You are on page 1of 205

ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ


บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

7.1 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
บทนิยำม ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว
an = a . a . a . a ……… a
n ตัว
a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0
a– n = a1n เมื่อ a ≠ 0
เรี ยก an ว่าเลขยกกาลัง
เรี ยก a ว่าฐานของเลขยกกาลัง
เรี ยก n ว่าเลขชี้กาลัง
เช่น 35 = 3 . 3 . 3 . 3 . 3
(–2)3 = (–2) x (–2) x (–2)
– 23 = – (2)3 = – ( 2 x 2 x 2 )
บทนิยำม ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง และ p , q เป็ นจานวนเต็มที่ (p , q) = 1 , q > 0
1
และ a q R โดยเมื่อ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็ น 0
p 1
aq = (aq ) p
ทฤษฏีบท ให้ m , n เป็ นจานวนตรรกยะ และ am , an , bn เป็ นจานวนจริ ง จะได้
1. am . an = am+n
2. amn = am–n เมื่อ a ≠ 0
a
3. (am)n = am n
4. (a.b)n = an . bn
5. ab n =  abnn  เมื่อ b ≠ 0
 

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. 23 . 22 =
2. 725 =
7
3. 52 + 53 =
4. 32 . 42 =

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. (23)2 =
2. (3 . 4 )2 =
3. ( 43 ) 3 =

ฝึ กทำ. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ ให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก


1. 7–2 =
2. 12 =
3
3. 8 a35 =
5
4. 45  =
5. 18 
3
=

a  x by
1. z
เมื่อเขียนให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3c
y y y y
1. 3 b ax. cz 2. b3 .acxz 3. 3 azcx. b 4. a3z .cbx

2
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
2
2.  21 3  เมื่อเขียนให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก จะเท่ากับข้อใด
 3a b 
1. a46 2. 9 a64 3. 3 a64 4. a46
9b b b 3b

3. ( 12 x–3y2)– 4 เมื่อเขียนให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


8 8
1. y 12 2. x128 3. 16 x812 4. 1612y
16 x 16 y y x

4
4. (2 x)3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x
1. 16 x 2. 16x 3. 8 x 4. 8x

3
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
5. b4 ( 13 b2 ) (12 b–8 ) เมื่อเขียนให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 4 b2 3. 1 4. b2
b2 4 b2 4

6. (a–5 b7) (a–2 b–7 c0) เมื่อเขียนให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. c7 2. c a7 3. 17 4. a7
a a

1
 x 1 y z 2 
7.  
 y 5 z x 8  เมื่อเขียนให้อยูใ่ นรู ปที่มีเลขชี้กาลังเป็ นบวก จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
6 3 76
1. y 7z 2. x7 6z3 3. x 3y 4. 7z3 6
x y z xy

4
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
2 1
8. ค่าของ 27 3 + 16 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8.0 2. 8.5 3. 9.5 4. 10.0

1
1 23 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
9. ค่าของ (–125) 3 . 125
1. –5 2. 5 3. 15 4. – 15

1
 x 4  2
10.  6 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4y 
1. 2 x2 y3 2. 1 3. x2 y3 4. 21 3
2x y3
2 xy

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
1
 125 x 3 y 4  3
11.   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 27x 6 y 
3 3
1. 5 2. 53xy3 3. 3 x5 y 4. 5 x3 y
3 x3 y

กฏเกีย่ วกับเลขยกกำลัง (เพิม่ เติม)


(x2 – y2) = (x – y) (x + y) ผลต่างกาลัง 2
(x3– y3) = (x – y) (x2 + xy+ y2) ผลต่างกาลัง 3
(x3 + y3) = (x + y) (x2 – xy+ y2) ผลบวกกาลัง 3
(x – y)2 = x2 – 2xy + y2 กาลังสองสัมบูรณ์
(x + y)2 = x2 + 2xy + y2
2 2
12.  x 1  y 1  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x y 
1. ( y + x ) 2. ( y – x ) 3. yxyx 4. yxyx

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
13. ค่าของ x22 2x 11 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x x
1. ( x + 1 ) 2. ( x – 1 ) 3. x 1 1 4. x 1 1

 1 1  2 1 1 2
14. ค่าของ  x 3  y 3   x 3  x 3 y 3  y 3  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
   
