You are on page 1of 15

Exercise

1) กระแสไฟฟ้า 𝐼 ไหลตามแกน 𝑥 และแกน 𝑦 ดังรูป (กระแสไหลจาก 𝑥 = ∞ ไปยัง 𝑥 = 0 และ


เคลื่อนที่ต่อในทิศ +𝑦)
y

- จงคำนวณสนามแม่เหล็กที่ตำแหน่งใดๆ เป็นฟังก์ชันของ 𝑥, 𝑦, 𝑧
- จงพิสูจน์ว่า divergence ของสนามแม่เหล็กมีค่าเป็น 0 (Hint: สนามแม่เหล็กแบ่งเป็น 2 ส่วน เรา
สามารถที่จะคำนวณ divergence ของแต่ละส่วนโดยใช้ coordinate ที่เหมาะสมกับแต่ละส่วนได้ แล้ว
ค่อยนำ divergence ของแต่ละส่วนแล้วนำมารวมกันได้)

วิธีทำ เรารู้ว่าสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสที่วิ่งในแกน x มีค่าเป็น


𝜇0 𝐼 𝑥
⃑ =
𝐵 (1 + ) 𝑛̂
4𝜋√𝑦 2 + 𝑧 2 √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2
ซึง่
𝑧 𝑦
𝑛̂ = 𝑦̂ − 𝑧̂
√𝑦 2 + 𝑧 2 √𝑦 2 + 𝑧 2
เรารู้ว่าสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสที่วิ่งในแกน 𝑦 มีค่าเป็น
𝜇0 𝐼 𝑦
⃑ =
𝐵 (1 + ) 𝑛̂
4𝜋√𝑥 2 + 𝑧 2 √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2
ซึง่
𝑧 𝑥
𝑛̂ = 𝑥̂ − 𝑧̂
√𝑥 2 + 𝑧2 √𝑥 2 + 𝑧2
เพราะฉะนั้น
𝜇0 𝐼𝑧 𝑦
𝐵𝑥 = (1 + )
4𝜋(𝑥 2 + 𝑧 2 ) √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2
𝜇0 𝐼𝑧 𝑥
𝐵𝑦 = (1 + )
4𝜋(𝑦 2 + 𝑧 2 ) √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2
𝜇0 𝐼𝑦 𝑥 𝜇0 𝐼𝑥 𝑦
𝐵𝑧 = − (1 + ) − (1 + )
4𝜋(𝑦 2 + 𝑧 2 ) √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2 4𝜋(𝑥 2 + 𝑧 2 ) √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2

Check divergence โดยการแบ่ง 𝐵⃑ เป็น 2 ส่วน เราจะเห็นว่า แต่ละส่วนมี divergence เป็น 0 เพราะฉะนั้น
∇ ∙ ⃑𝐵 = 0

line integral รอบแกน 𝑥 ที่ 𝑥 = 1 และ 𝑦 2 + 𝑧 2 = 1


𝜇0 𝐼𝑧 1
𝐵𝑦 =(1 + )
4𝜋 √2
𝜇0 𝐼𝑦 1 𝜇0 𝐼 𝑦
𝐵𝑧 = − (1 + ) − (1 + )
4𝜋 √2 4𝜋(1 + 𝑧 2 ) √2

พิจารณา เทอมที่ 2 ของ 𝐵𝑧


2𝜋
𝜇0 𝐼 𝑦
=∫ − 2)
(1 + ) 𝑐𝑜𝑠(𝜃)𝑑𝜃
0 4𝜋(1 + 𝑧 √2
2𝜋
𝜇0 𝐼 𝑐𝑜𝑠(𝜃)
=∫ − ( ) 𝑐𝑜𝑠(𝜃)𝑑𝜃
0 4𝜋(1 + 𝑠𝑖𝑛2 (𝜃)) √2
𝜋
𝜇0 𝐼 𝑐𝑜𝑠 2 (𝜃)
2
=− ∫ 𝑑𝜃
𝜋√2 0 (1 + 𝑠𝑖𝑛2 (𝜃))
𝜇0 𝐼 𝜋
=− (√2 − 1)
𝜋√2 2

