You are on page 1of 14

CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |1

แบบฝกหัดกลางภาค 206161 ชุดที 1


1. กําหนดจุด 𝑃 = (0,1,0), 𝑄 = (1,2,0), 𝑅 = (1,1,1)

1.1 จงหาสมการของเส้นตรง 𝐿 ทีผ่านจุด 𝑃 และ 𝑅

1.2 จงหาโพรเจคชันเวกเตอร์ของ 𝑃𝑄 บนเส้นตรง 𝐿

1.3 จงหาจุดบนเส้นตรง 𝐿 ทีอยู่ใกล้กับจุด 𝑄 มากทีสุด

2. กําหนดเส้นตรง 𝑟 (𝑡) = (1,0,0) + (1,2,0)𝑡 และ 𝑟 (𝑡) = (1,0,0) + (1,1,1)𝑡

จงหาสมการระนาบทีบรรจุเส้นตรง 𝑟 (𝑡) และ 𝑟 (𝑡) นี


CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |2


𝑥+7 , 𝑥>2
3.กําหนดให้ f(x) =
|𝑥 − 2𝑥 − 3| , 𝑥≤2
𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2)
3.1 จงหา lim −
→ ∆𝑥

𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2)


3.2 จงหา lim +
→ ∆𝑥

3.3 จงหาว่า 𝑓′(2) หาค่าได้หรือไม่ เพราะเหตุใด


CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |3

4. จงหาอนุพันธ์ของฟงก์ชน
ั ต่อไปนี
𝜋
4.1) 𝑦 = 5𝑥− + 7 arcsin − 𝜋sec (𝑥)
3


4.2) 𝑦 = 𝑥 arccos 𝑥+4

log (𝑥 + 1)
4.3) 𝑦 =
sin (3𝑥 + 1)

𝑥
4.4) 𝑦 = 𝑒 − tan
2


+ 1
4.5) 𝑦 = 6 +
ln (𝑥)

5. จงหาสมการเส้นสัมผัสกราฟทีมีความชันเท่ากับ 4 ของเส้นโค้ง 𝑦 = 4𝑥 + 5
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |4

6.ให้ y (หน่วยเปนเมตร) เปนความสูงของระดับนําในเขือนหลังจากทีปล่อยนําออกมาในเวลา t (หน่วยเปนชัวโมง) ซึงกําหนดโดย


สมการ 𝑦 = 50 + 𝑡 − 𝑡 จงหาอัตราการเปลียนแปลงความสูงของระดับนําในเขือนเมือเวลา 𝑡 = 2

1
7. กําหนดให้ 𝑦 = √ + 𝑥 จงเติมคําตอบทีถูกต้องลงในช่องว่างต่อไปนี
2𝑥 + 1

7.1 𝑓 (𝑥) =
7.2 𝑓 (𝑥) =

7.3 𝑓 ( ) (𝑥) =

7.4 𝑓 ( ) (𝑥) =

𝑑𝑦
8. กําหนดให้ 𝑥 + 3𝑥𝑦 + 1 = 𝑒( + )
จงหา ที 𝑥 = 0, 𝑦 = 0
𝑑𝑥

( )
𝑥 cos (𝑥)
9. จงหาอนุพันธ์ของฟงก์ชน
ั 𝑦= โดยใช้สมบัติของลอการิทึมธรรมชาติ
(𝑥 + 1)
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |5

10. เปดนําใส่พิระมิดฐานสามเหลียมมุมฉากทีมีดา้ นประกอบมุมฉากยาวเท่ากันด้านละ 40 ฟุ ต ดังรูป ถ้าอัตราการเพิมขึน


1
ของความสูงของระดับนําเปน ฟุ ต/นาที จงหาอัตราการเปลียนแปลงของปริมาตรนํา ขณะทีนําสูง 25 ฟุต
5
1
(ปริมาตรพิระมิด = × พืนทีฐาน × ความสูง)
3

11. ให้ 𝑓 เปนฟงก์ชน


ั ทีหาอนุพน
ั ธ์ได้ทีทุกจุดใน ℝ โดยที 𝑓(𝑥) > 0 ทุก 𝑥 ∈ ℝ และ 𝑓 (𝑥) = 0 เมือ 𝑥 = 0,3,7

ถ้า 𝑓 เปนฟงก์ชน
ั เพิมบนช่วง (−∞, 0) ∪ (3,7) ∪ (7, ∞) และ 𝑓 เปนฟงก์ชน
ั ลดบนช่วง (0,3)

