You are on page 1of 12

www.coopguy.

com

บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

7.1 เลขยกกำลังทีม่ เี ลขชี้กำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
บทนิยำม ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว
an = a . a . a . a ……… a
n ตัว
a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0
a– n = a1n เมื่อ a ≠ 0
เรี ยก an ว่าเลขยกกาลัง
เรี ยก a ว่าฐานของเลขยกกาลัง
เรี ยก n ว่าเลขชี้กาลัง
เช่น 35 = 3 . 3 . 3 . 3 . 3
บทนิยำม ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง และ p , q เป็ นจานวนเต็มที่ (p , q) = 1 , q > 0
1
และ a q R โดยเมื่อ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็ น 0
p 1
aq = ( aq ) p
ทฤษฏีบท ให้ m , n เป็ นจานวนตรรกยะ และ am , an , bn เป็ นจานวนจริ ง จะได้
1. am . an = am+n
2. amn = am–n เมื่อ a ≠ 0
a
3. (am)n = am n
4. (a.b)n = an . bn
5. ab n =  abnn  เมื่อ b ≠ 0
 

กฏเกีย่ วกับเลขยกกำลัง (เพิ่มเติม)


(x2 – y2) = (x – y) (x + y) ผลต่างกาลัง 2
(x3– y3) = (x – y) (x2 + xy+ y2) ผลต่างกาลัง 3
(x3 + y3) = (x + y) (x2 – xy+ y2) ผลบวกกาลัง 3
(x – y)2 = x2 – 2xy + y2 กาลังสองสัมบูรณ์
(x + y)2 = x2 + 2xy + y2

27 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

7.2 รำกที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริงในรู ปกรณฑ์


บทนิยำม เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 a และ b เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
รากที่ n ของ a จะเท่ากับ b ก็ต่อเมื่อ bn = a
n
นัน่ คือ a = b ก็ต่อเมื่อ bn = a
2
เช่น 25 = 5 เพราะ 52 = 25
3
 64 = –4 เพราะ (–4)3 = –64
4
81 = 3 เพราะ 34 = 81
สมบัติเกีย่ วกับรำกที่ n ทีค่ วรรู้
n
1. x เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่ ให้ตอบเฉพาะคาตอบที่เป็ นบวกเท่านั้น
2
เช่น 25 = 5 เท่านั้น
n
2. ถ้า x < 0 แล้ว x จะคิดได้ 2 กรณี ดังนี้
n
x จะหาค่าจานวนจริ งไม่ได้ ถ้า n เป็ นเลขคู่ เช่น 2  9 หาค่าไม่ได้
n
x จะหาค่าได้ ถ้า n เป็ นเลขคี่ เช่น 3  8 = –2
n 1 1
3. x = x n เช่น 3 8 = 8 3 เป็ นต้น
3 3 (53 ) 13 3
ลองพิจารณา 5 = = 5 จาง่าย ๆ 53 = 5
n
4. ( x )n = x เช่น ( 7 3 )7 = 3
3 3 = –8
x เมื่อ n เป็ นเลขคี่ เช่น 8
n n
5. x =
 x  เมื่อ n เป็ นเลขคู่ เช่น 2  6 2 =  –6  = 6
n n
6. = n x เมื่อ x > 0 และ y > 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่ไม่ใช่ 1
xy
y
n x y = n x  n y ถ้า x < 0 และ y < 0 จะใช้ได้ เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกคี่

28 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

4 9
1. ค่าของ ( a3 )6 ( a3 ) ( a7 )6 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 5
1. 1 2. a 3. a 8 4. a 8

2. ผลบวกคาตอบของสมการ x  9 + 11 = x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 16 3. 17 4. 23

7.3 ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล


บทนิยำม ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล คือฟังก์ชนั
f = { (x , y)  R x R  y = ax เมื่อ a > 0 และ a  1 }
ข้ อควรทรำบ
1) ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลมี 2 แบบได้แก่
1.1 ฟังก์ชันเพิม่ 1.2 ฟังก์ชันลด
ฟังก์ชนั นี้ เมื่อ x เพิ่มขึ้นค่า y จะเพิ่ม ฟังก์ชนั นี้ เมื่อ x เพิ่มขึ้นค่า y จะลดลง
ตาม จะเกิดเมื่อ a > 1 เช่น y = 2x จะเกิดเมื่อ 0 < a < 1
Y Y

(0 , 1) (0 , 1)
X X

29 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

2) โดเมนของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยล คือเซตของจานวนจริ ง


เรนจ์ของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยล คือเซตของจานวนจริ งบวก