เพราะฉะนั้น line integral ของ 𝐵⃑ ได้


𝜇0 𝐼 1 𝜇0 𝐼 1
=− (1 + ) − (1 − ) = −𝜇0 𝐼
2 √2 2 √2

Trick:
π/2 π/2
cos 2 (θ) 1
∫ dθ = ∫ dθ
0 1 + sin2 (θ) 0 sec 2 (θ) + tan2 (θ)
π/2
1
=∫ dtan(θ)
0 sec 2 (θ)(sec 2 (θ) + tan2 (θ))
ให้ 𝑡𝑎𝑛(𝜃) = 𝑥

1
=∫ 2 )(1 + 2𝑥 2 )
𝑑𝑥
0 (1 + 𝑥

2 1
=∫ 2)
− 2)
𝑑𝑥
0 (1 + 2𝑥 (1 + 𝑥
𝜋 𝜋
= √2 −
2 2
𝜋
= (√2 − 1)
2
2) กระแสไฟฟ้า I ไหลในวงจรที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่แต่ละด้านยาว 𝐿 ในทิศทางที่กำหนดให้ ดังรูป จง
คำนวณสนามแม่เหล็กที่จุดต่างๆ ที่อยู่บนแกน z

z
y

(−𝐿/2, 𝐿/2,0) 𝜃 (𝐿/2, 𝐿/2,0) x

x
(𝐿/2, −𝐿/2,0) x

(−𝐿/2, −𝐿/2,0)

วิธีทำ พิจารณา 𝐵⃑ ที่จุด (0,0, 𝑧) ที่เกิดจากระแสที่ไหลบนส่วนทางขวา ซึ่งเราจะพิจารณา


component ที่อยู่ในแนวแกน 𝑧 เท่านั้น (คำตอบเป็นจริงเฉพาะเมื่อ 𝑧 > 0 )
𝐿 2
𝜇0 𝐼 (2)
⃑ =−
𝐵 2√ 2 2 cos (𝜃)
𝐿 2 𝐿 𝐿
4𝜋√𝑧 2 + ( ) (𝑧 2 + (2) ) + (2)
2
𝜇0 𝐼𝐿 1 𝐿/2
=−
𝐿 2 𝐿 2 𝐿 2
4𝜋√𝑧 2 + ( ) √𝑧 2 + 2 ( ) √𝑧 2 + ( )
2 2 2
2
𝜇0 𝐼𝐿 1
=− 2
𝐿 2
8𝜋 (𝑧 2 + ( ) ) √𝑧 2 + 2 (𝐿)
2 2

เพราะฉะนั้น 𝐵 ที่รวมจากทุกส่วน
𝜇0 𝐼𝐿2 1
=−
𝐿 2 2
2𝜋 (𝑧 2 + ( ) ) √𝑧 2 + 2 (𝐿)
2 2
3) วิธีทำ พิจารณา 𝐵⃑ ที่จุด (𝑥, 𝑦, 𝑧) ที่เกิดจากระแสที่ไหลบนระนาบ 𝑥𝑦 ระหว่าง 𝑦𝑠 กับ 𝑦𝑠 + ∆𝑦
ตามที่แสดงดังภาพ

z
y

x
เรารู้ว่า
𝜇0 𝜆𝑑𝑦 𝑧 (𝑦 − 𝑦𝑠 )
⃑ =
𝑑𝐵 (− 𝑦̂ − 𝑧̂ )
2𝜋√(𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2 √(𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2 √(𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2
เพราะฉะนั้น

