวนจริ งซึง

่ 𝑎𝑛 < 𝑏𝑛 ทุก 𝑛 = 1, 2, 3, …
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) ถ้ าลาดับ (𝑎𝑛 )∞
𝑛=1 และ (𝑏𝑛 )𝑛=1 ลูเ่ ข้ า แล้ ว lim 𝑎𝑛 < lim 𝑏𝑛

n n
   
(2) ถ้ าอนุกรม  𝑎𝑛 และ  𝑏𝑛 ลูเ่ ข้ า แล้ ว  𝑎𝑛 <  𝑏𝑛
n 1 n 1 n 1 n 1

ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ค
1 1 1
1. ไม่จริ ง เช่น ถ้ า ให้ (𝑎𝑛 )∞
𝑛=1 คือ 2 , 3 , 4 , …
1 1 1
ให้ (𝑏𝑛 )∞
𝑛=1 คือ 1
, 2
, 3
, …
จะเห็นว่า 𝑎𝑛 < 𝑏𝑛 เสมอ แต่ลมิ ิตของทังสองล
้ าดับ เท่ากับ 0 เท่ากัน → (1) ผิด
  
2. เมื่อลูเ่ ข้ าทังสองอนุ
้ กรม จะกระจาย lim ได้ ดังนัน้  𝑏𝑛 −  𝑎𝑛 =  (𝑏𝑛 − 𝑎𝑛 )
n 1 n 1 n 1

และเนื่องจาก 𝑎𝑛 < 𝑏𝑛 ดังนัน้ 𝑏𝑛 − 𝑎𝑛 เป็ นบวก ทุก 𝑛 = 1, 2, 3, …



ดังนัน้ อนุกรม  (𝑎𝑛 − 𝑏𝑛 ) จะมี “พจน์แรกเป็ นบวก” และยิ่งบวกพจน์ตอ่ ๆ ไปก็จะ “ยิง่ เป็ นบวกมากขึ ้น”
n 1
 
จึงเป็ นไปไม่ได้ ที่  (𝑎𝑛 − 𝑏𝑛 ) จะลูเ่ ข้ าสูศ่ นู ย์ หรื อค่าติดลบ ดังนัน้  (𝑏𝑛 − 𝑎𝑛 ) > 0
n 1 n 1
   
อนุกรมลูเ่ ข้ า จะกระจาย lim ได้ → ได้ เป็ น  𝑏𝑛 −  𝑎𝑛 > 0 ดังนัน้  𝑏𝑛 >  𝑎𝑛 → (2) ถูก
n 1 n 1 n 1 n 1

12. กาหนดให้ 𝑓 : [0, 1] → ℝ นิยามโดย 𝑓(𝑥) = √arccos 𝑥 + √arcsin 𝑥 ถ้ าผลต่างของค่าสูงสุดและค่าตา่ สุด


ของ 𝑓 บนช่วง [0, 1] มีคา่ เท่ากับ 𝑎√𝜋 สาหรับบางค่า 𝑎 ที่เป็ นจานวนจริง แล้ วค่าของ 4𝑎 − 2𝑎2 ตรงกับข้ อใด
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3
ตอบ ข
จากสูตร arccos 𝑥 + arcsin 𝑥 = 𝜋2 → ให้ arccos 𝑥 = 𝑘 จะได้ arcsin 𝑥 = 𝜋2 − 𝑘
และเมื่อ 𝑥 ∈ [0, 1] จะได้ arccos 𝑥 ∈ [0, 𝜋2]
𝜋 𝜋
ดังนัน้ ค่าสูงสุด / ต่าสุดของ 𝑓 บนช่วง [0, 1] จะเท่ากับ ค่าสูงสุด / ต่าสุดของ √𝑘 + √ 2 − 𝑘 เมื่อ 𝑘 ∈ [0, ]
2
ดิฟ แล้ วจับ = 0 1
+
1
(−1) = 0
2√𝑘 𝜋
2√ − 𝑘
2
1 1
2√𝑘
= 𝜋
2√ − 𝑘
2
𝜋
𝑘 = 2
−𝑘
𝜋
𝑘 =
4
𝜋
ดังนัน้ ค่าสูงสุด / ต่าสุด จะเกิดทีจ่ ดุ 𝑘=4 หรื อ จุดขอบ (𝑘 = 0 หรื อ 𝑘 = 𝜋2)
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 √𝜋 √𝜋
𝑘=4: จะได้ √4 + √2 − 4 = 2
+ 2
= √𝜋
20 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

𝜋 𝜋
𝑘=0: จะได้ √0 + √ 2 − 0 = √ 2
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
𝑘=2: จะได้ √2 + √2 − 2 = √2

ดังนัน้ ค่าสูงสุด = √𝜋 (เกิดที่ 𝑘 = 𝜋4) และค่าต่าสุด = √𝜋2 (เกิดที่ 𝑘 = 0 กับ 𝑘 = 𝜋2 ต่าสุดเท่ากัน)


𝜋 1 1
จะได้ ผลต่างของค่าสูงสุดและค่าต่าสุด = √𝜋 − √ = (1 − √ ) √𝜋 →
2 2
เทียบกับ 𝑎√𝜋 จะได้ 𝑎 = 1−√
2
2
1 1
ดังนัน้ 4𝑎 − 2𝑎2 = 4 (1 − √2) − 2 (1 − √2)

1 1 1
= 4 (1 − √ ) − 2 (1 − 2√ + )
2 2 2

1 1
= 4 − 4√2 − 2 + 4√2 − 1 = 1

13. นิยามลาดับ {𝑎𝑛 }, {𝑏𝑛 } และ {𝑐𝑛 } สาหรับ 𝑛 = 1, 2, … ดังนี ้


𝑛2 +1
𝑎𝑛 = , 𝑏𝑛 = 𝑎1 𝑎2 ∙∙∙ 𝑎𝑛 , 𝑐𝑛 = 𝑏1 𝑏2 ∙∙∙ 𝑏𝑛
√𝑛4 +4
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(1) 𝑐9 = √32 111
𝑏𝑛 𝑛 1
(2) √2 − 𝑛+1 < 𝑛3 ทุก 𝑛 = 1, 2, …
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ค
𝑛4 + 4 จะแยกตัวประกอบ โดยการทาเป็ นกาลังสองสมบูรณ์แบบเพิ่มพจน์กลาง ได้ ดงั นี ้
𝑛4 + 4 = 𝑛4 + 4𝑛2 + 4 − 4𝑛2
= (𝑛2 + 2)2 − (2𝑛)2
= (𝑛2 − 2𝑛 + 2)(𝑛2 + 2𝑛 + 2)
= (𝑛2 − 2𝑛 + 1 + 1)(𝑛2 + 2𝑛 + 1 + 1)
= ((𝑛 − 1)2 + 1)((𝑛 + 1)2 + 1)
𝑛2 +1 𝑛2 +1 𝑛2 +1
ดังนัน้ 𝑎𝑛 =
√𝑛4 +4
=
√((𝑛−1)2 +1)((𝑛+1)2 +1)
=
√(𝑛−1)2 +1 √(𝑛+1)2 +1

12 +1 2
𝑎1 = =
√02 +1 √22 +1 √1√5
22 +1 5
𝑎2 = =
√12 +1 √32 +1 √2√10
32 +1 10
𝑎3 = =
√22 +1 √4 2 +1 √5√17
42 +1 17
𝑎4 = =
√32 +1 √52 +1 √10√26

2 5 10 17 𝑛2 +1
ดังนัน้ 𝑏𝑛 = 𝑎1 𝑎2 ∙∙∙ 𝑎𝑛 = ∙ ∙ ∙
√1√5 √2√10 √5√17 √10√26
∙ …∙
√(𝑛−1)2 +1 √(𝑛+1)2 +1
√2 √𝑛2 +1
จะเห็นว่า ตัวเศษ ตัดกับตัวส่วนสองข้ างซ้ ายขวาได้ → เหลือซ้ ายสุดกับขวาสุดที่ตดั ไม่ได้ → 𝑏𝑛 = ∙
√1 √(𝑛+1)2 +1
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 21

√2 √12 +1 √2 √22 +1 √2 √32 +1 √2 √92 +1


(1) จะได้ 𝑐9 = 𝑏1 𝑏2 𝑏3 ∙∙∙ 𝑏9 = ( ∙ 2
√1 √2 +1
) ∙ ( ∙ 2
√1 √3 +1
) ∙ ( ∙
√1 √4 2 +1
)∙ …∙( ∙
√1 √102 +1
)
9 √12 +1 32
= √2 ∙
√102 +1
= 101 →

(1) ผิด
𝑏𝑛 𝑛 √𝑛2 +1 𝑛
(2) √2
− 𝑛+1 =
√(𝑛+1)2 +1
− 𝑛+1
√𝑛2 +1 𝑛
+
√𝑛2 +1 𝑛 √( 2 +1 𝑛+1
= ( − ) ∙ √𝑛+1)
2
√(𝑛+1)2+1 𝑛+1 𝑛 +1 𝑛
+
√(𝑛+1)2 +1 𝑛+1