ฝึ กทำ. ฟังก์ชนั ต่อไปนี้เป็ นฟั งก์เอกซ์โพแนนเชียลหรื อไม่


1) y = 5x 2) y = ( 23 )x 3) y = 0x 4) y = –0.5x 5) y = 1x

ฝึ กทำ. ฟังก์ชนั ต่อไปนี้เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มหรื อฟังก์ชนั ลด


x
1) y = 5x 2) y = ( 17 )x 3) y = 2 4) y = (sin 45)x 5) y = 12 x

วิธีกำรแก้สมกำรเอกซ์ โพแนนเชียล
ขั้นที่ 1 ทาให้ฐานเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ตัดฐานทิ้ง คิดเฉพาะตัวชี้กาลังที่เหลือ
3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 8 ( 29x ) = 64 (x + 3) เท่ากับเท่าใด

30 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

วิธีแก้อสมกำรเอกซ์ โพแนนเชียล
ขั้นที่ 1 ทาให้ฐานเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ตัดฐานทิง้ คิดเฉพาะตัวชี้กาลังที่เหลือ
แต่ระวังว่า หาก 0 < ฐาน < 1 ต้องเปลี่ยนเครื่ องหมายอสมการเสมอ
( เปลี่ยนจากมากกว่าเป็ นน้อยกว่า หรื อเปลี่ยนจากน้อยกว่าเป็ นมากกว่า )

4. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับอสมการ 16x > 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –3] 2. (–3 , –1 ] 3. (–1 , 0] 4. (0 , )

5(แนว En) ค่ าของ x ที่ ส อดคล้องกับ อสมการ 12 


x2 3x 4 < 1 x9 เป็ นสั บเซตของข้อใด
2
ต่อไปนี้
1. (– , –1 ) 2. (– , –2 ) 3. (–1 , 1 ) 4. ไม่มีมีขอ้ ที่ถูกต้อง

7.4 ฟังก์ชันลอกำริทมึ
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
จาก 34 = 81 จาก 23 = 8
อาจเขียนเป็ น 4 = log3 81 อาจเขียนเป็ น 3 = log2 8
จาก log2 16 = 4 จาก log10 100 = 2
อาจเขียนเป็ น 16 = 24 อาจเขียนเป็ น 100 = 102

31 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

ฝึ กทำ. จงเขียนสมการต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปลอการิ ทึม


2
1. 42 = 16 2. 27 3 = 9 3. ( 12 )2 = 14 4. 2–6 = 641 5. 31 = 3

ฝึ กทำ. จงเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปเลขยกกาลัง


1. log10 100 = 2 2. log5 1 = 0 3. log3 3 = 1 4. log 1 25 = –3 5. log2 32 = 5
5

จากฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล ax = y เมื่อ a > 0 และ a  1


อินเวอร์ สของฟังก์ชนั นี้คือ ay = x เมื่อ a > 0 และ a  1
ซึ่ งอาจเขียนรู ปใหม่เป็ น y = loga x เมื่อ a > 0 และ a  1
ฟังก์ชนั อินเวอร์ สของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยลนี้ เรี ยกฟังก์ ลอกำริทึม
บทนิยำม ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือ
{ (x , y)  R+ x R  y = loga x เมื่อ a > 0 และ a  1 }
เป็ นฟังก์ชนั ผกผันของฟังก์ชนั เอกโพเนนเชียล
{ (x , y)  R x R  y = ax เมื่อ a > 0 และ a  1 }

ข้ อควรทรำบเกีย่ วกับฟังก์ชันลอกำริทมึ
1) ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม มี 2 แบบได้แก่ Y
1.1) ฟังก์ชนั เพิ่ม
คือ ฟังก์ชนั ซึ่ งเมื่อค่า x เพิ่มแล้ว X
ค่า y จะเพิ่มตามเกิดเมื่อ a > 1 (1 , 0)

32 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

1.2) ฟังก์ชนั ลด Y

คือ ฟังก์ชนั ซึ่ งเมื่อค่า x เพิ่มแล้ว


ค่า y จะลดลงเกิดเมื่อ 0 < a < 1 (1 , 0) X

2) โดเมนของฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือจานวนจริ งบวก


เร็ นจ์ของฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือจานวนจริ ง

สมบัติของลอกำริทมึ
1. loga (M.N) = loga M + loga N
2. loga ( MN ) = loga M – loga N
3. loga Mx = x loga M
4. log x M = 1x loga M
a
1
5. log x M = log a M x
a
6. loga M = log x M x
a
7. loga a = 1
หมายเหตุ ; loga 0 = หาไม่ได้
8. log a 1 = 0
log0 a = หาไม่ได้
9. a logaM = M
log1 a = หาไม่ได้
10. logN M = log aM
loga N
11. loga N1 = log 1 N
a
12. loga b = log1 a
b
13. loga x = loga y ก็ต่อเมื่อ x = y
6. กาหนดให้ y = log381 + log232 + log  1  64 แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4
 

