You are on page 1of 2

บทนิยามและทฤษฎีบท ปลายภาค วิชา MA312 Mathematical Analysis

บทนิยามความต่อเนื่อง
ให้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันค่าจริงซึ่งมีโดเมนเป็นเซตย่อยของจานวนจริง แล้ว
ฟังก์ชัน 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥0 ใน dom(𝑓)
ถ้า สาหรับทุก ๆ ลาดับ (𝑥𝑛 ) ใน dom(𝑓) ทีล่ ู่เข้าไปหา 𝑥0 แล้ว 𝑛→∞
lim 𝑓(𝑥𝑛 ) = 𝑓(𝑥0 )
สัญลักษณ์ : ∀(𝑥𝑛 ) ⊆ dom(𝑓) [ 𝑛→∞ lim 𝑥𝑛 = 𝑥0 ⇒ lim 𝑓(𝑥𝑛 ) = 𝑓(𝑥0 ) ]
𝑛→∞
ทฤษฎีบทความต่อเนื่อง
ให้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันค่าจริงซึ่งมีโดเมนเป็นเซตย่อยของจานวนจริง แล้ว
ฟังก์ชัน 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥0 ใน dom(𝑓) ก็ต่อเมื่อ
สาหรับทุก ๆ 𝜀 > 0 จะมี 𝛿 > 0 ซึง่ 𝑥 ∈ dom(𝑓) และ |𝑥 − 𝑥0| < 𝛿
แล้ว |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥0)| < 𝜀
สัญลักษณ์ : ∀𝜀 > 0 ∃𝛿 > 0 [ 𝑥 ∈ dom(𝑓) ∧ |𝑥 − 𝑥0 | < 𝛿 ⇒ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥0)| < 𝜀 ]

บทนิยามของความต่อเนื่องแบบสม่่าเสมอ
ให้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันค่าจริงซึ่งมีโดเมนเป็น 𝑆 ⊆ ℝ แล้ว
ฟังก์ชัน 𝑓 ต่อเนื่องแบบสม่าเสมอ บน 𝑆
ถ้า สาหรับทุก ๆ 𝜀 > 0 จะมี 𝛿 > 0 ซึง่ 𝑥, 𝑦 ∈ 𝑆 และ |𝑥 − 𝑦| < 𝛿
แล้ว |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| < 𝜀
สัญลักษณ์ : ∀𝜀 > 0 ∃𝛿 > 0 [ 𝑥, 𝑦 ∈ 𝑆 ∧ |𝑥 − 𝑦| < 𝛿 ⇒ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥0)| < 𝜀 ]

ทฤษฎีบท Intermediate Value Theorem
ให้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันค่าจริงและต่อเนื่องบนช่วง 𝐼 และสาหรับ 𝑎, 𝑏 ∈ 𝐼 โดยที่ 𝑎 < 𝑏 แล้ว
สาหรับทุก 𝑦 ที่มีค่าอยู่ระหว่าง 𝑓(𝑎) และ 𝑓(𝑏)
แล้ว จะมี 𝑥 อย่างน้อย 1 ตัวที่ 𝑥 ∈ (𝑎, 𝑏) และ 𝑓(𝑥) = 𝑦
สัญลักษณ์ : ∀𝑦 ∈ (𝑓(𝑎), 𝑓(𝑏)) ∃𝑥 ∈ (𝑎, 𝑏) [ 𝑓(𝑥) = 𝑦 ]

บทนิยามของอนุพันธ์
ให้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันค่าจริงที่ถูกนิยามบนช่วงเปิดที่บรรจุ 𝑎
เราจะกล่าวว่า 𝑓 หาอนุพันธ์ได้ที่ 𝑎 หรือ 𝑓 มีอนุพันธ์ที่ 𝑎 ถ้า
𝑓(𝑥)−𝑓(𝑎)
lim 𝑥−𝑎 หาค่าได้และมีค่าเป็นจานวนจริง
𝑥→𝑎

ทฤษฎีบท Mean Value Theorem
ให้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน [𝑎, 𝑏] ซึ่งหาอนุพันธ์ได้บน (𝑎, 𝑏) แล้วมี 𝑥 อย่างน้อยหนึ่งค่าใน
𝑓(𝑏)−𝑓(𝑎)
(𝑎, 𝑏) ซึง่ 𝑓 ′ (𝑥) =
𝑏−𝑎
สัญลักษณ์ : ∃𝑥 ∈ (𝑎, 𝑏) [ 𝑓 ′(𝑥) = 𝑓(𝑏)−𝑓(𝑎)
𝑏−𝑎
]

บทนิยามของ Upper และ Lower Darboux Sum
ให้ เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบนช่วงปิด [𝑎, 𝑏] สาหรับ 𝑆 ⊆ [𝑎, 𝑏]
กาหนดให้ 𝑀(𝑓, 𝑆) = sup{𝑓(𝑥) | 𝑥 ∈ 𝑆} และ 𝑚(𝑓, 𝑆) = inf{𝑓(𝑥) | 𝑥 ∈ 𝑆}
และให้ผลแบ่งกั้นของ [𝑎, 𝑏] คือ finite ordered subset 𝑃 ใด ๆ ซึ่งอยู่ในรูป
กาหนด Upper Darboux Sum 𝑈(𝑓, 𝑃) ของ 𝑓 คือ
𝑛

𝑈(𝑓, 𝑃) = ∑ 𝑀(𝑓, [𝑡𝑘−1 , 𝑡𝑘 ]) (𝑡𝑘 − 𝑡𝑘−1 )


𝑘=1
และ Lower Darboux Sum 𝐿(𝑓, 𝑃) ของ 𝑓 คือ
𝑛

𝐿(𝑓, 𝑃) = ∑ 𝑚(𝑓, [𝑡𝑘−1 , 𝑡𝑘 ]) (𝑡𝑘 − 𝑡𝑘−1 )


𝑘=1

บทนิยามของ Upper และ Lower Darboux Integral
กาหนด Upper Darboux Integral 𝑈(𝑓) ของ 𝑓 คือ
𝑈(𝑓) = inf{𝑈(𝑓, 𝑃) | 𝑃 เป็นผลแบ่งกั้นของ [𝑎, 𝑏]}

และ Lower Darboux Integral 𝐿(𝑓) ของ 𝑓 คือ


𝐿(𝑓) = sup{𝐿(𝑓, 𝑃) | 𝑃 เป็นผลแบ่งกั้นของ [𝑎, 𝑏]}

ทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส
ทฤษฎีบทหลักมูลบทที่หนึ่งของแคลคูลัส
ถ้า 𝑔 เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [𝑎, 𝑏] ซึ่งหาอนุพันธ์ได้บน (𝑎, 𝑏)
และถ้า 𝑔′ หาอินทิกรัลได้บน [𝑎, 𝑏] แล้ว
𝑏

∫ 𝑔′ = 𝑔(𝑏) − 𝑔(𝑎)
𝑎
ทฤษฎีบทหลักมูลบทที่สองของแคลคูลัส
ถ้า 𝑓 เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบนช่วง [𝑎, 𝑏] สาหรับ 𝑥 ∈ [𝑎, 𝑏] ให้
𝑥

𝐹(𝑥) = ∫ 𝑓(𝑡) 𝑑𝑡
𝑎
แล้ว 𝐹 ต่อเนื่องบน [𝑎, 𝑏] และถ้า 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥0 ∈ [𝑎, 𝑏]
แล้ว 𝐹 มีอนุพันธ์ที่ 𝑥0 และ 𝐹′ (𝑥0) = 𝑓(𝑥0)

You might also like