กําหนดให้ 𝑔(𝑥) = ln 𝑓(𝑥) แล้ว

11.1 จงแสดงวิธห
ี าจุดวิกฤตทังหมดของ 𝑔(𝑥)

11.2 ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑔(𝑥)เกิดที 𝑥 =

11.3 ค่าตําสุดสัมพัทธ์ของ 𝑔 เกิดที 𝑥 =

11.4 จุดวิกฤตของ 𝑔 ทีไม่ให้ทังค่าสูงสุดและค่าตําสุดสัมพัทธ์คือจุด 𝑥 =

12. จงหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ค่าตําสุดสัมพัทธ์(ถ้ามี)ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥( ⁄ )


(4 − 𝑥)
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |6

13. วัดด้านลูกบาศก์ลูกหนึงได้ 6 เซนติเมตร และทราบว่าค่าผิดพลาดจากการวัดเปน ± 0.1 เซนติเมตร

จงใช้ดิฟเฟอเรนเชียลหาค่าประมาณของ

13.1 ค่าผิดพลาดในการคํานวณปริมาตรของลูกบาศก์นี

13.2 ค่าผิดพลาดร้อยละในการคํานวณปริมาตรของลูกบาศก์นี

14. จงใช้การประมาณเชิงเส้นประมาณค่า 9 cos(92°) กําหนดให้ 𝜋 = 3.14 (ตอบเปนทศนิยม 2 ตําแหน่ง)


CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |7

15. จงประมาณค่า arctan(0.1) ด้วยพหุนามแมคลอริน ดีกรี 3 ของฟงก์ชน


ั 𝑓(𝑥) = arctan (𝑥)
𝑓(0) = arctan(0) = 0

16. จงหาลิมิตต่อไปนี(เติมเฉพาะคําตอบ)
−𝑥
16.1 lim + =
→− 𝑥 + 1

𝑥
16.2 lim =
→ 𝑥 +1

𝑥
16.3 lim =
→− 𝑥+1

17. จงหาลิมิตต่อไปนีโดยใช้กฎของโลปตาล
𝑥 +𝑒
17.1 lim =
→ 2𝑥 + 𝑒

17.2 lim−(1 + 𝑥) =

จบแบบฝกหัดชุดที 1
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |1

แบบฝกหัดกลางภาค ชุดที 1
1. กําหนดจุด 𝑃 = (0,1,0), 𝑄 = (1,2,0), 𝑅 = (1,1,1)

1.1 จงหาสมการของเส้นตรง 𝐿 ทีผ่านจุด 𝑃 และ 𝑅

จากสมการพาราเมตริกส์จะได้ 𝑟⃑(𝑡) = 𝑢⃑ + 𝑣⃑𝑡


𝑄(1,2,0)
∴ 𝑟⃑(𝑡) = 𝑂𝑃 + 𝑃𝑅𝑡
= 〈0 − 0,1 − 0,0 − 0〉 + 〈1 − 0,1 − 1,1 − 0〉𝑡

𝑃 (0,1,0) 𝑃𝑟𝑜𝑗 𝑃𝑄 𝑅(1,1,1) 𝐿 ∴ 𝑟⃑(𝑡) = 〈0,1,0〉 + 〈1,0,1〉𝑡


𝐷(𝑥, 𝑦, 𝑧)

𝑟⃑(𝑡)

𝑂(0,0,0)
1.2 จงหาโพรเจคชันเวกเตอร์ของ 𝑃𝑄 บนเส้นตรง 𝐿

𝑃𝑄 ⋅ 𝑃𝑅 〈1 − 0,2 − 1,0 − 0〉 ⋅ 〈1,0,1〉 〈1,1,0〉 ⋅ 〈1,0,1〉


𝑃𝑟𝑜𝑗 𝑃𝑄 = 𝑃𝑅 = √ 〈1,0,1〉 = √ 〈1,0,1〉
𝑃𝑅 1 +0 +1 1 +0 +1

(1)(1) + (1)(0) + 0(1) 1 1 1


∴ 𝑃𝑟𝑜𝑗 𝑃𝑄 = 〈1,0,1〉 = 〈1,0,1〉 = , 0,
2 2 2 2

1.3 จงหาจุดบนเส้นตรง 𝐿 ทีอยู่ใกล้กับจุด 𝑄 มากทีสุด

จุดทีอยู่ใกล้มากทีสุด คือ จุดทีทําให้เกิดแนวตังฉากกับเส้นตรง 𝐿 นันเอง ซึงก็คือจุด 𝐷 ดังรูปด้านบน