𝜇0 𝜆 𝑧 (𝑦 − 𝑦𝑠 )
⃑ =∫
𝐵 (− 𝑦̂ − 𝑧̂ ) 𝑑𝑦
−∞ 2𝜋√(𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2 √(𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2 √(𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2
𝜇0 𝜆 ∞ 𝑧
= ∫ (− ) 𝑑𝑦 𝑦̂
2𝜋 −∞ (𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2
𝜇0 𝜆 ∞ 𝑧
= ∫ (− ) 𝑑𝑦 𝑦̂
2𝜋 −∞ (𝑦 − 𝑦𝑠 )2 + 𝑧 2
ให้ 𝑦 = |𝑧|𝑡𝑎𝑛(𝜃)
𝜋
𝜇0 𝜆 2 𝑧|𝑧|𝑠𝑒𝑐 2 (𝜃)
=− ∫ ( ) 𝑑𝜃 𝑦̂
2𝜋 −𝜋 |𝑧|2 𝑠𝑒𝑐 2 (𝜃)
2
𝜋
𝜇0 𝜆 2 𝑧
=− ∫ 𝑑𝜃 𝑦̂
2𝜋 −𝜋 |𝑧|
2
𝜇0 𝜆 𝑧
=− 𝑦̂
2 |𝑧|
ถ้าใช้กฎของแอมแปร์จะงง่ายกว่ามาก
4) วิธีทำ

𝞺
𝑟
𝜃 ɛ

เราใช้หลักการ super position: เรามองว่าส่วนที่กลวง (ไม่มีกระแสไฟฟ้า) นั้นเกิดขึ้นเพราะกระแสไฟฟ้าตรงส่วน


ที่กลวงนี้มีสองส่วนที่หักล้างกัน ส่วนหนึ่งพุ่งเข้าและส่วนหนึ่งพุ่งออก ซึ่งส่วนที่พุ่งออกจะมีทิศทางเดียวกับ
กระแสไฟฟ้าของส่วนที่ไม่กลวง
เราให้ current density มีค่าเป็น
𝐼 4𝐼
σ= =
𝑅 2 3𝜋𝑅2
𝜋 (𝑅2 − ( ) )
2
เพราะฉะนั้น 𝐵⃑ ที่จุด P(ρ, θ) ที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าที่พุ่ง “เข้า” สามารถหาได้จากกฎของแอมแปร์
𝐵2𝜋𝜌 = 𝜇0 𝜎𝜋𝜌2
1
𝐵 = 𝜇0 𝜎𝜌
2
1
𝐵⃑ = − 𝜇0 𝜎𝜌𝜃̂
2
ในทำนองเดียวกัน ⃑𝐵 ที่จุด P(ρ, θ) ที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าที่พุ่ง “ออก” สามารถหาได้จาก
1
⃑ = − 𝜇0 𝜎𝑟𝜀̂
𝐵
2
โดยที่
𝑅 2 𝑅

𝑟 = ( ) + 𝜌2 − 2 𝜌cos (𝜃)
2 2

𝑅 2
= √( ) + 𝜌2 − 𝑅𝜌cos (𝜃)
2
และ 𝑝̂ สามารถคำนวณได้ดังนี้ เรารู้ว่า
𝜌̂ = cos(𝜃) 𝑥̂ + sin(𝜃) 𝑦̂
𝜃̂ = −sin(𝜃) 𝑥̂ + cos(𝜃) 𝑦̂

𝑥̂ = cos(𝜃)𝜌̂ − sin(𝜃)𝜃̂
𝑦̂ = sin(𝜃)𝜌̂ + cos(𝜃)𝜃̂

𝜀̂ = sin(𝜀) 𝑥̂ + cos(𝜀) 𝑦̂
𝜌 sin(𝜃) 1 𝑅
= 𝑥̂ + ( − 𝜌 cos(𝜃)) 𝑦̂
𝑟 𝑟 2
𝜌 sin(𝜃) 1 𝑅
= (cos(𝜃)𝜌̂ − sin(𝜃)𝜃̂) + ( − 𝜌 cos(𝜃)) (sin(𝜃)𝜌̂ + cos(𝜃)𝜃̂)
𝑟 𝑟 2
𝜌 sin(𝜃) 𝑅
=( (cos(𝜃) + − cos (𝜃))) 𝜌̂
𝑟 2𝜌
𝜌 sin2 (𝜃) 𝑅 𝜌 cos 2 (𝜃)
+ (− + cos(𝜃) − ) 𝜃̂
𝑟 2𝑟 𝑟
𝑅 sin(𝜃) 𝑅 𝜌
𝜀̂ = ( ) 𝜌̂ + ( cos(𝜃) − ) 𝜃̂
2𝑟 2𝑟 𝑟