𝑛2 +1 𝑛2 1
= ((𝑛+1)2 +1 − (𝑛+1)2 ) ∙ √𝑛2 +1 𝑛
+ √𝑛2 +1 𝑛
√(𝑛+1)2 +1 𝑛+1
>
𝑛2 +1 𝑛2 1 √(𝑛+1)2 +1 𝑛+1
< ((𝑛+1)2 − (𝑛+1)2 ) ∙
𝑛 𝑛
+1 +
𝑛+1 𝑛+1
(𝑛2 (𝑛+1)2 +(𝑛+1)2 )−(𝑛2 (𝑛+1)2 +𝑛2 ) 𝑛+1
= ((𝑛+1)2 +1)(𝑛+1)2

2𝑛
(𝑛+1)2 − 𝑛2 𝑛+1
= ((𝑛+1)2 +1)(𝑛+1)2
∙ 2𝑛
2𝑛+1 𝑛+1
= ((𝑛+1)2 +1)(𝑛+1)2
∙ 2𝑛
2(𝑛+1) 𝑛+1
< ((𝑛+1)2 +1)(𝑛+1)2
∙ 2𝑛
1 1 1 1 1
= ((𝑛+1)2 +1)
∙𝑛 < ∙
𝑛2 𝑛
= 𝑛3
→ (2) ถูก

14. ให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนซึง่ สอดคล้ องกับสมการ 𝑖𝑧 4 − 𝑧 3 − 𝑧 − 𝑖 = 0 พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) |z| = 1
(2) ถ้ า 𝑧 ≠ ±𝑖 แล้ ว 𝑧 − 1/𝑧 = 𝑖
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ข
(1) 𝑖𝑧 4 + 𝑖 2 𝑧 3 − 𝑧 − 𝑖 = 0
𝑖𝑧 3 (𝑧 + 𝑖) − (𝑧 + 𝑖) = 0
(𝑧 + 𝑖)(𝑖𝑧 3 − 1) = 0
𝑧 = −𝑖 หรื อ 𝑖𝑧 3 = 1
|𝑧| = |−𝑖| |𝑖𝑧 3 | = 1
|𝑧| = 1 |𝑖||𝑧|3 = 1
|𝑧| = 1 → (1) ถูก
(2) จาก (1) จะได้ 𝑧 = −𝑖 หรื อ
𝑖𝑧 3 = 1
𝑖𝑧 3 = 𝑖 4
𝑧3 − 𝑖3 = 0
2
(𝑧 − 𝑖)(𝑧 + 𝑧𝑖 − 1) = 0
𝑧 = 𝑖 หรื อ 𝑧 2 + 𝑧𝑖 − 1 = 0 แทน 𝑧 = 0 แล้ วสมการไม่จริง
𝑧+ 𝑖
1
−𝑧 = 0 ดังนัน้ 𝑧 ≠ 0 → ÷ 𝑧 ตลอดได้
1
𝑧 −𝑧 = −𝑖
1
ดังนัน้ ถ้ า 𝑧 ≠ ±𝑖 จะได้ 𝑧 − 𝑧 = −𝑖 → (2) ผิด
22 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

15. พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(1) มีจานวนเชิงซ้ อน 𝑧 ที่ไม่ใช่จานวนจริ ง แต่ 𝑧 − 1𝑧 เป็ นจานวนจริง
(2) ถ้ า 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อนที่ไม่ใช่จานวนจริ ง และ 𝑧 + 1𝑧 เป็ นจานวนจริ งแล้ ว |𝑧| = 1
ข้ อใดต่อไปนี ้กล่าวถูกต้ อง
ก. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นจริง ข. ข้ อความ (1) เป็ นจริ ง แต่ข้อความ (2) เป็ นเท็จ
ค. ข้ อความ (1) เป็ นเท็จ แต่ข้อความ (2) เป็ นจริง ง. ข้ อความ (1) และ (2) ต่างเป็ นเท็จ
ตอบ ค
(1) ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖 ไม่ใช่จานวนจริ ง จะได้ 𝑦 ≠ 0
จะได้ 𝑧 − 1𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖 − 𝑥+𝑦𝑖 1

1 𝑥−𝑦𝑖
= 𝑥 + 𝑦𝑖 − (𝑥+𝑦𝑖 ∙ 𝑥−𝑦𝑖)
𝑥−𝑦𝑖
= 𝑥 + 𝑦𝑖 − 𝑥 2 +𝑦 2
𝑥 𝑦 𝑦
= 𝑥 − 𝑥 2 +𝑦2 + (𝑦 + 𝑥 2 +𝑦2 ) 𝑖 → เป็ นจานวนจริ ง เมื่อ 𝑦+
𝑥 2 +𝑦 2
= 0
÷ 𝑦 ตลอด
1+
1
= 0 (𝑦 ≠ 0 )
𝑥 2 +𝑦 2
ซึง่ เป็ นเท็จ (เพราะฝั่งซ้ ายเป็ นบวกเสมอ) → (1) ผิด
(2) ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖 ไม่ใช่จานวนจริ ง จะได้ 𝑦≠0
จะได้ 𝑧 + 1𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖 + 𝑥+𝑦𝑖
1

1 𝑥−𝑦𝑖
= 𝑥 + 𝑦𝑖 + (𝑥+𝑦𝑖 ∙ 𝑥−𝑦𝑖)
𝑥−𝑦𝑖
= 𝑥 + 𝑦𝑖 + 𝑥 2 +𝑦 2
𝑥 𝑦 𝑦
= 𝑥 + 𝑥 2 +𝑦2 + (𝑦 − 𝑥 2 +𝑦2 ) 𝑖 → เป็ นจานวนจริ ง เมื่อ 𝑦 − 𝑥 2 +𝑦2 = 0
÷ 𝑦 ตลอด
1
1 − 𝑥 2 +𝑦2 = 0 (𝑦 ≠ 0 )
2 2
𝑥 +𝑦 = 1
จะได้ |𝑧| = √𝑥 2 + 𝑦 2 = √1 = 1 → (2) ถูก
𝑥+1
16. ถ้ าฟั งก์ชนั 𝑔 : ℝ − {1} → ℝ สอดคล้ องกับสมการ 𝑔(𝑥) + 𝑥𝑔 (
𝑥−1
) = 𝑥 จงเขียน 𝑔(𝑥) ในรูปของ 𝑥
ตอบ 𝑥2𝑥 2 +1

𝑥+1
𝑔(𝑥) + 𝑥 𝑔 (𝑥−1) = 𝑥 …(1)
𝑥+1
แทน 𝑥 ด้ วย 𝑥−1 𝑥+1 𝑥+1
𝑥+1
𝑥−1
+1 𝑥+1
𝑔 (𝑥−1) + 𝑥−1 ∙ 𝑔 ( 𝑥+1 ) = 𝑥−1
−1
𝑥−1
2𝑥
𝑥+1 𝑥+1 𝑥−1 𝑥+1
𝑔 (𝑥−1) + 𝑥−1 ∙ 𝑔 ( 2) = 𝑥−1
𝑥−1
𝑥+1 𝑥+1 𝑥+1
𝑥+1 𝑔( )+ ∙ 𝑔(𝑥) =
แทน 𝑥 ด้ วย 𝑥−1 𝑥−1 𝑥−1 𝑥−1
𝑥+1 𝑥+1 𝑥+1
𝑥𝑔 (𝑥−1) + 𝑥 ∙ 𝑥−1 ∙ 𝑔(𝑥) = 𝑥 ∙ 𝑥−1 …(2)
𝑥+1 𝑥+1
𝑔(𝑥) − 𝑥 ∙ ∙ 𝑔(𝑥) = 𝑥−𝑥∙
𝑥−1 𝑥−1
𝑥+1 𝑥+1
𝑔(𝑥) (1 − 𝑥 ∙ 𝑥−1) = 𝑥−𝑥∙ 𝑥−1
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 23