จากข้อ 1.1 และ 1.2 จะเห็นได้วา่ เวกเตอร์ 𝑣⃑𝑡 นันมีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑃𝑟𝑜𝑗 𝑃𝑄 ดังนัน 𝑃𝑟𝑜𝑗 𝑃𝑄 = 𝑣⃑𝑡
1 1
, 0, = 〈1,0,1〉𝑡
2 2
เรามาพิจารณาส่วนนีกันตามความหมายของเวกเตอร์ทขนานกั
ี น ดังนัน สัมประสิทธิทีอยู่ด้านหน้าของเวกเตอร์ คือ
สเกลาร์ไม่ใช่ทิศทางของเวกเตอร์ ดังนันเราจะพยายามจัดรูปใหม่ได้
1 1 1
〈1,0,1〉 = 𝑡〈1,0,1〉 ∴ 𝑡 = แล้ว 𝑡 ทีเราได้มานีเกียวข้องกับจุด 𝐷 ยังไง นันก็คือ 𝑡 = ทําให้เกิดเวกเตอร์ 𝑃𝐷
2 2 2
1
ดังนันเราจึงระบุวา่ จุด 𝐷 คือจุดอะไรได้ โดยที 𝑃𝐷 = 〈𝑥 − 0, 𝑦 − 1, 𝑧 − 0〉 = 𝑣⃑𝑡 = 〈1,0,1〉
2
1 1 1 1 1 1
∴ 〈𝑥, 𝑦 − 1, 𝑧〉 = , 0, จะได้วา่ 𝑥 = , 𝑦 − 1 = 0 หรือ 𝑦 = 1 , 𝑧 = หรือ 𝐷(𝑥, 𝑦, 𝑧) = , 1,
2 2 2 2 2 2

2. กําหนดเส้นตรง 𝑟 (𝑡) = (1,0,0) + (1,2,0)𝑡 และ 𝑟 (𝑡) = (1,0,0) + (1,1,1)𝑡

จงหาสมการระนาบทีบรรจุเส้นตรง 𝑟 (𝑡) และ 𝑟 (𝑡) นี

1. ก่อนทําข้อนีเราจะเห็นว่าสัญลักษณ์ของ 𝑟(𝑡) จะดูแปลกตา ซึงจริงๆแล้วก็คอ


ื เวกเตอร์ แต่เปนการเขียนเพือทดสอบว่าเราแน่น

เรืองเวกเตอร์หรือไม่ ถ้ามีลักษณะ 𝑟(𝑡) = 𝑢 + 𝑣𝑡 ถึงแม้จะไม่เขียนสัญลักษณ์เวกเตอร์ ก็ให้รก


ู ้ ันว่าเปนเวกเตอร์ครับ

2. สังเกตทัง 𝑟 (𝑡) และ 𝑟 (𝑡) จะมี 𝑢 เริมทีจุดเดียวกัน คือ 〈1,0,0〉 นันหมายความว่า ทังสองเวกเตอร์ตัดกันนันเอง
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |2
𝐿
𝐿 𝚤 ⃑̇ 𝚥 ⃑̇ 𝑘⃑ 𝚤 ⃑̇ 𝚥 ⃑̇
𝑛⃑ 𝑛⃑ = 〈1,1,1〉 × 〈1,2,0〉 = 1 1 1 1 1
〈1,2,0〉𝑡 1 2 0 1 2
〈1,1,1〉𝑡
= (0)𝚤̇⃑ + 𝚥 ̇⃑ + 2𝑘⃑ − 𝑘⃑ − 2𝚤̇⃑ − (0)𝚥 ̇⃑ = 〈−2,1,1〉

𝑃 (1,0,0)
จากสมการระนาบ 𝑎(𝑥 − 𝑥 ) + 𝑏(𝑦 − 𝑦 ) + 𝑐(𝑧 − 𝑧 ) = 0

∴ (−2)(𝑥 − 1) + (1)(𝑦 − 0) + (1)(𝑧 − 0) = −2𝑥 + 𝑦 + 𝑧 = 2


x+7 , x>2
3.กําหนดให้ f(x) =
|x − 2x − 3| , x ≤ 2
𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2)
3.1 จงหา lim −
→ ∆𝑥
พิจารณา 2 + ∆𝑥 จะมีความหมายคือ 2 + 0− = 2− ดังนันเราจะใช้ชว่ งที 𝑥 ≤ 2 ในการหาลิมิต
และในช่วง 2− ฟงก์ชน
ั |x − 2x − 3| จะมีรูปร่างเหมือนกับ − (𝑥 − 2𝑥 − 3)