1 𝑅 sin(𝜃) 𝑅 𝜌
⃑ = − 𝜇0 𝜎𝑟 ((
𝐵 ) 𝜌̂ + ( cos(𝜃) − ) 𝜃̂)
2 2𝑟 2𝑟 𝑟
1 𝑅 sin(𝜃) 𝑅
= − 𝜇0 𝜎 (( ) 𝜌̂ + ( cos(𝜃) − 𝜌) 𝜃̂)
2 2 2
เพราะฉะนั้น
1 1 𝑅 sin(𝜃) 𝑅
⃑ 𝑡𝑜𝑡 = − 𝜇0 𝜎𝜌𝜃̂ − 𝜇0 𝜎 ((
𝐵 ) 𝜌̂ + ( cos(𝜃) − 𝜌) 𝜃̂)
2 2 2 2
1 𝑅 sin(𝜃) 𝑅
= − 𝜇0 𝜎 (( ) 𝜌̂ + ( cos(𝜃)) 𝜃̂)
2 2 2
𝑅
= − 𝜇0 𝜎(sin(𝜃) 𝜌̂ + cos(𝜃) 𝜃̂)
4
𝑅
= − 𝜇0 𝜎𝑦̂
4
Check divergence
𝑅 1 𝜕 1 𝜕
⃑ 𝑡𝑜𝑡 = − 𝜇0 𝜎 (
∇∙𝐵 (𝜌sin (𝜃)) + (cos (𝜃)))
4 𝜌 𝜕𝜌 𝜌 𝜕𝜃
𝑅 1 1
= − 𝜇0 𝜎 ( sin(𝜃) + (− sin(𝜃)))
4 𝜌 𝜌
=0
5) แท่งตัวนำที่มีมวล m และความต้านทาน R ถูกพาดไว้ระหว่างรางที่เป็นตัวนำและไม่มีความต้านทาน ราง
ตัวนำนี้วางขนานกันและมีระยะห่างระหว่างกันเป็น L ดังรูป สนามไฟฟ้า 𝐵⃑ มีทิศพุ่งออก ถ้าแท่งตัวนำนั้นใน
ตอนแรกหยุดนิ่ง จงคำนวณความเร็วของแท่งตัวนำว่าขึ้นกับเวลาอย่างไร
แท่งตัวนำ

∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ 𝐵
ε
∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙
∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙
∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙
วิธีทำ เรารู้ว่าเมื่อเริ่มต้นนั้นวัตถุจะเคลื่อนที่ไปทางซ้าย เราให้ความเร็วของวัตถุที่เวลา 𝑡 เป็น 𝑣[𝑡] เมื่อวัตถุ
เคลื่อนที่จะเกิด motional emf ซึ่งมีขนาดเป็น
𝜀𝑚 = 𝑣𝐵𝐿
เพราะฉะนั้นกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำที่เวลา 𝑡 เป็น
𝜀 − 𝜀𝑚 𝜀 − 𝑣[𝑡]𝐵𝐿
𝐼[𝑡] = =
𝑅 𝑅
เพราะฉะนั้นแรงที่ดึงตัวนำไปทางซ้ายจะเป็น
𝑑𝑣
𝐼[𝑡]𝐿𝐵 = 𝑚
𝑑𝑡
𝜀 − 𝑣𝐵𝐿 𝑑𝑣
𝐿𝐵 = 𝑚
𝑅 𝑑𝑡
𝐿𝐵 𝑑𝑣
𝑑𝑡 =
𝑅𝑚 𝜀 − 𝑣𝐵𝐿
เพราะฉะนั้น
𝑡 𝑣[𝑡]
𝐿𝐵 𝑑𝑣
∫ 𝑑𝑡 = ∫
0 𝑅𝑚 0 𝜀 − 𝑣𝐵𝐿
𝐿𝐵 1 𝜀 − 𝑣[𝑡]𝐵𝐿
𝑡=− 𝑙𝑛 ( )
𝑅𝑚 𝐵𝐿 𝜀
𝜀 − 𝑣[𝑡]𝐵𝐿 (𝐿𝐵)2
𝑙𝑛 ( )=− 𝑡
𝜀 𝑅𝑚
𝜀 − 𝑣[𝑡]𝐵𝐿 (𝐿𝐵)2
= 𝑒 𝑅𝑚 𝑡