𝑥−1−𝑥 2 −𝑥 𝑥 2 −𝑥−𝑥 2 −𝑥
𝑔(𝑥) ( ) =
𝑥−1 𝑥−1
−2𝑥 2𝑥
𝑔(𝑥) = = 2
−𝑥 2 −1 𝑥 +1

17. กาหนดให้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึง่ หน่วย ถ้ าเวกเตอร์ 𝑎⃗ + 2𝑏⃗⃗ ตังฉากกั
้ บเวกเตอร์ 5𝑎⃗ − 4𝑏⃗⃗ แล้ ว ความยาว
รอบรูปมากสุดที่เป็ นไปได้ ของรูปสามเหลีย่ มทีม่ ี 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นด้ านประกอบสองด้ าน มีคา่ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 2 + √3
ตังฉากกั
้ น จะดอทกันได้ 0 → (𝑎⃗ + 2𝑏⃗⃗) ∙ (5𝑎⃗ − 4𝑏⃗⃗) = 0
𝑎⃗ ∙ 5𝑎⃗ − 𝑎⃗ ∙ 4𝑏⃗⃗ + 2𝑏⃗⃗ ∙ 5𝑎⃗ − 2𝑏⃗⃗ ∙ 4𝑏⃗⃗ = 0
5 𝑎⃗ ∙ 𝑎⃗ + 6 𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ − 8 𝑏⃗⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ = 0
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 2
5|𝑎⃗|2 + 6|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 𝜃 − 8 |𝑏⃗⃗| = 0
𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึ่งหน่วย
5 + 6 cos 𝜃 − 8 = 0
3 1
cos 𝜃 = 6 = 2
𝜃 = 60°
ดังนัน้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ ทามุมกัน 60° → จะสร้ างสามเหลีย่ มได้ 2 แบบ ดังรูป
จะเห็นว่า แบบที่ 2 มี 𝑐 ยาวกว่า จึงมีความยาวรอบรูปมากกว่า 𝑏⃗⃗ 𝑐 𝑐 𝑏⃗⃗
ใช้ กฎของ cos กับแบบที่ 2 จะได้ 60° 120° 60°
2 𝑎⃗ 𝑎⃗
𝑐 2 = |𝑎⃗|2 + |𝑏⃗⃗| − 2|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 120° แบบที่ 1 แบบที่ 2
1
= 1 + 1 − 2 (− 2)
= 3
𝑐 = √3 → จะได้ ความยาวรอบรูปมากสุดคือ 1 + 1 + √3 = 2 + √3

18. กาหนดให้ 𝑃 เป็ นจุดจุดหนึง่ ที่ไม่เป็ นจุดยอดบนไฮเพอร์ โบลา 𝑥 2 − 𝑦 2 = 9 ถ้ า 𝑃𝐹1 ∙ 𝑃𝐹2 = 25 เมื่อ 𝐹1 และ
𝐹2 เป็ นจุดโฟกัสของไฮเพอร์ โบลาดังกล่าวแล้ ว รู ปสามเหลีย่ ม 𝑃𝐹1 𝐹2 มีพื ้นที่เท่ากับเท่าใด
ตอบ 12
จัดรูปจะได้ 𝑥 2 − 𝑦 2 = 9
𝑥2 𝑦2
9
− 9
= 1 𝑃
𝑥2 𝑦2 𝑚
− = 1 𝑛
32 32
จะได้ 𝑎 = 3 , 𝑏 = 3 ดังนัน้ 𝑐 + = = √𝑎2 = 3√2 𝑏2 √32 + 32 𝐹1
6√2
𝐹2

จะได้ 𝐹1 𝐹2 = 2𝑐 = 2(3√2) = 6√2 ดังรูป


และจะได้ ความยาวแกนตามขวาง = 2𝑎 = 2√9 = 6
ให้ 𝑃𝐹1 = 𝑚 , 𝑃𝐹2 = 𝑛 → จากสมบัติของไฮเพอโบลา จะได้ |𝑚 − 𝑛| = 6
(𝑚 − 𝑛)2 = 36 …(1)
จาก 𝑃𝐹1 ∙ 𝑃𝐹2 = 25 จะได้ 𝑚𝑛 = 25 …(2)
2
ใช้ กฎของ cos ที่ ∆ 𝑃𝐹1 𝐹2 จะได้ (6√2) = 𝑚2 + 𝑛2 − 2𝑚𝑛 cos 𝑃
72 = 𝑚2 + 𝑛2 − 2𝑚𝑛 + 2𝑚𝑛 − 2𝑚𝑛 cos 𝑃
72 = (𝑚 − 𝑛)2 + 2𝑚𝑛 − 2𝑚𝑛 cos 𝑃
จาก (1) และ (2)
72 = 36 + 2(25) − 2(25) cos 𝑃
50 cos 𝑃 = 14
7
cos 𝑃 = 25
24 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

1
จะได้ พื ้นที่ ∆ 𝑃𝐹1 𝐹2 = 2
𝑚𝑛 sin 𝑃
1 24 𝑃 อยูจ่ ตุภาคที่ 1 → วาด ∆ 25 24
= (25) ( )
2 25
= 12 𝑃
7

19. ถ้ า 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 ทุก 𝑥 ∈ [−2, 3] แล้ วพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ ง 𝑦 = |𝑓(𝑥)| ที่อยูเ่ หนือแกน 𝑋 บนช่วงปิ ด [−2, 3]
มีคา่ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 28 3
มีคา่ สัมบูรณ์ ครอบ 𝑓(𝑥) อยู่ → ส่วนที่อยูไ่ ต้ แกน 𝑋 จะถูกเปลีย่ นให้ ขึ ้นมาอยูเ่ หนือแกน 𝑋
ดังนัน้ ข้ อนี ้หาพื ้นที่ตงแต่
ั ้ −2 ถึง 3 ที่อยูร่ ะหว่างเส้ นโค้ ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 แบบปกติได้ เลย
หาจุดตัดแกน 𝑋 เพื่อใช้ เป็ นจุดแบ่งการช่วงอินทิเกรต → 𝑥 2 − 1 = 0
(𝑥 + 1)(𝑥 − 1) = 0
𝑥 = −1 , 1
ดังนัน้ ต้ องแบ่งช่วงอินทิเกรตเป็ น [−2, −1] , [−1, 1] และ [1, 3] แล้ วเปลีย่ นค่าเป็ นบวกก่อน ค่อยเอามารวมกัน
1 1 3
 (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥  (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥  (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥
2 1 1
𝑥3 −1 𝑥3 1 𝑥3 3
= ( 3 − 𝑥) | = ( 3 − 𝑥) | = ( 3 − 𝑥) |
−2 −1 1
−1 −8 1 −1 1
= ( + 1) − ( + 2) = ( − 1) − ( + 1) = (9 − 3) − ( − 1)
3 3 3 3 3
2 −2 −2 2 −2
= − = − = 6 −
3 3 3 3 3
4 4 20
= = −3 =
3 3
4
→ เปลีย่ นเป็ นบวกได้ 3
4 4 20 28
จะได้ พื ้นที่ = 3
+3+ 3
= 3

20. ให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนเต็มบวกโดยที่ 𝑥 < 𝑦 และสอดคล้ องกับสมการ 𝑥 2 + 𝑦 2 = 2017 จงหาค่าของ 𝑦
ตอบ 44
เนื่องจาก 2017 เป็ นเลขคี่ ดังนัน้ ฝั่งซ้ ายที่บวกกัน ต้ องมีตวั หนึง่ เป็ นคี่ ตัวหนึง่ เป็ นคู่
จะได้ (2𝑚 + 1)2 + (2𝑛)2 = 2017
4𝑚2 + 4𝑚 + 1 + 4𝑛2 = 2017
4𝑚2 + 4𝑚 + 4𝑛2 = 2016
2
𝑚 + 𝑚 + 𝑛2 = 504
𝑚(𝑚 + 1) + 𝑛2 = 504
เนื่องจาก 504 เป็ นเลขคู่ และ 𝑚(𝑚 + 1) เป็ นเลขคู่ (สองจานวนที่เรี ยงติดกัน ต้ องมีตวั หนึง่ เป็ นเลขคู)่
ดังนัน้ 𝑛2 ต้ องเป็ นเลขคู่ ทาให้ 𝑛 ต้ องเป็ นเลขคู่ และจะได้ วา่ 2𝑛 ต้ องหารด้ วย 4 ลงตัว
2 2
ดังนัน้ 2017 = (จานวนคี)่ + (จานวนที่หารด้ วย 4 ลงตัว) …(1)
พิจารณาหลักหน่วยของผลกาลังสอง 𝑎 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
จะเห็นว่ามี 0, 1, 4, 5, 6, 9 เท่านัน้
2
𝑎 0 1 4 9 16 25 36 49 64 81

2017 ลงท้ ายด้ วย 7 ซึง่ ได้ จาก 1 + 6 เท่านัน้


2 2
นัน่ คือ 2017 = (จานวนที่ลงท้ ายด้ วย 1 หรื อ 9) + (จานวนที่ลงท้ ายด้ วย 4 หรื อ 6) …(2)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 25

จาก (1) และ (2) จะได้ จานวนที่หารด้ วย 4 ลงตัว ต้ องลงท้ ายด้ วย 4 หรื อ 6 ซึง่ จะมี 4 , 16 , 24 , 36 , 44 , 56 , …
(ตังแต่
้ 56 ขึ ้นไป จะไม่ได้ เพราะ 562 > 2017)
ไล่แทนทีละตัว 𝑘 𝑘2 2017 − 𝑘 2
4 16 2001
16 256 1761 ถอดรูทไม่ลงตัว
24 576 1441
36 1296 721
44 1936 81 = 92