∴ 𝑓(2 + ∆𝑥) = −((2 + ∆𝑥) − 2(2 + ∆𝑥) − 3) = −4 − 4∆𝑥 − (∆𝑥) + 4 + 2∆𝑥 + 3 = −(∆𝑥) − 2∆𝑥 + 3

พิจารณาส่วน 𝑓(2) = |(2) − 2(2) − 3| = |4 − 4 − 3| = 3

𝑓 (2 + ∆𝑥) − 𝑓(2) −(∆𝑥) − 2∆𝑥 + 3 − 3


∴ lim − = lim − = lim −(−∆𝑥 − 2) = −2
→ ∆𝑥 → ∆𝑥 →

𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2)


3.2 จงหา lim +
→ ∆𝑥
พิจารณา 2 + ∆𝑥 จะมีความหมายคือ 2 + 0+ = 2+ ดังนันเราจะใช้ชว่ งที 𝑥 > 2 ในการหาลิมิต

∴ 𝑓(2 + ∆𝑥) = (2 + ∆𝑥) + 7 = 9 + ∆𝑥 (𝑎 − 𝑏)(𝑎 + 𝑏) = 𝑎 − 𝑏
√ √ √
𝑓 (2 + ∆𝑥) − 𝑓(2) 9 + ∆𝑥 − 3 0 9 + ∆𝑥 − 3 9 + ∆𝑥 + 3
∴ lim + = lim + = จัดรูปจะได้ lim + ×√
→ ∆𝑥 → ∆𝑥 0 → ∆𝑥 9 + ∆𝑥 + 3
9 + ∆𝑥 − 9 1 1 1
lim + √ = lim + √ =√ =
→ ∆𝑥 9 + ∆𝑥 + 3 → 9 + ∆𝑥 + 3 9+3 6

3.3 จงหาว่า 𝑓′(2) หาค่าได้หรือไม่ เพราะเหตุใด


𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2) 𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2) 1
หาค่าไม่ได้ เพราะ lim − = −2 และ lim + = ซึง
→ ∆𝑥 → ∆𝑥 6
𝑓(2 + ∆𝑥) − 𝑓(2)
นิยามของ 𝑓 (2) = lim โดยทีลิมิตซ้ายต้องเท่ากับลิมิตขวา แต่ลิมิตทีหาค่าได้ข้างต้นมาค่าเท่ากัน
→ ∆𝑥
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |3

4. จงหาอนุพันธ์ของฟงก์ชน
ั ต่อไปนี
𝜋
4.1) 𝑦 = 5𝑥− + 7 arcsin − 𝜋sec (𝑥)
3
𝑑𝑦 4 −
=5 − 𝑥 + 0 − 𝜋 sec(𝑥) tan(𝑥) = −4𝑥− − 𝜋 sec(𝑥) tan(𝑥)
𝑑𝑥 5

4.2) 𝑦 = 𝑥 arccos 𝑥 + 4
𝑑𝑦 𝑑 √ √ 𝑑
=𝑥 cos− 𝑥+4 + cos− 𝑥+4 (𝑥 )
𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥

𝑑𝑦 1 𝑑 √ √
=𝑥 ⎡
⎢− √ 𝑥+4 ⎤
⎥ + 3𝑥 cos− 𝑥+4
𝑑𝑥 1− 𝑥+4 𝑑𝑥
⎣ ⎦
1 𝑥−
𝑑𝑦
= −𝑥 ⎡ 2 ⎤ + 3𝑥 cos− √𝑥 + 4 = − 𝑥
+ 3𝑥 cos−

𝑥+4
𝑑𝑥 ⎢ √ ⎥ √
⎣ 1− 𝑥+4 ⎦ 2 1− 𝑥+4

log (𝑥 + 1)
4.3) 𝑦 =
sin (3𝑥 + 1)
𝑑 𝑑
𝑑𝑦 sin(3𝑥 + 1) 𝑑𝑥 (log (𝑥 + 1)) − log (𝑥 + 1) 𝑑𝑥 (sin (3𝑥 + 1))
=
𝑑𝑥 (sin (3𝑥 + 1))
1 1
𝑑𝑦 sin(3𝑥 + 1) 𝑥 + 1 ⋅ ln 4 (2𝑥) − log (𝑥 + 1) [3 cos(3𝑥 + 1)]
=
𝑑𝑥 sin (3𝑥 + 1)
𝑥
4.4) 𝑦 = 𝑒 − tan
2
𝑑𝑦 𝑥 𝑑 𝑥 𝑥 𝑥 𝑑 𝑥
=3 𝑒 − tan 𝑒 − tan =3 𝑒 − tan 2𝑒 − sec
𝑑𝑥 2 𝑑𝑥 2 2 2 𝑑𝑥 2
𝑑𝑦 1 𝑥 𝑥
= 3 2𝑒 − sec 𝑒 − tan
𝑑𝑥 2 2 2