1. 0 2. 3 3. 6 4. 7

33 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

log 2
7. กาหนดให้ y = log216 + log3( 19 ) + 9 3 แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 5 3. 6 4. 7

(1  log815  log9 2  log32)


8. กาหนดให้ A = 81 แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 814 3. 405
4 4. 581
4

9. กาหนดให้ A = log321 + log318 – log37 + log39 – log36 แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใด


ต่อไปนี้
1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

34 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

7.5 กำรหำค่ ำลอกำริทมึ


ลอการิ ทึมที่ใช้มากในการคานวณคือ ลอกำริทมึ สำมัญ (common logarithm)
ลอกำริทมึ สำมัญ คือลอการิ ทึมที่มีฐานเป็ น 10 เช่น log10a
การเขียนลอการิ ทึมสามัญ อาจไม่ตอ้ งเขียนแสดงฐาน 10 ละไว้ในฐานที่เข้าใจก็ได้
เช่น log10 a = log a เป็ นต้น
ลองพิจำรณำและจดจำตัวอย่ำงต่ อไปนี้
log 10 = log10 10 = 1
log 100 = log 102 = 2 log 10 = 2(1) = 2
log 1000 = log 103 = 3 log 10 = 3(1) = 3
log 0.01 = log 10–2 = –2 log 10 = –2(1) = –2
log 1 = log10 1 = 0
10. log 35 + log 6 – log 7 + log 10 – log 3 มีค่าเท่ากับเท่าใด

11(แนว มช) 6 log 5 – log 4 + log 108 log 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

7.6 กำรเปลีย่ นฐำนลอกำริทมึ


การเปลี่ยนฐานลอการิ ทึมจากฐานเดิมไปเป็ นฐานอื่นๆ สามารถทาได้โดยใช้สมบัติต่อไปนี้
log M
logN M = loga N
a
log 2
เช่น log3 2 = log10 3 = 0.3010
0.4771 = 0.6309
10

35 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

12. log2 10 + log2 9 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3.3219 2. 3.1700 3. 6.6438 4. 6.4919

ลอกำริทมึ ธรรมชำติ ( ลอกำริทมึ แบบเนเปี ยร์ ) คือลอการิ ทึมฐาน e


เมื่อ e คือจานวนธรรมชาติซ่ ึ งเท่ากับ 2.71828
ลอการิ ทึมฐาน e อาจเขียนให้อยูใ่ นรู ป ln ก็ได้
เช่น loge a = ln a
ตัวอย่ำงกำรหำค่ ำลอกำริทมึ ธรรมชำติ
ln 2 = loge2 = log 2 log 2 0.3010
log e = log 2.71828 = 0.4343 = 0.6931
13. กาหนดให้ A = ln2 + ln10 – ln20 และ B = e (ln5 + ln4 – ln2)
แล้ว A + B มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 20 4. 25

7.7 สมกำรเอกซ์ โพเนนเชียลและสมกำรลอกำริทมึ


14. คาตอบของสมการ 5 log 5 x – 3 log 3 9 = 2 log 5 x มีค่าเท่ากับเท่าใด

36 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

log 7 (x 2  2x)
15. คาตอบที่มากที่สุดของสมการ log4 log3 log2 7 = 0 มีค่าเท่ากับเท่าใด

16. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x – 2) = log x – log 2 เท่ากับข้อใด


1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

17. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x + 2) + log (3x – 4) = log (1 + 2x) เท่ากับข้อใต่อไปนี้


1. – 3 2. 0 3. 3 4. 3

18. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ (log3 5) (log5 10) (log10 x) = 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด


ต่อไปนี้
1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

19. ในช่วงเปิ ด (a , b) เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log16 x + log4 x + log2 x  7 แล้ว


a + b มีค่าเท่าใด
1. 13 2. 16 3. 29 4. 32

20. ช่วงคาตอบของอสมการ log (1 ) (2x  15)  0 คือข้อใดต่อไปนี้


3
1. (– , 7.5) 2. (7.5 , 8)
3. (7.5 , ) 4. (– , 7.5)  (8 , )

37 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

21. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 3x = 103 – 3–x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

22. ผลบวกของคาตอบของสมการ log3 x + 4 logx 3 = 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 36 2. 62 3. 84 4. 256

23. ค่าของ x จากสมการ 5x = 4x+1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2 3loglog2 2 2. 12log 2
log 3 3. 1 2 3loglog2 2 4. 1 2loglog2 3

38 @Kruguy
We are Victor

You might also like