ดังนัน้ 2017 = 442 + 92 → จะได้ 𝑦 = 44

21. กาหนดให้ 𝑥 > 1 และ 𝑦 > 1 สอดคล้ องกับสมการ log 𝑦 𝑥 − log 𝑥 𝑦 = 83 แล้ ว ค่าต่าสุดของ 𝑥 − 12𝑦
เท่ากับเท่าใด
ตอบ −16
1
log 𝑦 𝑥 กับ log 𝑥 𝑦 จะเป็ นส่วนกลับกัน ดังนัน้ ถ้ าให้ log 𝑦 𝑥 = 𝑎 จะได้ log 𝑥 𝑦 =
𝑎
จะได้ สมการคือ 𝑎 − 𝑎
1 8
= 3
3𝑎2 − 3 = 8𝑎
2
3𝑎 − 8𝑎 − 3 = 0
(3𝑎 + 1)(𝑎 − 3) = 0
1 𝑥>1 และ 𝑦 > 1 จะทาให้ log 𝑦 𝑥 > 0
𝑎 = −3 , 3
ดังนัน้ 𝑎 เป็ น − 13 ไม่ได้
log 𝑦 𝑥 = 3
𝑥 = 𝑦3

ดังนัน้ 𝑥 − 12𝑦 = 𝑦 3 − 12𝑦 → หาค่าตา่ สุด ต้ องดิฟ


ดิฟเทียบกับ 𝑦 จะได้ = 3𝑦 2 − 12 = 3(𝑦 + 2)(𝑦 − 2) → วาดกราฟเพิม่ ลด ได้ + − +
𝑦
จะเห็นว่าในช่วง 𝑦 > 1 จะมี 𝑦 = 2 เป็ นค่าตา่ สุดสัมบูรณ์ −2 2

ดังนัน้ ค่าต่าสุด = 23 − 12(2) = −16

22. กาหนดพาราโบลา 𝑝(𝑥) = 2017𝑥 2 − 2560𝑥 − 743


ให้ 𝐿1 และ 𝐿2 เป็ นเส้ นสัมผัสพาราโบลา 𝑝(𝑥) ที่จดุ (−10, 𝑝(−10)) และที่จดุ (1000, 𝑝(1000)) ตามลาดับ
ถ้ า 𝐿1 และ 𝐿2 ตัดกันที่จดุ (𝑥0, 𝑦0 ) แล้ ว 𝑥0 มีคา่ เท่าใด
ตอบ 495
เปลีย่ นเลขเยอะๆ ให้ เป็ นตัวแปรให้ หมด เพราะสุดท้ ายแล้ ว มันน่าจะตัดกันเองได้
ให้ 𝑎 = 2017 , 𝑏 = −2560 , 𝑐 = −734 จะได้ 𝑝(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
ดิฟ จะได้ ความชันเส้ นสัมผัส → 𝑝′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏
ให้ 𝑚 = −10 ให้ 𝑛 = 1000
จะได้ 𝐿1 ผ่านจุด (𝑚, 𝑝(𝑚)) และมีความชัน 𝑝′ (𝑚) จะได้ 𝐿2 ผ่านจุด (𝑛, 𝑝(𝑛)) และมีความชัน 𝑝′ (𝑛)
𝑦−𝑝(𝑚) 𝑦−𝑝(𝑛)
𝐿1 : = 𝑝′ (𝑚) 𝐿2 :
𝑥−𝑛
= 𝑝′ (𝑛)
𝑥−𝑚
𝑦 = 𝑥𝑝′ (𝑚) − 𝑚𝑝′ (𝑚) + 𝑝(𝑚) 𝑦 = 𝑥𝑝′ (𝑛) − 𝑛𝑝′ (𝑛) + 𝑝(𝑛)
26 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

แก้ ระบบสมการ 𝐿1 กับ 𝐿2 เพื่อหาจุดตัด จะได้


𝑥𝑝′ (𝑚) − 𝑚𝑝′ (𝑚) + 𝑝(𝑚) = 𝑥𝑝′ (𝑛) − 𝑛𝑝′ (𝑛) + 𝑝(𝑛)
𝑥𝑝′ (𝑚) − 𝑥𝑝′ (𝑛) = 𝑚𝑝′ (𝑚) − 𝑛𝑝′ (𝑛) − 𝑝(𝑚) + 𝑝(𝑛)
𝑚𝑝′ (𝑚)−𝑛𝑝′ (𝑛)−𝑝(𝑚)+𝑝(𝑛)
𝑥 = 𝑝′ (𝑚)−𝑝′ (𝑛)
2𝑎𝑚2 +𝑏𝑚−2𝑎𝑛2 −𝑏𝑛−𝑎𝑚2 −𝑏𝑚−𝑐+𝑎𝑛2 +𝑏𝑛+𝑐
𝑥 = 2𝑎𝑚+𝑏−2𝑎𝑛−𝑏
2𝑎𝑚2 −2𝑎𝑛2 −𝑎𝑚2 +𝑎𝑛2
𝑥 = 2𝑎𝑚−2𝑎𝑛
𝑎𝑚2 −𝑎𝑛2
𝑥 = 2𝑎𝑚−2𝑎𝑛
𝑎(𝑚−𝑛)(𝑚+𝑛)
𝑥 = 2𝑎(𝑚−𝑛)
𝑚+𝑛 −10+1000
𝑥 = = = 495
2 2

23. กาหนดให้ 𝐴 = {𝑎∈ℝ : สมการ ln(𝑎𝑥 − 3) − ln(3 − 𝑥) = ln(𝑥 − 2) มีผลเฉลยเพียงหนึง่ เดียว } และ
𝐵 = { 𝑏 ∈ ℝ : |𝑏 − 1| < |6 − 4𝑏| }
จงหา 𝐴∩𝐵
ตอบ (1, 1.4)
หา 𝐴 : หลัง ln ต้ องเป็ นบวก ดังนัน้ 𝑎𝑥 − 3 > 0 …(1) และ 3−𝑥 > 0 และ 𝑥−2 > 0

𝑥 ∈ (2, 3) …(2)
พิจารณา (1) ร่วมกับ (2) จะเห็นว่า ถ้ า 𝑎 ≤ 1 จะไม่มีทางคูณ 𝑥 ที่อยูใ่ นช่วง (2, 3) แล้ วมากกว่า 3 ได้
ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ 𝑎 > 1
และจาก ln(𝑎𝑥 − 3) − ln(3 − 𝑥) = ln(𝑥 − 2)
ln(𝑎𝑥 − 3) = ln(𝑥 − 2) + ln(3 − 𝑥)
ln(𝑎𝑥 − 3) = ln((𝑥 − 2)(3 − 𝑥))
𝑎𝑥 − 3 = (𝑥 − 2)(3 − 𝑥) … (∗)
2
𝑎𝑥 − 3 = −𝑥 + 5𝑥 − 6
𝑥 2 + (𝑎 − 5)𝑥 + 3 = 0
−(𝑎−5)±√(𝑎−5)2 −4(1)(3) 5−𝑎 ± √(𝑎−5)2 −12
ใช้ สตู รคาตอบของสมการกาลังสอง จะได้ 𝑥 =
2(1)
=
2
5−𝑎 − √(𝑎−5)2 −12 5−𝑎 5−1
แต่ 2
≤ 2
< 2
≤ 2 → ไม่อยูใ่ นช่วง (2, 3) จึงเป็ นคาตอบไม่ได้
เพราะ 𝑎 > 1
5−𝑎 + √(𝑎−5)2 −12
อีกค่าอาจเป็ นคาตอบได้ ถ้ า 2 < 2
< 3
×2 และ + 𝑎 − 5 ตลอด
𝑎−1 < √(𝑎 − 5)2 − 12
< 𝑎+1
ยกกาลัง 2 ได้ เพราะ 𝑎 > 1
𝑎2 − 2𝑎 + 1 < 𝑎2 − 10𝑎 + 13 < 𝑎2 + 2𝑎 + 1
−𝑎2 + 10𝑎 − 1 ตลอด
8𝑎 < 12 < 12𝑎
2 1 ÷ 12𝑎 ตลอด
< < 1
3 𝑎
3 กลับเศษส่วน
> 𝑎 > 1
2

ส่วนเงื่อนไข (1) จะเป็ นจริ งโดยอัตโนมัติ เพราะเมื่อแทน 𝑥 ∈ (2, 3) ใน (∗) จะได้ 𝑎𝑥 − 3 เป็ นบวกเสมอ
ดังนัน้ จะได้ 𝐴 = (1, 32)
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 27

หมายเหตุ : จะแก้ สมการ (∗) โดยหาจุดตัดกราฟ 𝑦 = 𝑎𝑥 − 3 กับ 𝑦 = (𝑥 − 2)(3 − 𝑥) ก็ได้


ถ้ าพิจารณาความชัน จะพบว่ากราฟตัดกันจุดเดียวในช่วง 𝑥 ∈ (2, 3) เสมอ
ซึง่ จะได้ ความชันเส้ นตรง 𝑎 ∈ (33 , 32) = (1, 32)

หา 𝐵 : |𝑏 − 1| < |6 − 4𝑏|
2
(𝑏 − 1) < (6 − 4𝑏)2
2 2
(𝑏 − 1) − (6 − 4𝑏) < 0
((𝑏 − 1) − − 4𝑏))((𝑏 − 1) + (6 − 4𝑏)) < 0
(6
(5𝑏 − 7) (−3𝑏 + 5) < 0
− + −
7 5
7 5 → จะได้ 𝐵 = (−∞ , ) ∪ ( , ∞)
5 3
5 3
3 7 5 7
จะได้ 𝐴 ∩ 𝐵 = (1, 2) ∩ [(−∞ , 5) ∪ (3 , ∞)] = (1, 5) = (1, 1.4)