+ 1
4.5) 𝑦 = 6 +
ln (𝑥)

+ )
𝑦 = 6( + (ln 𝑥)−
𝑑𝑦 + ) 𝑑 𝑑
= 6( ln 6 (3𝑥 + 5) − (ln 𝑥)− (ln 𝑥)
𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥

𝑑𝑦 1 1 3 6( + ) ln 6 1
= 6( + )
ln 6 (3𝑥 + 5)− (3) − (ln 𝑥)− = √ −
𝑑𝑥 2 𝑥 2 3𝑥 + 5 𝑥 ln 𝑥

5. จงหาสมการเส้นสัมผัสกราฟทีมีความชันเท่ากับ 4 ของเส้นโค้ง 𝑦 = 4𝑥 + 5
1
อนุพันธ์ของเส้นโค้งจะมีค่าเท่ากับความชัน ณ จุดใดๆของเส้นสัมผัสเส้นโคเงนัน นันคือ 𝑦 = 8𝑥 = 4 ∴ 𝑥 = นําไปแทน
2
1 1
𝑦=4 + 5 = 6 ดังนันจุดทีมีความชันเท่ากับ 4 คือจุด (𝑥, 𝑦) = ,6 จากสมการเส้นสัมผัสกราฟซึงเปนเส้นตรงจะได้
2 2
1
𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 หรือ 6 = 4 + 𝑐 จะได้ 𝑐 = 4 ดังนันสมการเส้นสัมผัสนีมีสมการเปน 𝑦 = 4𝑥 + 4
2
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |4

6.ให้ y (หน่วยเปนเมตร) เปนความสูงของระดับนําในเขือนหลังจากทีปล่อยนําออกมาในเวลา t (หน่วยเปนชัวโมง) ซึงกําหนดโดย


สมการ 𝑦 = 50 + 𝑡 − 𝑡 จงหาอัตราการเปลียนแปลงความสูงของระดับนําในเขือนเมือเวลา 𝑡 = 2

𝑑𝑦 𝑑𝑦
= 1 − 2𝑡 ดังนัน = 1 − 2(2) = 1 − 4 = −3 เมตร⁄ชัวโมง
𝑑𝑡 𝑑𝑡 =

1
7. กําหนดให้ 𝑦 = √ + 𝑥 จงเติมคําตอบทีถูกต้องลงในช่องว่างต่อไปนี
2𝑥 + 1

𝑦 = (2𝑥 + 1)− ⁄
+𝑥
1
7.1 𝑓 (𝑥) = − (2𝑥 + 1)− (2) + 5𝑥
2
1 3
7.2 𝑓 (𝑥) = (2𝑥 + 1)− (2) + 20𝑥
2 2
1 3 5
7.3 𝑓 ( ) (𝑥) = − (2𝑥 + 1)− (2) + 60𝑥 = −1 ⋅ 3 ⋅ 5(2𝑥 + 1)− + 60𝑥
2 2 2

7.4 𝑓 ( ) (𝑥) = 1 ⋅ 3 ⋅ 5 ⋅ 7 ⋅ 9 ⋅ 11(2𝑥 + 1)−


𝑑𝑦
8. กําหนดให้ 𝑥 + 3𝑥𝑦 + 1 = 𝑒( + )
จงหา ที 𝑥 = 0, 𝑦 = 0
𝑑𝑥
𝑑 𝑑 𝑑𝑦 𝑑𝑥 𝑑𝑦 𝑑𝑦
(𝑥 + 3𝑥𝑦 + 1) = (𝑒 +
) จะได้ 2𝑥 + 3𝑥 + 3𝑦 = 𝑒 +
+ =𝑒 +
+𝑒 +
ทําการจัดรูป
𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥
𝑑𝑦 + 𝑑𝑦 +
3𝑥 −𝑒 =𝑒 − 2𝑥 − 2𝑦
𝑑𝑥 𝑑𝑥
+ 𝑑𝑦 +
[3𝑥 − 𝑒 ] =𝑒 − 2𝑥 − 2𝑦
𝑑𝑥
+
𝑑𝑦 𝑒 − 2𝑥 − 2𝑦 𝑑𝑦 𝑒 − (0) − (0) 1
∴ = ดังนัน = = = −1
𝑑𝑥 3𝑥 − 𝑒 + 𝑑𝑥 ( )=( ) (0) − 𝑒 −1