𝜀
(𝐿𝐵)2
𝑣[𝑡]𝐵𝐿 = 𝜀 (1 − 𝑒 𝑅𝑚 𝑡 )

𝜀 (𝐿𝐵)2
𝑣[𝑡] = (1 − 𝑒 𝑅𝑚 𝑡 )

𝐵𝐿
6) แท่งตัวนำที่มีมวล m และความต้านทาน R ถูกพาดไว้ระหว่างรางที่เป็นตัวนำและไม่มีความต้านทาน ราง
⃑ มีทิศพุ่ง
ตัวนำนี้วางขนานกันและมีระยะห่างระหว่างกันเป็น L ดังรูป ระบบนี้ถูกวางอยู่บนโต๊ะ สนามไฟฟ้า B
ขึ้น แท่งตัวนำถูกดึงด้วยมวล 𝑀 ผ่านรอกดังรูป ถ้าแท่งตัวนำนั้นในตอนแรกหยุดนิ่ง จงคำนวณความเร็วของ
แท่งตัวนำว่าขึ้นกับเวลาอย่างไร (ถือว่าไม่มีแรงเสียดทานระหว่างรางและแท่งตัวนำ)


𝐵 แท่งตัวนำ

วิธีทำ เรารู้ว่าเมื่อเริ่มต้นนั้นวัตถุจะเคลื่อนที่ไปทางขวา เราให้ความเร็วของวัตถุที่เวลา 𝑡 เป็น 𝑣[𝑡] เมื่อวัตถุ


เคลื่อนที่จะเกิด motional emf ซึ่งมีขนาดเป็น
𝜀𝑚 = 𝑣𝐵𝐿
เพราะฉะนั้นกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำที่เวลา 𝑡 เป็น
𝜀𝑚 𝑣[𝑡]𝐵𝐿
𝐼[𝑡] = =
𝑅 𝑅
เพราะฉะนั้นแรงที่ดึงตัวนำไปทางขวาจะเป็น
𝑑𝑣
𝑁 − 𝐼[𝑡]𝐿𝐵 = 𝑚
𝑑𝑡
โดยที่ 𝑁 เป็นแรงตึงของเส้นเชือก
𝑑𝑣
𝑀𝑔 − 𝑁 = 𝑀
𝑑𝑡
เพราะฉะนั้นเรารู้ว่า
𝑑𝑣 𝑑𝑣
𝑀𝑔 − 𝑀 − 𝐼[𝑡]𝐿𝐵 = 𝑚
𝑑𝑡 𝑑𝑡
𝑑𝑣
𝑀𝑔 − 𝐼[𝑡]𝐿𝐵 = (𝑚 + 𝑀)
𝑑𝑡
𝑣𝐵𝐿 𝑑𝑣
𝑀𝑔 − 𝐿𝐵 = 𝑚
𝑅 𝑑𝑡
𝑑𝑡 𝑑𝑣
=
𝑚+𝑀 𝑣(𝐵𝐿)2
𝑀𝑔 −
𝑅
เพราะฉะนั้น
𝑡 𝑣[𝑡]
𝑑𝑡 𝑑𝑣
∫ =∫
0 𝑚+𝑀 𝑣[0] 𝑣(𝐵𝐿)2
𝑀𝑔 −
𝑅
𝑣(𝐵𝐿)2
𝑡 𝑅 𝑀𝑔 −
=− 𝑙𝑛 ( 𝑅 )
𝑚+𝑀 (𝐵𝐿)2 𝑀𝑔
𝑣(𝐵𝐿)2
(𝐵𝐿)2 𝑀𝑔 −
− 𝑡 = 𝑙𝑛 ( 𝑅 )
𝑅(𝑚 + 𝑀) 𝑀𝑔
𝑣(𝐵𝐿)2 (𝐵𝐿)2
𝑀𝑔 −
𝑅 = 𝑒 −𝑅(𝑚+𝑀)𝑡
𝑀𝑔
𝑣(𝐵𝐿)2 (𝐵𝐿)2
− 𝑡
= 𝑀𝑔 (1 − 𝑒 𝑅(𝑚+𝑀) )
𝑅
𝑀𝑔𝑅 (𝐵𝐿)2
− 𝑡
𝑣[𝑡] = (1 − 𝑒 𝑅(𝑚+𝑀) )
(𝐵𝐿)2
7) ประจุ 3 ประจุวางอยู่ในแกน x ดังรูป ประจุ +Q และ +2Q ถูกวางและยึดไว้ที่ x = 0 และ L ตามลำดับ
ประจุ +q มวล m ถูกวางไว้ระหว่างประจุ +Q และ +2Q จงหาตำแหน่งที่ประจุ อยู่ที่ภาวะสมดุล และ
ตรวจสอบว่าที่จุดสมดุลนี้เป็นจุดที่สมดุล stable หรือ ไม่ stable ถ้าเป็นจุดที่สมดุล stable จงคำนวณว่าถ้า
ประจุ +q ถูกรบกวนให้เคลื่อนที่ตามแกน 𝑥 เล็กน้อยประจุจะสั่นด้วยความถี่เท่าไหร่

