You are on page 1of 2

เฉลยโจทย์ที่เกี่ยวข้องกับ wave

3) เชือกมวล 𝑚 ยาว 𝐿 ห้อยอยู่ในแนวดิ่งดังรูป ถ้าปลายล่างของเชือกถูกรบกวน นานเท่าไหร่คลื่นจะเคลื่อนที่


𝑇
ขึ้นไปถึงปลายบน (ในโจทย์ข้อนี้ความตึงเชือกในเส้นเชือกไม่สม่่าเสมอแต่เราประมาณว่าเราใช้ 𝑣 = √𝜇 ได้)

𝑔⃑

วิธีทำ ให้ 𝑇(𝑥) แทนแรงตึงเชือกที่ต่าแหน่ง 𝑥 ใดๆ จากจุดแขวน


𝑀
ให้ 𝜇 = 𝐿
เรารู้ว่า
𝑇(𝑥) = 𝜇𝑔(𝐿 − 𝑥)
เพราะฉะนั้นคลื่นใช้เวลาเดินทางในเส้นเชือกเป็น
𝐿 𝐿
𝑑𝑥 𝑑𝑥 −2 𝐿
𝑡=∫ =∫ = √𝐿 − 𝑥|𝐿0 = 2√
0 𝑇 0 √𝑔(𝐿 − 𝑥) √𝑔 𝑔

𝜇

4) เชือกมวล 𝑚 ยาว 𝐿 วางอยู่บนโต๊ะ ปลายข้างหนึ่งของเชือกถูกตรึงไว้กับโต๊ะ ถ้าเชือกก่าลังหมุนรอบปลายที่


ตรึงไว้ด้วยความเร็งเชิงมุม ω ถ้าปลายที่ไม่ได้ถูกตรึงไว้ของเชือกถูกรบกวน นานเท่าไหร่คลื่นจะเคลื่อนที่ไปถึง
𝑇
ปลายที่ถูกตรึงไว้ (ในโจทย์ข้อนี้ความตึงเชือกในเส้นเชือกไม่สม่่าเสมอแต่เราประมาณว่าเราใช้ 𝑣 = √𝜇 ได้)

วิธีทำ ให้ 𝑇(𝑥) แทนแรงตึงเชือกที่ต่าแหน่ง 𝑥 ใดๆ จากจุดหมุน


𝑀
ให้ 𝜇 = 𝐿
กำรคำนวณ 𝑻(𝒙) วิธีที่ 1
เรารู้ว่าเชือกที่อยู่ระหว่าง 𝑥 ใดๆ จากจุดหมุนถึง 𝑥 + ∆𝑥 จะมีมวล 𝑚 = 𝜇∆𝑥 และเชือกส่วนนี้
ก่าลังหมุนเป็นวงกลมรอบจุดหมุน เชือกนี้จะมีแรงสองส่วนมากระท่าคือ แรงที่ดึงเข้ำสู่ศูนย์กลางซึ่งคือ 𝑇(𝑥) และ
แรงที่ดึงออกจำกจุดศูนย์กลางซึ่งคือ 𝑇(𝑥 + ∆𝑥) เพราะฉะนั้นแรงเข้าสู่ศูนย์กลางจะค่านวณได้จาก
𝑇(𝑥) − 𝑇(𝑥 + ∆𝑥) = 𝑚𝜔2 𝑥 = 𝜇∆𝑥 (𝜔2 𝑥)
เพราะฉะนั้นเราได้
𝑇(𝑥 + ∆𝑥) − 𝑇(𝑥)
= −𝜇 (𝜔2 𝑥)
∆𝑥
ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการเชิงอนุพันธ์ได้โดย
𝑑𝑇
= −𝜇 𝜔2 𝑥
𝑑𝑥
เพราะฉะนั้นเราได้
1
𝑇(𝑥) = − 𝜇 𝜔2 𝑥 2 + 𝐶
2
และเรารู้ว่า
𝑇(𝐿) = 0
เพราะฉะนั้น
1
𝑇(𝑥) = 𝜇 𝜔2 (𝐿2 − 𝑥 2 )
2

กำรคำนวณ 𝑻(𝒙) วิธีที่ 2


เรารู้ว่าเชือกที่อยู่ระหว่าง 𝑥 ใดๆ จากจุดหมุนถึง 𝐿 จะมีมวล 𝑚 = 𝜇(𝐿 − 𝑥) และเชือกส่วนนี้ก่าลัง
หมุนเป็นวงกลมรอบจุดหมุนโดยแรงที่ดึงเข้ำสู่ศูนย์กลางซึ่งคือ 𝑇(𝑥)
เพราะฉะนั้นเราได้
𝑇(𝑥) = 𝑚𝜔2 𝑟𝑐𝑚
(𝐿 + 𝑥)
= 𝜇(𝐿 − 𝑥) 𝜔2
2
1 2 2
= 𝜇𝜔 (𝐿 − 𝑥 2 )
2
เพราะฉะนั้นคลื่นใช้เวลาเดินทางในเส้นเชือกเป็น
𝐿 𝐿 𝐿
𝑑𝑥 𝑑𝑥 √2𝑑𝑥
𝑡=∫ =∫ =∫
𝑇 𝜔√𝐿2 − 𝑥 2
0
√ 0
√1 𝜔 2 (𝐿2 − 𝑥 2 ) 0
𝜇 2
เพื่อ integrate ให้
𝑥 = 𝐿𝑠𝑖𝑛(𝜃) → 𝑑𝑥 = 𝐿𝑐𝑜𝑠(𝜃)𝑑𝜃
√2 𝜋/2 𝐿𝑐𝑜𝑠(𝜃)𝑑𝜃 √2 𝜋 𝜋
𝑡= ∫ = =
𝜔 0 𝐿𝑐𝑜𝑠(𝜃) 𝜔 2 𝜔√2

You might also like