24. บทนิยาม สาหรับเมทริ กซ์ 𝐴 ใดๆ ซึง่ มีสมาชิกเป็ นจานวนเต็ม และสาหรับจานวนเต็มบวก 𝑛 ใดๆ นิยาม 𝐴 mod 𝑛
ให้ เป็ นเมริ กซ์ทมี่ ีมิตเิ ท่ากับมิติของ 𝐴 และสมาชิกตาแหน่งใดๆของ 𝐴 mod 𝑛 ได้ จากเศษเหลือที่ได้ จากการหาร
3 4 0 1
สมาชิกในตาแหน่งนันของ
้ 𝐴 ด้ วย 𝑛 เช่น ถ้ า 𝐴 = [
2 5
] แล้ ว จะได้ วา่ 𝐴 mod 3 = [
2 2
]
𝑎 𝑏
ให้ 𝑋 = {[ ] ∶ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ {0,1,2}}
𝑐 𝑑
จานวนเมทริ กซ์ 𝐴 ∈ 𝑋 ทังหมดที
้ ่มีสมบัติ 𝐴2 mod 3 = 𝐼 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 14
2 2
ให้ 𝐴=[
𝑎 𝑏
] จะได้
𝐴2 = [
𝑎 𝑏 𝑎
][
𝑏
] = [𝑎 + 𝑏𝑐 𝑎𝑏 + 𝑏𝑑] = [ 𝑎 + 𝑏𝑐 𝑏(𝑎 + 𝑑)]
𝑐 𝑑 𝑐 𝑑 𝑐 𝑑 𝑎𝑐 + 𝑐𝑑 𝑏𝑐 + 𝑑2 𝑐(𝑎 + 𝑑) 𝑑 2 + 𝑏𝑐
ดังนัน้ 𝐴2 mod 3 = 𝐼 = [10 01] ก็ตอ่ เมื่อ
𝑎2 + 𝑏𝑐 หารด้ วย 3 เหลือเศษ 1 …(1)
𝑏(𝑎 + 𝑑) หารด้ วย 3 ลงตัว ซึง่ ก็คือ 𝑏 หรื อ 𝑎 + 𝑑 หารด้ วย 3 ลงตัว …(2)
𝑐(𝑎 + 𝑑) หารด้ วย 3 ลงตัว ซึง่ ก็คือ 𝑐 หรื อ 𝑎 + 𝑑 หารด้ วย 3 ลงตัว …(3)
𝑑2 + 𝑏𝑐 หารด้ วย 3 เหลือเศษ 1 …(4)

กรณี 𝑎 = 0
จาก (1) จะได้ 𝑏𝑐 ต้ องหารด้ วย 3 เหลือเศษ 1 นัน่ คือ 𝑏𝑐 = 1 หรื อ 4
ซึง่ เป็ นไปได้ 2 แบบ คือ 𝑏 = 𝑐 = 1 หรื อ 𝑏 = 𝑐 = 2
ดังนัน้ 𝑏 กับ 𝑐 จะหารด้ วย 3 ไม่ลงตัว → จาก (2) และ (3) จะได้ 𝑎 + 𝑑 ต้ องหารด้ วย 3 ลงตัว
แต่ 𝑎 = 0 จึงสรุปได้ วา่ 𝑑 = 0
ดังนัน้ กรณีนี ้มี 2 แบบ คือ [01 10] กับ [02 20]
กรณี 𝑎 ≠ 0
จะได้ 𝑎 = 1 หรื อ 2 ซึง่ จะได้ วา่ 𝑎2 = 1 หรื อ 4 จะเห็นว่า 𝑎2 หารด้ วย 3 เหลือเศษ 1 เสมอ
จาก (1) จะสรุปได้ วา่ 𝑏𝑐 ต้ องหารด้ วย 3 ลงตัวเท่านัน้
และจาก (4) เมื่อ 𝑏𝑐 หารด้ วย 3 ลงตัว จะสรุปได้ วา่ 𝑑2 ต้ องหารด้ วย 3 เหลือเศษ 1 นัน่ คือ 𝑑 = 1 หรื อ 2
28 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

เหลือ (2) กับ (3) ที่ต้องพิจารณาต่อ → จะแบ่งกรณียอ่ ยเพิ่ม


กรณี 𝑎 + 𝑑 หารด้ วย 3 ไม่ลงตัว
จาก (2) และ (3) จะได้ 𝑏 และ 𝑐 ต้ องหารด้ วย 3 ลงตัว → 𝑏 = 0 และ 𝑐 = 0 เท่านัน้
จาก 𝑎 และ 𝑑 เป็ นได้ แค่ 1 หรื อ 2 → จะมี (𝑎, 𝑑) ที่บวกกันแล้ วหารด้ วย 3 ไม่ลงตัว คือ (1, 1) กับ (2, 2)
ดังนัน้ กรณีนี ้จะมี 2 แบบ คือ [10 01] กับ [20 02]
กรณี 𝑎 + 𝑑 หารด้ วย 3 ลงตัว
(2) และ (3) จะเป็ นจริ งโดยอัตโนมัติ
จาก 𝑎 และ 𝑑 เป็ นได้ แค่ 1 หรื อ 2 → จะมี (𝑎, 𝑑) ที่บวกกันแล้ วหารด้ วย 3 ลงตัว คือ (1, 2) กับ (2, 1)
รวม 2 แบบ
(𝑏, 𝑐) เป็ นอะไรก็ได้ ที่ 𝑏𝑐 หารด้ วย 3 ลงตัว → (0, 0) , (0, 1) , (0, 2) , (1, 0) , (2, 0) รวม 5 แบบ
ดังนัน้ กรณีนี ้ จะมี 2 × 5 = 10 แบบ
รวมทุกกรณี จะมี 2 + 2 + 10 = 14 แบบ

25. สุม่ เลือกจานวนเต็ม 𝑎 และ 𝑏 จากเซตของจานวนเต็ม {1, 2, … , 100} ความน่าจะเป็ นที่จะสุม่ ได้ 𝑎 และ 𝑏 ซึง่ ทา
ให้ 7𝑎 + 𝑏 หารด้ วย 10 ลงตัวเท่ากับเท่าใด
ตอบ 0.1
ถ้ า 𝑎 = 1 จะได้ 7𝑎 = 7 → จะมี 𝑏 = 3, 13, 23, … , 93 ทังหมด้ 10 แบบ ที่ทาให้ 7𝑎 + 𝑏 หารด้ วย 10 ลงตัว
ถ้ า 𝑎 = 2 จะได้ 7𝑎 = 49 → จะมี 𝑏 = 1, 11, 21, … , 91 ทังหมด ้ 10 แบบ ที่ทาให้ 7𝑎 + 𝑏 หารด้ วย 10 ลงตัว
ถ้ า 𝑎 = 3 จะได้ 7𝑎 = 343 → จะมี 𝑏 = 7, 17, 27, … , 97 ทังหมด ้ 10 แบบ ที่ทาให้ 7𝑎 + 𝑏 หารด้ วย 10 ลงตัว

จะเห็นว่า ไม่วา่ 7𝑎 จะลงท้ ายด้ วยอะไรก็ตาม จะมี 𝑏 ทังหมด
้ 10 แบบ จาก 100 แบบ ที่ทาให้ หารด้ วย 10 ลงตัวเสมอ
10
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ น = 100 = 0.1

26. จงหาคาตอบ (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ2 ทังหมดของระบบสมการ


้ 2 log(𝑥 − 2𝑦) = log 𝑥 + log 𝑦
3𝑥−𝑦 + 27𝑦 = 6
4 1
ตอบ (3,3 )
2 log(𝑥 − 2𝑦) = log 𝑥 + log 𝑦 เมื่อ 𝑥 − 2𝑦 > 0 และ 𝑥>0 และ 𝑦 > 0 …(∗)
log(𝑥 − 2𝑦)2 = log 𝑥𝑦
𝑥 2 − 4𝑥𝑦 + 4𝑦 2 = 𝑥𝑦
𝑥 2 − 5𝑥𝑦 + 4𝑦 2 = 0
(𝑥 − 𝑦)(𝑥 − 4𝑦) = 0
𝑥 = 𝑦 , 4𝑦
แต่ 𝑥=𝑦 จะทาให้ (∗) เป็ นเท็จ จึงใช้ ไม่ได้ → จะได้ 𝑥 = 4𝑦 → แทนในสมการที่สอง : 34𝑦−𝑦 + 27𝑦 = 6
33𝑦 + (33 )𝑦 = 6
2(33𝑦 ) = 6
33𝑦 = 3
3𝑦 = 1
1
𝑦 = 3
4
และจะได้ 𝑥 = 4𝑦 = 3
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 29