+Q +q +2Q

X =0 X =L

สถานการณ์จะเปลี่ยนไปอย่างไรถ้าเราเปลี่ยนประจุจาก +q เป็น −𝑞
วิธีทำ เรารู้ว่า
𝑄𝑞 2𝑄𝑞
𝑈(𝑥) = 𝑘 ( + )
𝑥 𝐿−𝑥
เราสามารถหาจุดสมดุลได้จาก
𝜕 1 −1
𝑈(𝑥) = 0 = 𝑘𝑄𝑞 (− 2 + 2(−1) )
𝜕𝑥 𝑥 (𝐿 − 𝑥)2
1 2
= 𝑘𝑄𝑞 (− 2 + )
𝑥 (𝐿 − 𝑥)2
1 2
0 = (− 2 + )
𝑥 (𝐿 − 𝑥)2
1 2
=
𝑥 2 (𝐿 − 𝑥)2
𝐿 − 𝑥 = √2𝑥
𝐿
𝑥𝑒𝑞 =
1 + √2

𝜕2 2 4
𝑈(𝑥) = 𝑘𝑄𝑞 ( + )
𝜕𝑥 2 𝑥 3 (𝐿 − 𝑥)3
ที่ 𝑥𝑒𝑞

𝜕2 𝑘𝑄𝑞 4
2
𝑈(𝑥) = 2
2(1 + √2)3 + 3
𝜕𝑥 𝐿 1
(1 − )
( 1 + √2 )
𝑘𝑄𝑞 4
= 2
2(1 + √2)3 + 3
𝐿 √2
( )
( 1 + √2 )
𝑘𝑄𝑞
= 2
(2(1 + √2)3 + √2(1 + √2)3 )
𝐿
𝑘𝑄𝑞
= 2 √2(1 + √2)4
𝐿
เพราะฉะนั้น

𝑘𝑄𝑞
ω=√ √2(1 + √2)4
𝑚𝐿2
ถ้าเปลี่ยนประจุจาก +𝑞 เป็น −𝑞
𝐿
𝑥𝑒𝑞 =
1 + √2
แต่ที่จุดสมดุลนี้จะไม่ stable
8) ประจุ +Q กระจายตัวอย่างสม่ำเสมอบนฉนวนวงแหวนที่มีรัศมี R ดังรูป วงแหวนนี้วางอยู่ที่พื้น ประจุ +q
มวล m สามารถเคลื่อนที่ได้อิสระตามแนวดิ่ง ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ดังรูป จงหาตำแน่งสมดุลของประจุ
+𝑞 และถ้าประจุนี้ถูกรบกวนให้ขยับเล็กน้อยตามแนวดิ่งประจุจะสั่นด้วยความถี่เท่าไหร่