( )
𝑥 cos (𝑥)
9. จงหาอนุพันธ์ของฟงก์ชน
ั 𝑦= โดยใช้สมบัติของลอการิทึมธรรมชาติ
(𝑥 + 1)
( )
𝑥 cos (𝑥) ( ) ( )
ln 𝑦 = ln = ln 𝑥 cos (𝑥) − ln[(𝑥 + 1) ] = ln 𝑥 + ln(cos 𝑥) − 3 ln(𝑥 + 1)
(𝑥 + 1)

∴ ln 𝑦 = ln(3𝑥) ln 𝑥 + ln(cos 𝑥) − 3 ln(𝑥 + 1) หลังจากนันทําการหาอนุพันธ์ทังสองข้างจะได้เปน


1 𝑑𝑦 𝑑 𝑑 1 𝑑 3 𝑑
= ln(3𝑥) (ln 𝑥) + ln 𝑥 (ln(3𝑥)) + (cos 𝑥) − (𝑥 + 1)
𝑦 𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥 cos 𝑥 𝑑𝑥 𝑥 + 1 𝑑𝑥
1 𝑑𝑦 1 3 sin 𝑥 6𝑥
= ln(3𝑥) + ln 𝑥 − −
𝑦 𝑑𝑥 𝑥 3𝑥 cos 𝑥 𝑥 + 1
𝑑𝑦 ln(3𝑥) ln 𝑥 6𝑥
=𝑦 + − tan 𝑥 −
𝑑𝑥 𝑥 𝑥 𝑥 +1
𝑑𝑦 𝑥 ( ) cos (𝑥) ln(3𝑥) + ln 𝑥 6𝑥
∴ = − tan 𝑥 −
𝑑𝑥 (𝑥 + 1) 𝑥 𝑥 +1
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |5

10. เปดนําใส่พิระมิดฐานสามเหลียมมุมฉากทีมีด้านประกอบมุมฉากยาวเท่ากันด้านละ 40 ฟุ ต ดังรูป ถ้าอัตราการเพิมขึน


1
ของความสูงของระดับนําเปน ฟุต/นาที จงหาอัตราการเปลียนแปลงของปริมาตรนํา ขณะทีนําสูง 25 ฟุต
5
1
(ปริมาตรพิระมิด = × พืนทีฐาน × ความสูง) ถึงแม้โจทย์จะระบุความสูงพิรด ิ เปน 50 ฟุต
3
40 แต่ไม่ใช่ระดับนําทีเราสนใจ ดังนัน 50 ฟุตไม่เกียวข้อง
1 1 1
40 จาก 𝑉 = × × ฐาน × สูง × 𝑦 = (40)(40)𝑦
3 2 6
800 𝑑𝑉 800 𝑑𝑦 800 1 160
𝑉 = 𝑦 ∴ = = =
3 𝑑𝑡 3 𝑑𝑡 3 5 3
พืนทีฐาน
𝑑𝑉 160
𝑇𝑜𝑝 𝑣𝑖𝑒𝑤 = ลูกบาศก์ฟุต⁄นาที คงที ถึงแม้ 𝑦 = 25 ฟุต
𝑑𝑡 3

11. ให้ 𝑓 เปนฟงก์ชน


ั ทีหาอนุพันธ์ได้ทีทุกจุดใน ℝ โดยที 𝑓(𝑥) > 0 ทุก 𝑥 ∈ ℝ และ 𝑓 (𝑥) = 0 เมือ 𝑥 = 0,3,7

ถ้า 𝑓 เปนฟงก์ชน
ั เพิมบนช่วง (−∞, 0) ∪ (3,7) ∪ (7, ∞) และ 𝑓 เปนฟงก์ชน
ั ลดบนช่วง (0,3)

