You are on page 1of 2

เอกสารประกอบครั้งที่ 3

Lagrange multiplier method


การหาคาสูงสุด/ต่ําสุด (extreme values) กรณีฟงกชันมีตัวแปรอิสระมากกวา 1 ตัว และมีขอจํากัด
(constraint) จะประกอบไปดวย
ขั้นตอนการหาคําตอบ
1) ตั้งสมการ Lagrange เชน
𝑊(𝑥, 𝑦, λ) = 𝑓(𝑥, 𝑦) + 𝜆[𝑔(𝑥, 𝑦)]

2) หาคาวิกฤตโดยใชเงื่อนไขอนุพันธอันดับหนึ่ง (first-order necessary condition)


- ดิฟตามตัวแปรอิสระ และ λ แลวให เทากับ 0 จะไดเปนสมการ
- แกสมการเพื่อหาคาตัวแปร (ใชการแกสมการโดยการแทนคา หรือ การกําจัดตัวแปรก็ได)
3) ทดสอบวาจุดวิกฤตเปนคาสูงสุด/ต่ําสุด
นําคา x และ y ที่คํานวณไดไปแทนในฟงกชัน 𝑓(𝑥, 𝑦) เพื่อดูวาเปนคาสูงสุดหรือคาต่ําสุด
𝑓(𝑥, 𝑦) > 0 เปนคาสูงสุด
𝑓(𝑥, 𝑦) < 0 เปนคาต่ําสุด
ตัวอยาง หาคาสุดขีด (extreme values) ของฟงกชัน 𝑓(𝑥, 𝑦) = 𝑥 − 3𝑦 − 1 ภายใตเงื่อนไขบังคับ
(subject to the constraint) 𝑥 + 3𝑦 = 16
วิธีทํา
1) ตั้งสมการ Lagrange เชน
𝑊 𝑥, 𝑦, λ = 𝑥 − 3𝑦 − 1 + 𝜆(𝑥 + 3𝑦 − 16)

2) หาคาวิกฤตโดยใชเงื่อนไขอนุพันธอันดับหนึ่ง (first-order necessary condition)


𝑊 = = 0 จะได 𝑊 = 1 + 2𝜆𝑥 = 0
𝑊 = = 0 จะได 𝑊 = −3 + 6𝜆𝑦 = 0

𝑊 = = 0 จะได 𝑊 = 𝑥 + 3𝑦 − 16 = 0
หลังจากดิฟก็เหมือนเรามี 3 สมการ 3 ตัวแปร คือ
1 + 2𝜆𝑥 = 0 … (1)
−3 + 6𝜆𝑦 = 0 … (2)
𝑥 + 3𝑦 − 16 = 0 … (3)
จากนั้นก็แกสมการเพื่อหาคาตัวแปร 𝑥, 𝑦, λ (ใชการแกสมการโดยการแทนคา หรือ การกําจัดตัวแปรก็
ได)
จากสมการที่ (1) ยายขาง จะได

เอกสารประกอบการติวคณิตศาสตร 1/2566 1|Page


𝜆=
จากนั้น นําไปแทนในสมการที่ (2) จะได −3 + 6 𝑦=0
จะได 𝑦 = −𝑥
จากนั้น นําไปแทนในสมการที่ (3) เพื่อหาคา x จะได 𝑥 + 3(−𝑥) − 16 = 0
จะได 4𝑥 = 16
𝑥 =4
𝑥 = ±2
แสดงวา ถา 𝑥 = 2 , 𝑦 = −2
และถา 𝑥 = −2 , 𝑦 = 2
3) ทดสอบวาจุดวิกฤตเปนคาสูงสุด/ต่ําสุด
จากนั้น นําคา x และ y ที่คํานวณไดไปแทนในฟงกชัน 𝑓 (𝑥, 𝑦) = 𝑥 − 3𝑦 − 1 เพื่อดูวาเปน
คาสูงสุดหรือคาต่ําสุด
𝑓 (2, −2) = 2 − 3(−2) − 1 = 7 คาสูงสุด
𝑓 (−2,2) = −2 − 3(2) − 1 = −9 คาต่ําสุด

เอกสารประกอบการติวคณิตศาสตร 1/2566 2|Page

You might also like