+q,m

วิธีทำ เรารู้ว่า
𝑘𝑄𝑞
𝑈(𝑦) = + 𝑚𝑔𝑦
√𝑅2 + 𝑦 2
เราสามารถหาจุดสมดุลได้จาก
𝜕 𝑦𝑘𝑄𝑞
𝑈(𝑦) = 0 = − 2 + 𝑚𝑔
𝜕𝑦 (𝑅 + 𝑦 2 )3/2
𝑦𝑘𝑄𝑞
3 = 𝑚𝑔
2 2
(𝑅 + 𝑦 )2
ให้ 𝑦𝑒𝑞 เป็นคำตอบของสมการนี้
3 1
𝜕2 (𝑅2 + 𝑦 2 )3/2 𝑘𝑄𝑞 − 𝑦𝑘𝑄𝑞 2𝑦(𝑅2 + 𝑦 2 )2
𝑈(𝑦) = − 2
𝜕𝑦 2 2 2
(𝑅 + 𝑦 ) 3
2 2
(𝑅 + 𝑦 )𝑘𝑄𝑞 − 𝑦𝑘𝑄𝑞3𝑦
=− 5
(𝑅2 + 𝑦 2 )2
𝑅2 − 2𝑦 2
= − 𝑘𝑄𝑞 5
(𝑅2 + 𝑦 2 )2
𝑅
จากตรงนี้เรารู้ว่าจะเป็น stable ถ้า 𝑦𝑒𝑞 >
√2
เพราะฉะนั้นถ้า stable
𝑘𝑄𝑞 2𝑦𝑒𝑞 2 − 𝑅2
ω=√
𝑚 (𝑅2 + 𝑦 2 )5/2
𝑒𝑞
9) วัตถุมวล 𝑚 ผูกติดอยู่กับสปริงที่มีค่าคงที่ของสปริง 𝑘 และมีแรงต้านจากการเคลื่อนที่เป็น – 𝑏𝑣 เมื่อ 𝑣
เป็นความเร็วของวัตถุ ถ้าวัตถุนี้มีแรงภายนอกมากระทำเป็น 𝐹0 sin(𝜔𝑡) 𝑥̂ และมีสมการการเคลื่อนที่เป็น
𝑑2𝑥 𝑑𝑥
𝑚 2 +𝑏 + 𝑘𝑥 = 𝐹0 sin (𝜔𝑡)
𝑑𝑡 𝑑𝑡
จงคำนวณ particular solution ของสมการรวมทั้งหาว่าค่า 𝜔 ต้องเป็นเท่าใดเพื่อให้ amplitude ของ
particular solution มีค่ามากที่สุด

วิธีทำ เรารู้ว่าเราให้คำตอบของสมการนี้เป็นคำตอบของ imaginary part ของ


𝑑2𝑧 𝑑𝑧
𝑚 2 + 𝑏 + 𝑘𝑧 = 𝐹0 𝑒 𝑖𝑤𝑡
𝑑𝑡 𝑑𝑡
เราให้
𝑧 = 𝐴𝐹0 𝑒 𝑖𝑤𝑡
เพราะฉะนั้นเราได้
(−𝑚𝜔2 𝐴 + 𝑏𝑖𝜔𝐴 + 𝑘𝐴)𝐹0 𝑒 𝑖𝑤𝑡 = 𝐹0 𝑒 𝑖𝑤𝑡
เพราะฉะนั้นเราได้
1
𝐴=
−𝑚𝜔 2 + 𝑏𝑖𝜔 + 𝑘
เรารู้ว่าขนาดของ 𝐴 มีค่าเป็น
1
√(𝑘 − 𝑚𝜔 2 )2 + (𝑏𝜔)2
เพื่อให้ขนาดของ 𝐴 มีค่ามากที่สุด (𝑘 − 𝑚𝜔2 )2 + (𝑏𝜔)2 ต้องมีค่าน้อยที่สุด
𝑑
(𝑘 − 𝑚𝜔2 )2 + (𝑏𝜔)2 = 0
𝑑𝜔
2(𝑘 − 𝑚𝜔2 )(−𝑚2𝜔) + 2𝑏 2 𝜔 = 0
(𝑘 − 𝑚𝜔2 )(−𝑚2) + 𝑏 2 = 0
2
𝑏2
𝑘 − 𝑚𝜔 =
2𝑚
𝑏2
𝑘+ = 𝑚𝜔2
2𝑚
𝑘 𝑏2
𝜔=√ +
𝑚 2𝑚2

You might also like