27. จงหาจานวนจริง 𝑎 ทังหมดที


้ ่ทาให้ เซตคาตอบของอสมการ 4𝑥 − 𝑎 ∙ 2𝑥 − 𝑎 + 3 ≤ 0 ไม่เป็ นเซตว่าง
ตอบ [2, ∞)
4𝑥 − 𝑎 ∙ 2𝑥 − 𝑎 + 3 ≤ 0
22𝑥 − 𝑎 ∙ 2𝑥 − 𝑎 + 3 ≤ 0
(2𝑥 )2 − 𝑎 ∙ 2𝑥 − 𝑎 + 3 ≤ 0
𝑘 2 − 𝑎𝑘 − 𝑎 + 3 ≤ 0
ให้ 𝑘 = 2𝑥

เนื่องจาก 2𝑥 > 0 ดังนันค


้ าตอบจะไม่เป็ นเซตว่าง เมื่อ มี 𝑘 > 0 ที่ทาให้ 𝑘 2 − 𝑎𝑘 − 𝑎 + 3 ≤ 0
ให้ 𝑦 = 𝑘 2 − 𝑎𝑘 − 𝑎 + 3 → ต้ องการค่า 𝑎 ที่จะมี 𝑘 > 0 ซึง่ ทาให้ 𝑦 ≤ 0
พิจารณากราฟ 𝑦 = 𝑘 2 − 𝑎𝑘 − 𝑎 + 3 บนระนาบ 𝑘 – 𝑦 จะได้ กราฟเป็ นพาราโบลาหงาย
𝑘 > 0 และ 𝑦 ≤ 0 จะหมายถึงจตุภาคที่ 4 รวมแกน 𝑘 ฝั่ งบวก
ดังนัน้ อสมการจะมีคาตอบ เมื่อกราฟ 𝑦 = 𝑘 2 − 𝑎𝑘 − 𝑎 + 3 ผ่านจตุภาคที่ 4 หรื อแกน 𝑘 ฝั่งบวก
𝑦 พาราโบลาหงาย จะผ่านจตุภาคที่ 4 หรื อแกน 𝑘 ฝั่งบวก เมื่อมีจดุ ตัดแกน 𝑘 อยูบ่ นแกน 𝑘 ฝั่งบวก
−(−𝑎)±√(−𝑎)2 −4(1)(−𝑎+3)
ใช้ สตู รคาตอบของสมการกาลังสอง จะได้ จดุ ตัดแกน 𝑘 อยูท่ ี่ 2
𝑘
𝑎 ± √𝑎 2+4𝑎−12
จุดนี ้ ต้ องอยูบ่ นแกน 𝑘 ฝั่งบวก =
2
𝑎−√𝑎2 +4𝑎−12 𝑎+√𝑎 2 +4𝑎−12
จะได้ จดุ ตัดฝั่งซ้ าย คือ 2
และจุดตัดฝั่งขวาคือ 2
𝑎+√𝑎2 +4𝑎−12
ดังนัน้ อสมการจะมีคาตอบ เมื่อจุดตัดฝั่งขวา 2
> 0
ในรูท ≥ 0 จะได้ 𝑎2 + 4𝑎 − 12 ≥ 0
(𝑎 + 6)(𝑎 − 2) ≥ 0
+ − +
→ 𝑎≥2 หรื อ 𝑎 ≤ −6
−6 2

กรณี 𝑎 ≥ 2 : กรณี 𝑎 ≤ −6 :
เนื่องจาก รูท ≥ 0 และ 𝑎 เป็ นบวก เนื่องจาก 𝑎 เป็ นลบ จะได้ −𝑎 เป็ นบวก
𝑎+√𝑎2 +4𝑎−12 𝑎 + √𝑎2 +4𝑎−12
อสมการ 2
> 0 จะเป็ นจริ งเสมอ 2
> 0
𝑎 2
+ √𝑎 + 4𝑎 − 12 > 0
กรณีนี ้ จะได้ คาตอบคือ [2, ∞)
√𝑎2+ 4𝑎 − 12 > −𝑎
𝑎2 + 4𝑎 − 12 > (−𝑎)2 −𝑎 เป็ นบวก
4𝑎 − 12 > 0
𝑎 > 3
ขัดแย้ งกับเงื่อนไข 𝑎 ≤ −6 → กรณีนี ้จะไม่มีคาตอบ
รวมทังสองกรณี
้ จะได้ อสมการมีคาตอบเมื่อ 𝑎 ∈ [2, ∞)
30 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

28. มีชายหญิงอยูจ่ านวนหนึง่ ถูกจัดให้ นงั่ ทานอาหารรอบโต๊ ะกลม โดยมีเงื่อนไขว่า


มีผ้ หู ญิง 3 คนที่มีผ้ ชู ายนัง่ ทางขวามือถัดจากตนเอง
มีผ้ ชู าย 1 คนที่มีผ้ ชู ายนัง่ ทางซ้ ายมือถัดจากตนเอง
มีผ้ หู ญิง 3 คนที่มีผ้ หู ญิงนัง่ ทางซ้ ายมือถัดจากตนเอง
จะมีวธิ ีในการจัดให้ ชายหญิงกลุม่ นี ้นัง่ รอบโต๊ ะกลมโดยสอดคล้ องเงื่อนไขข้ างต้ นทังหมดกี
้ ่วิธี
ตอบ (52) 4! 6! (2)
“มีผ้ หู ญิง 3 คนที่มีผ้ ชู ายนัง่ ทางขวามือถัดจากตนเอง” → จะวาดได้ ดงั รูป ญ ช
ช ญ
โดยที่ (1), (2), (3) อาจไม่มีคนนัง่ หรื อมีคนนัง่ กี่คนก็ได้ แต่จะมี ช อยูท่ างขวา ญ ไม่ได้ แล้ ว
(3) (1)
ดังนัน้ ใน (1), (2), (3) จะเป็ นไปได้ 2 แบบ คือ “มี ช อยูท่ างซ้ ายสุด” หรื อไม่ก็ “ไม่มี ช” ญช
เงื่อนไขถัดมา “มีผ้ ชู าย 1 คนที่มผี ้ ชู ายนัง่ ทางซ้ ายมือถัดจากตนเอง” → จะมี ช นัง่ ติดกันได้ แค่คเู่ ดียว
เนื่องจากทางซ้ ายของ (1), (2), (3) เป็ น ช ดังนัน้ ใน (1), (2), (3) จะ “มี ช อยูท่ างซ้ ายสุด” ได้ แค่ครัง้ เดียว
ที่เหลือต้ อง “ไม่มี ช” (2)
เช่นถ้ า (1) มี ช อยูท่ างซ้ ายสุด จะได้ ดงั รูป ญ ช
ช ญ
โดยที่ (A), (2), (3) ต้ อง “ไม่มี ช” (3) (A)
ญช ช
เงื่อนไขสุดท้ าย “มีผ้ หู ญิง 3 คนที่มีผ้ หู ญิงนัง่ ทางซ้ ายมือถัดจากตนเอง” → แสดงว่ามี ญ นัง่ ติดกันได้ แค่ 3 คู่
จะเห็นว่าทางขวาของ (A), (2), (3) เป็ น ญ ดังนัน้ การเพิ่ม ญ เข้ าไป 1 คน จะเกิดคู่ ญ ทีน่ งั่ ติดกันเพิ่มขึ ้น 1 คูเ่ สมอ
นัน่ คือ ต้ องเพิม่ ญ อีก 3 คน ถึงจะทาให้ เงื่อนไขสุดท้ ายเป็ นจริงได้
ดังนัน้ คนนัง่ จะต้ องเป็ น ช 4 คน และ ญ 6 คน โดยมีเงื่อนไขทังหมดจะเป็ ้ นจริ งเมื่อ มี ช 2 คนนัง่ ติดกัน
เอา ช 2 คน ตอกไม่ให้ วงหมุน และให้ ญ 6 คนมานัง่ ก่อน ดังรูป ญ ชช ญ
เหลือ ช 2 คน ห้ ามนัง่ ติดกัน → เลือก 2 ที่จาก 5 ที่ได้ (52) แบบ ญ ญ
ช 4 คน ญ 6 คน สลับตาแหน่งกันเองได้ 4! 6! แบบ
ญ ญ
จะได้ จานวนแบบทังหมด ้ = (52) 4! 6! แบบ

29. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่ทาให้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 1) มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์หรื อค่าต่าสุด
สัมพัทธ์
ตอบ 0 , 54 , 2
หาสูตรดิฟ 3 ตัวคูณกันได้ จากการแบ่งกลุม่ 𝑢𝑣𝑤 = 𝑢(𝑣𝑤)
(𝑢𝑣𝑤)′ = 𝑢′ (𝑣𝑤) + 𝑢(𝑣𝑤)′
= 𝑢′ 𝑣𝑤 + 𝑢(𝑣 ′ 𝑤 + 𝑣𝑤 ′ )
= 𝑢′ 𝑣𝑤 + 𝑢𝑣 ′ 𝑤 + 𝑢𝑣𝑤 ′
ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) = 4(𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)4 3(𝑥 + 1)2 (𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 1)3 (1)
= (𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)2 (4(𝑥 + 1)(𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)3(𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)(𝑥 + 1))
= (𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)2 ( 4𝑥 2 − 4 + 3𝑥 2 − 9𝑥 + 6 + 𝑥2 − 𝑥 − 2 )
3 2 2
(𝑥 − 2) (𝑥 + 1) ( 8𝑥 − 10𝑥 )
=
= (𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)2 (2𝑥)(4𝑥 − 5)