กําหนดให้ 𝑔(𝑥) = ln 𝑓(𝑥) แล้ว

11.1 จงแสดงวิธห
ี าจุดวิกฤตทังหมดของ 𝑔(𝑥)
1
𝑔 (𝑥) = ⋅ 𝑓 (𝑥) = 0 ∴ จะเห็นว่า 𝑔 (𝑥)จะเท่ากับ 0 เมือ 𝑓 (𝑥) = 0 เพราะ 𝑓(𝑥) > 0 เสมอ แล้วจุดที 𝑓 (𝑥) = 0
𝑓(𝑥)

ทีทําให้ 𝑔 (𝑥) = 0 ด้วยนัน ก็คอ


ื จุดที 𝑥 = 0,3,7 ตามทีโจทย์บอกมาตังแต่แรก
𝑥=0
11.2 ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑔(𝑥)เกิดที 𝑥 = 0

สังเกตุจากช่วงที 𝑓 เปนฟงก์ชน
ั เพิมบนช่วง (−∞, 0) แล้วเกิดฟงก์ชน
ั ลดในช่วง (0,3)

หมายความว่า ที 𝑥 = 0 กําลังโค้งลง

11.3 ค่าตําสุดสัมพัทธ์ของ 𝑔 เกิดที 𝑥 = 3

สังเกตุจากช่วงที 𝑓 เปนฟงก์ชน
ั ลดบนช่วง (0,3) แล้วเกิดฟงก์ชน
ั เพิมในช่วง (3,7)

หมายความว่า ที 𝑥 = 3 กําลังโค้งขึน
𝑥=3

11.4 จุดวิกฤตของ 𝑔 ทีไม่ให้ทงค่


ั าสูงสุดและค่าตําสุดสัมพัทธ์คือจุด 𝑥 = 7

12. จงหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ค่าตําสุดสัมพัทธ์(ถ้ามี)ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥( ⁄ )


(4 − 𝑥)

1 − 1 (4 − 𝑥)
𝑓 (𝑥) = 𝑥 [5(4 − 𝑥) (−1)] + (4 − 𝑥) 𝑥 = −5𝑥 (4 − 𝑥) + = 0 ทําการแก้สมการ โดยที 𝑥 ≠ 0
3 3 𝑥

−15𝑥 ⋅ 𝑥 (4 − 𝑥) + (4 − 𝑥) = 0 → (4 − 𝑥) −15𝑥 + (4 − 𝑥) = 0 ∗∗∗ (4 − 𝑥) = [−(𝑥 − 4)] = (𝑥 − 4)

∴ (𝑥 − 4) (−16𝑥 + 4) = 0
4 1
ดังนันจุดวิกฤต คือ จุดที 𝑥 = 4, = ,4
16 4
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |6

1 (4 − 𝑥)
จาก 𝑓 (𝑥) = −5𝑥 (4 − 𝑥) +
3 𝑥

2 −
5 1 ⎡𝑥 5(4 − 𝑥) (−1) − (4 − 𝑥) 3 𝑥 ⎤
𝑓 (𝑥) = −5𝑥 [4(4 − 𝑥) (−1)] + (4 − 𝑥) − 𝑥− + ⎢ ⎥
3 3
⎣ 𝑥 ⎦
5 (4 − 𝑥) 1 2
= 20𝑥 (4 − 𝑥) − + −5𝑥 (4 − 𝑥) − (4 − 𝑥) 𝑥− 𝑥−
3 𝑥 3 3

𝑓 (4) = 0 + 0 + 0 = 0 แสดงว่า 𝑥 = 4 เปนจุดเปลียนโค้งไม่ใช่จุดสูงสุดหรือจุดตําสุดสัมพัทธ์

1 1 15 5 (15⁄4) 1 2
𝑓 = 20 − + −5(1⁄4) ⁄
(15⁄4) − (15⁄4) (1⁄4)− ⁄
(1⁄4)− ⁄
4 4 4 3 (1⁄4) ⁄ 3 3

พจน์นีลบทังก้อนแน่นอน

1 15 5 (15⁄4) 15 1 5 15 1 15 1 1
พิจารณา 20 − = 20 − = 20 − 25 <0
4 4 3 (1⁄4) ⁄ 4 4 3 4 4 4 4 4

1 1
∴𝑓 < 0 แน่นอน ดังนัน 𝑥 = เปนจุดสูงสุดสัมพัทธ์
4 4

13. วัดด้านลูกบาศก์ลูกหนึงได้ 6 เซนติเมตร และทราบว่าค่าผิดพลาดจากการวัดเปน ± 0.1 เซนติเมตร