จุดสัมพัทธ์ คือจุดที่ 𝑓 ′(𝑥) เปลีย่ นเครื่องหมาย (จากบวกเป็ นลบ หรื อลบเป็ นบวก) ซึง่ จะเกิดเมื่อวงเล็บยกกาลังคีเ่ ป็ น 0
จะได้ จดุ สัมพัทธ์เกิดเมื่อ 𝑥 = 2 , 0 , 54
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 31

30. หนูทดลองตัวหนึง่ อยูใ่ นห้ องของกล่องทดลองเขาวงกตซึง่ มีช่องประตู 4 ช่อง มีหนึง่ ช่องของประตูที่มีทางเดินที่นาหนู


ไปสูท่ างออกภายนอกโดยหนูจะใช้ เวลาในการเดินทาง 9 วินาที ส่วนช่องประตูอีกสามช่องที่เหลือจะนาไปสูท่ างเดินที่
วกกลับมาที่ห้องเดิม โดยหนูจะใช้ เวลาในทางเดินเหล่านี ้เป็ นเวลา 3, 5 และ 7 วินาทีตามลาดับ และทุกครัง้ ที่หนู
กลับมาที่ห้องเดิมหนูจะสุม่ เข้ าช่องประตูอีกครัง้ โดยทีก่ ารสุม่ เลือกประตูแต่ละครัง้ จะไม่ขึ ้นกับการสุม่ เลือกช่องประตู
ในครัง้ ก่อนหน้ า จงหาความน่าจะเป็ นที่หนูจะใช้ เวลา 30 วินาทีในการเดินทางออกไปสูภ่ ายนอก
ตอบ 73748
30 − 9 = 21 → แสดงว่าหนูวนอยูท ่ ี่เดิม 21 วินาที ก่อนจะเลือกประตู 9 วินาที และออกจากห้ องได้
เขียน 21 เป็ นผลบวกของ 3, 5, 7 จะได้ 4 แบบ ดังนี ้
3+3+3+3+3+3+3 : คือหนูสม ุ่ ได้ ประตู 3 วินาที 7 ครัง้ ก่อนจะสุม่ ได้ ประตู 9 วินาทีในครัง้ สุดท้ าย
สมมติให้ ความน่าจะเป็ นที่หนูเลือกแต่ละประตู มีคา่ เท่ากัน = 14
7
จะได้ ความน่าจะเป็ นของกรณีนี ้ = (14) (14) = 418
7+7+7 : คือหนูสมุ่ ได้ ประตู 7 วินาที 3 ครัง้ ก่อนจะสุม่ ได้ ประตู 9 วินาทีในครัง้ สุดท้ าย
3
ทาแบบเดียวกับกรณีที่แล้ ว จะได้ ความน่าจะเป็ นของกรณีนี ้ = (14) (14) = 414
3+3+5+5+5 : คือหนูสมุ่ ได้ ประตู 3 วินาที 2 ครัง้ และประตู 5 วินาที 3 ครัง้ ก่อนสุม่ ได้ ประตู 9 วินาที
5!
จะเห็นว่าลาดับของประตู 3 วินาที กับประตู 5 วินาที สลับกันยังไงก็ได้ → ได้ 2!3! แบบ
5! 1 2 1 3 1 10
จะได้ ความน่าจะเป็ นของกรณีนี ้ = 2!3! ( )
4
( ) ( )
4 4
=
46
5!
3+3+3+5+7 : ลาดับของประตู สลับกันได้ 3! แบบ
3 1
จะได้ ความน่าจะเป็ นของกรณีนี ้ = 5!3! (14) 1 1
(4) (4) (4) =
20
46
รวมทุกกรณี จะได้ ความน่าจะเป็ น = 418 + 414 + 10
46
+ 6
20
4
1 1 10 20
= (44 ) (44 + 1 + 42 + 42 )
1 1 + 256 + 160 + 320 737
= (44 ) ( 44
) = 48

3
31. จงหาค่าของ lim
x
𝑥 2 (√𝑥 + 1 + √𝑥 − 1 − 2√𝑥)

ตอบ −0.25
3
𝑥 (√𝑥 + 1 + √𝑥 − 1 − 2√𝑥)
2
3
= 𝑥 2 ((√𝑥 + 1 − √𝑥) − (√𝑥 − √𝑥 − 1))
3
√𝑥+1+√𝑥 √𝑥+√𝑥−1
= 𝑥 2 ( (√𝑥 + 1 − √𝑥) ∙ − (√𝑥 − √𝑥 − 1) ∙ 𝑥+ 𝑥−1 )
√𝑥+1+√𝑥 √ √
3
𝑥+1 − 𝑥 𝑥 − (𝑥−1)
= 𝑥 2( − )
√𝑥+1+√𝑥 √𝑥+√𝑥−1
3
1 1
= 𝑥 2( − )
√𝑥+1+√𝑥 √𝑥+√𝑥−1
3
(√𝑥+√𝑥−1) − (√𝑥+1+√𝑥)
= 𝑥 2( )
(√𝑥+1+√𝑥)(√𝑥+√𝑥−1)
3
√𝑥−1 − √𝑥+1
= 𝑥 ( 2 )
(√𝑥+1+√𝑥)(√𝑥+√𝑥−1)
3
√𝑥−1 − √𝑥+1 √𝑥−1+√𝑥+1
= 𝑥 2( ∙ )
(√𝑥+1+√𝑥)(√𝑥+√𝑥−1) √𝑥−1+√𝑥+1
3
𝑥−1 − (𝑥+1)
= 𝑥 2( )
(√𝑥+1+√𝑥)(√𝑥+√𝑥−1)(√𝑥−1+√𝑥+1)
32 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

3
−2
= 𝑥 2( )
𝑥+1 𝑥−1 𝑥−1 𝑥+1
(√𝑥)(√ 𝑥 +1) (√𝑥)(1+√ 𝑥 ) (√𝑥)(√ 𝑥 +√ 𝑥 )
3
−2
= 𝑥 2( 3
)
1 1 1 1
(√𝑥) (√1+𝑥 + 1)(1+√1−𝑥)(√1−𝑥+√1+𝑥)

−2
=
1 1 1 1
(√1+𝑥 + 1)(1+√1−𝑥)(√1−𝑥+√1+𝑥)

−2 −2
เมื่อ 𝑥→∞ จะได้ คา่ ลิมติ =
(√1+0 + 1)(1 + √1−0)(√1−0 + √1+0)
=
8
= −0.25

4 1
32. จงหาผลรวมของค่า 𝑥 ทังหมดในช่
้ วง [0, 2𝜋] ซึง่ สอดคล้ องกับสมการ sec 𝑥 − 2 tan 𝑥

sec 𝑥 + tan 𝑥
= 3√3
13𝜋
ตอบ 6
4 1
− = 3√3
sec 𝑥 − 2 tan 𝑥 sec 𝑥 + tan 𝑥
4 1
1 2 sin 𝑥 − 1 sin 𝑥 = 3√3
− +
cos 𝑥 cos 𝑥 cos 𝑥 cos 𝑥
4 cos 𝑥 cos 𝑥
− = 3√3
1− 2 sin 𝑥 1 + sin 𝑥
4 cos 𝑥(1 + sin 𝑥)−cos 𝑥(1− 2 sin 𝑥)
(1− 2 sin 𝑥)(1 + sin 𝑥)
= 3√3
4 cos 𝑥+4 sin 𝑥 cos 𝑥−cos 𝑥+2 sin 𝑥 cos 𝑥
1−sin 𝑥−2 sin2 𝑥
= 3√3
3 cos 𝑥+6 sin 𝑥 cos 𝑥
= 3√3
1−sin 𝑥−2 sin2 𝑥
cos 𝑥+2 sin 𝑥 cos 𝑥
(1−2 sin2 𝑥)−sin 𝑥
= √3
cos 𝑥+sin 2𝑥
cos 2𝑥−sin 𝑥
= √3
cos 𝑥 + sin 2𝑥 = √3 cos 2𝑥 − √3 sin 𝑥
cos 𝑥 + √3 sin 𝑥 = √3 cos 2𝑥 − sin 2𝑥
1 √3 √3 1
2
cos 𝑥 + 2 sin 𝑥 = 2
cos 2𝑥 − 2 sin 2𝑥
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
cos 3 cos 𝑥 + sin 3 sin 𝑥 = cos 6 cos 2𝑥 − sin 6 sin 2𝑥
𝜋 𝜋
cos ( 3 − 𝑥) = cos ( 6 + 2𝑥)
𝜋 𝜋
6
+ 2𝑥 = 2𝑛𝜋 ± ( 3 − 𝑥)
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
6
+ 2𝑥 = 2𝑛𝜋 + ( 3 − 𝑥) 6
+ 2𝑥 = 2𝑛𝜋 − ( 3 − 𝑥)
𝜋 𝜋
3𝑥 = 2𝑛𝜋 + 6 𝑥 = 2𝑛𝜋 − 2
𝑥 =
2𝑛𝜋
3
𝜋
+ 18 แต่ 𝑥 ∈ [0, 2π] ดังนัน้ 𝑛 = 1
แต่ 𝑥 ∈ [0, 2π] ดังนัน้ 𝑛 = 0, 1, 2 จะได้ 𝑥 = 3𝜋 2
จะได้ 𝑥 = 18𝜋 2𝜋 𝜋 4𝜋
, 3 + 18 , 3 + 18
𝜋
แต่ใช้ ไม่ได้ เพราะ sec 3𝜋
2
ในสมการโจทย์จะหาค่าไม่ได้
𝜋 2𝜋 𝜋 4𝜋 𝜋 3𝜋 6𝜋 13𝜋
จะได้ ผลรวมของค่า 𝑥 คือ 18
+ 3 + 18 + 3
+ 18 = 18
+ 3
= 6
สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60) 33

33. จงหาค่า 𝑎>0 และ 𝑥>0 ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับระบบสมการ (ln 𝑎)𝑎 𝑥 = 1
𝑎𝑥 = 𝑥
1
ตอบ 𝑥=𝑒, 𝑎=𝑒 𝑒

(ln 𝑎)𝑎 𝑥 = 1 …(1)


𝑎𝑥 = 𝑥 …(2)
ใส่ ln ทังสองข้
้ าง
ln 𝑎 𝑥 = ln 𝑥
𝑥 ln 𝑎 = ln 𝑥
คูณ (2)
𝑎 𝑥 𝑥 ln 𝑎 = 𝑥 ln 𝑥
𝑥 = 𝑥 ln 𝑥
จาก (1)
÷ 𝑥 ทังสองข้
้ าง (โจทย์ให้ 𝑥 > 0 จึง ≠ 0)
1 = ln 𝑥
𝑥 = 𝑒 → แทนใน (2) : 𝑎𝑒 = 𝑒
1
𝑎 = 𝑒𝑒

34. กาหนดให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 5 × 5 ซึง่ 𝐴 , 𝐵 และ 𝐵−1 − 𝐴 เป็ นเมทริ กซ์ไม่เอกฐาน
จงหา (𝐴−1 + (𝐵−1 − 𝐴)−1 )−1 (ตอบในรูปของเมทริ กซ์ 𝐴 และ 𝐵 โดยไม่ใช้ เครื่ องหมายอินเวอร์ ส)
ตอบ 𝐴 − 𝐴𝐵𝐴
ให้ 𝑋 = (𝐴−1 + (𝐵−1 − 𝐴)−1 )−1 ดังนัน้
𝑋(𝐴−1 + (𝐵−1 − 𝐴)−1 ) = 𝐼 กระจาย 𝑋
𝑋𝐴−1 + 𝑋(𝐵−1 − 𝐴)−1 = 𝐼
คูณ 𝐵−1 − 𝐴 ทางขวาตลอด ให้ ตดั กับ (𝐵−1 − 𝐴)−1
𝑋𝐴−1 (𝐵−1 − 𝐴) + 𝑋 = 𝐵−1 − 𝐴
กระจาย 𝑋𝐴−1 (ตัวหลัง จะตัด 𝐴−1 กับ 𝐴 ได้
𝑋𝐴−1 𝐵−1 − 𝑋 + 𝑋 = 𝐵−1 − 𝐴
𝑋𝐴−1 𝐵−1 = 𝐵−1 − 𝐴
คูณ 𝐵 ทางขวาตลอด ให้ ตดั กับ 𝐵−1
𝑋𝐴−1 = 𝐼 − 𝐴𝐵
คูณ 𝐴 ทางขวาตลอด ให้ ตดั กับ 𝐴−1
𝑋 = 𝐴 − 𝐴𝐵𝐴
1 1 1
35. จงหาจานวนจริง 𝑥 ทังหมดที
้ ่สอดคล้ องกับสมการ 𝑥 − tan 20°
+ 𝑥 + tan 40° + 𝑥 − tan 80° = 0
ตอบ √3 ± 2
1 1 1
ให้ 𝑎 = tan 20° , 𝑏 = − tan 40° และ 𝑐 = tan 80° จะเขียนสมการใหม่ได้ เป็ น 𝑥−𝑎 + 𝑥−𝑏 + 𝑥−𝑐 = 0
คูณตลอดด้ วย (𝑥 − 𝑎)(𝑥 − 𝑏)(𝑥 − 𝑐) จะได้ สมการคือ
(𝑥 − 𝑏)(𝑥 − 𝑐) + (𝑥 − 𝑎)(𝑥 − 𝑐) + (𝑥 − 𝑎)(𝑥 − 𝑏) = 0
𝑥 2 − 𝑏𝑥 − 𝑐𝑥 + 𝑏𝑐 + 𝑥 2 − 𝑎𝑥 − 𝑐𝑥 + 𝑎𝑐 + 𝑥 2 − 𝑎𝑥 − 𝑏𝑥 + 𝑎𝑏 = 0
3𝑥 2 − 2𝑎𝑥 − 2𝑏𝑥 − 2𝑐𝑥 + 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑎𝑐 = 0
3𝑥 2 − 2(𝑎 + 𝑏 + 𝑐)𝑥 + (𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑎𝑐) = 0 …(∗)

ต้ องหา 𝑎+𝑏+𝑐 และ 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑎𝑐 มาแทนใน (∗)


𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = tan 20° − tan 40° + tan 80°
= tan 20° − tan(60° − 20°) + tan(60° + 20°)
tan 60°−tan 20° tan 60°+tan 20°
= tan 20° − 1+tan 60° tan 20° + 1−tan 60° tan 20°
−√3+tan 20° √3+tan 20°
= tan 20° + +
1+√3 tan 20° 1−√3 tan 20°
(−√3+tan 20°)(1−√3 tan 20°) + (1+√3 tan 20°)(√3+tan 20°)
= tan 20° +
(1+√3 tan 20°)(1−√3 tan 20°)
−√3+3 tan 20°+tan 20°−√3 tan2 20° + √3+tan 20°+3 tan 20°+√3 tan2 20°
= tan 20° +
1−3 tan2 20°
3 tan 20°+tan 20° +tan 20°+3 tan 20°
= tan 20° + 1−3 tan2 20°
34 สมาคม ม. ปลาย (พ.ย. 60)

8 tan 20°
= tan 20° +
1−3 tan2 20°
(tan 20°)(1−3 tan2 20°)+8 tan 20°
= 1−3 tan2 20°
tan 20°−3 tan3 20° + 8 tan 20°
= 1−3 tan2 20°
9 tan 20°−3 tan3 20°
= 1−3 tan2 20° 3 tan 𝐴−tan3 𝐴
tan 3𝐴 = 1−3 tan2 𝐴
3 tan 20°−tan3 20°
= 3( 1−3 tan2 20°
)
= 3 tan 3(20°) = 3 tan 60° = 3√3

𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑎𝑐 = − tan 20° tan 40° − tan 40° tan 80° + tan 20° tan 80°
= tan 20° (− tan 40° + tan 80°) − tan 40° tan 80° เคยหา − tan 40° + tan 80° แล้ ว
= tan 20° (
8 tan 20°
) − tan 40° tan 80° ตอนที่หา 𝑎 + 𝑏 + 𝑐
1−3 tan2 20°
8 tan2 20°
= 1−3 tan2 20°
− tan(60° − 20°) tan(60° + 20°)
8 tan2 20° √3−tan 20° √3+tan 20°
= 1−3 tan2 20°
− (1+ ) (1− )
√3 tan 20° √3 tan 20°
8 tan2 20° 3−tan2 20°
= −
1−3 tan2 20° 1−3 tan2 20°
8 tan2 20°−(3−tan2 20°)
= 1−3 tan2 20°
9 tan2 20°−3 3 tan2 20°−1
= = 3( ) = −3
1−3 tan2 20° 1−3 tan2 20°

แทนค่าที่หาได้ ใน (∗) จะได้ สมการคือ 3𝑥 2 − 2(3√3)𝑥 − 3 = 0


𝑥 2 − 2√3𝑥 − 1 = 0
2
2 −(−2√3)±√(2√3) −4(1)(−1)
ใช้ สตู ร −𝑏±√𝑏2𝑎 −4𝑎𝑐 จะได้ 𝑥= 2(1)
=
2√3±√16
2
= √3 ± 2

เครดิต
ขอบคุณ คุณ สนธยา เสนามนตรี สาหรับข้ อสอบครับ
ขอบคุณ คุณ Krittameth Pasiphol ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของโจทย์
ขอบคุณ คุณ Palagorn Pansamdang ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของเฉลย

You might also like