จงใช้ดิฟเฟอเรนเชียลหาค่าประมาณของ

13.1 ค่าผิดพลาดในการคํานวณปริมาตรของลูกบาศก์นี

ปริมาตรของลฃูกบาศก์เขียนสมการได้เปน 𝑉 = 𝑥 ∴ 𝑑𝑉 = 3𝑥 𝑑𝑥

ค่าผิดพลาดของปริมาตร คือ 𝑑𝑉 = 3(6) (0.1) = 10.8 ลูกบาศก์เซนติเมตร

13.2 ค่าผิดพลาดร้อยละในการคํานวณปริมาตรของลูกบาศก์นี

𝑑𝑉 3𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥 0.1
× 100 = × 100 = 3 × 100 = 3 × 100 = 5 %
𝑉 𝑥 𝑥 6

14. จงใช้การประมาณเชิงเส้นประมาณค่า 9 cos(92°) กําหนดให้ 𝜋 = 3.14 (ตอบเปนทศนิยม 2 ตําแหน่ง)


𝜋 𝜋 เทียบบัญญัตไิ ตรยางค์ 180° คือ 𝜋
𝑓(𝑥) = cos 𝑥 , 𝑓 (𝑥) = − sin 𝑥 , 𝑥 = และ ∆𝑥 =
2 90
2
𝜋 𝜋 𝜋 ดังนันจะได้วา่ 2° คือ 𝜋 ×
cos(92°) ≈ cos − sin 180
2 2 90
𝜋 𝜋
= 0 − (1) =−
90 90
𝜋 𝜋
∴ 9 cos(92°) = 9 − = − = −0.314
90 10
CalculusA for Engineering 1 midterm shortcut |7

15. จงประมาณค่า arctan(0.1) ด้วยพหุนามแมคลอริน ดีกรี 3 ของฟงก์ชน


ั 𝑓(𝑥) = arctan (𝑥)
𝑓(0) = arctan(0) = 0
1
𝑓 (𝑥) = = (1 + 𝑥 )− ; 𝑓 (0) = (1 + 0)− = 1
1+𝑥
𝑓 (𝑥) = −(1 + 𝑥 )− (2𝑥) ; 𝑓 (0) = 0

𝑓 ( ) (𝑥) = −(1 + 𝑥 )− (2) + (2𝑥)(2)(1 + 𝑥 )− (2𝑥) ; 𝑓 ( ) (0) = −2


𝑓′′(0) 𝑓 (0) 2 1
∴ arctan(𝑥) = 𝑓(0) + 𝑓 (0)𝑥 + 𝑥 + 𝑥 =𝑥− 𝑥 =𝑥− 𝑥
2! 3! 3! 3
1
∴ arctan(0.1) = (0.1) − (0.1) = 0.0997
3

16. จงหาลิมิตต่อไปนี(เติมเฉพาะคําตอบ)
−𝑥 1
16.1 lim + = + = +∞
→− 𝑥+1 0

𝑥 1
16.2 lim = lim 𝑥 = 0 =0
→ 𝑥 +1 →
1+ 1 1+0
𝑥
𝑥
16.3 lim = −∞
→− 𝑥+1

17. จงหาลิมิตต่อไปนีโดยใช้กฎของโลปตาล
𝑥 +𝑒 ∞
17.1 lim = โลปตาล
→ 2𝑥 + 𝑒 ∞
2𝑥 + 𝑒 ∞ 2+𝑒 ∞
lim = โลปตาลอีกครัง lim =
→ 2 + 3𝑒 ∞ → 9𝑒 ∞
𝑒𝑥 1 1
∴ lim = lim = =0
𝑥→∞ 27𝑒3𝑥 𝑥→∞ 27𝑒 2𝑥 ∞

17.2 lim−(1 + 𝑥) =1 รูปแบบไม่กําหนด


1 ln(1 + 𝑥)
สมมติ 𝑦 = (1 + 𝑥) ดังนัน 𝑡𝑎𝑘𝑒 ln จะได้ ln 𝑦 = ln (1 + 𝑥) = ln(1 + 𝑥) =
𝑥 𝑥
ln(1 + 𝑥) 0 1⁄𝑥 1 1
∴ lim− = สามารถใช้โลปตาลได้ lim− = lim− = + = +∞
→ 𝑥 0 → 2𝑥 → 2𝑥 0
ln(1 + 𝑥)
lim− ln 𝑦 = lim− = +∞ ∴ lim−(𝑦) = 𝑒+ = +∞
→ → 𝑥 →

∴ lim−(1 + 𝑥) = +∞

You might also like