1. ( x + y ) 2. ( x – y ) 3. xxyy 4. xxyy

7.2 รำกที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์


บทนิยำม เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 a และ b เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
รากที่ n ของ a จะเท่ากับ b ก็ต่อเมื่อ bn = a
n
นัน่ คือ a = b ก็ต่อเมื่อ bn = a
2
เช่น 25 = 5 เพราะ 52 = 25
3
 64 = –4 เพราะ (–4)3 = –64
4
81 = 3 เพราะ 34 = 81
7
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ

สมบัตเิ กีย่ วกับรำกที่ n ที่ควรรู้


n
1. x เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่ ให้ตอบเฉพาะคาตอบที่เป็ นบวกเท่านั้น
เช่น 2 25 = 5 เท่านั้น
n
2. ถ้า x < 0 แล้ว x จะคิดได้ 2 กรณี ดังนี้
n
x จะหาค่าจานวนจริ งไม่ได้ ถ้า n เป็ นเลขคู่ เช่น 2  9 หาค่าไม่ได้
n
x จะหาค่าได้ ถ้า n เป็ นเลขคี่ เช่น 3  8 = –2
n 1n 3 1
3. =
x x เช่ น 8 8 3 เป็ นต้น
=
3 1 3
ลองพิจารณา 3 3
5 = (5 ) 3 = 5 จาง่าย ๆ 53 = 5
n
4. ( x )n = x เช่น ( 7 3 )7 = 3

n n x เมื่อ n เป็ นเลขคี่ เช่น 3  83 = –8


5. x =
 x  เมื่อ n เป็ นเลขคู่ เช่น 2  6 2 =  –6  = 6
n n
6. xy= n x เมื่อ x > 0 และ y > 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่ไม่ใช่ 1
y
n x y = n x  n y ถ้า x < 0 และ y < 0 จะใช้ได้ เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกคี่

15. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3
ก. 49 = –7 ข. 8 = –2
ข้อใดต่อไปนี้ ถกู ต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
16. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3
ก.  16 = –4 ข.  64 = –4
ข้อใดต่อไปนี้ ถกู ต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

3 6
17. ค่าของ ( x x ) 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 1 1
1. x 2. x 2 3. x 4 4. x 8

4 1
18. ค่าของ ( x x ) 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 1 1
1. x 2. x 2 3. x 4 4. x 8

9
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
19. ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นจริ ง
2 4 3
a. 5 = 5 b. 4  6 = –6 c. 3  9 = –9
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. เท็จทุกข้อ

20. ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นจริ ง


5 5 6 6 = –3
a.  7 = –7 b. 3
4 3
b.  54 = 5 d.  53 = –5
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. เท็จทุกข้อ

21. ค่าของ 3 3 + 4 256 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


 27
1. –1 2. 1 3. 3 4. 4

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
22. ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นจริ ง
a. 7 5 = 35 b. 3 2 3 3 = 6 6
3
c. 27 = 3 d. 72 = 6 12
9 36
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. เท็จทุกข้อ

23. ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นจริ ง


3
a. 12 75 = 30 b. 3 54  4 = 6 c. 3 9 27 = 9
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. เท็จทุกข้อ

24. ค่าของ 8 x 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 x 2. 4 x 3. 2 2 x 4. 2 2  x

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
3 4
25(แนว O–Net) 18  2  125  3 4 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –10 2. 10 3. –10 – 3 2 4. 10 – 3 2

26. ค่าของ 50 + 32 – 18 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 6 2. 10 3. 6 2 4. 10 2

3 3 3
27. ค่าของ 5 4 + 2 32 – 108 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 10 3. 6 3 4 4. 10 3 4

12
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ

28. ค่าของ 3 2 + 32 – 4 64 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 5 2. 8 3. 5 2 4. 8 2

29. ค่าของ 3 147 – 7 271 – 113 13 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 13 3 2. 15 3 3. 17 3 4. 19 3

30. ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นจริ ง


a. 25 = 210 b. 21 =
5
35 c. 96 = 2
15 2 12
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. เท็จทุกข้อ

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
31. ค่าของ 3 5 ( 10 +2 5 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 30 2. 50 3. 15( 2 + 2) 4. 15 2

32. ค่าของจานวนแต่ละข้อต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับตัวเลือกใด


ก. ( 3 + 2 ) ( 3 – 2 ) ข. (2 + 3 )2
1. ก. 1 ข. 7 2. ก. 1 ข. 7 + 4 3
3. ก. 5 ข. 7 4. ก. 5 ข. 7 + 4 3

33. ค่าของ ( 5 – 2 ) ( 2 5 – 1 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 + 5 5 2. 12 – 5 5 3. 15 2 4. 30

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
34. ค่าของ 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 2 3
1. 3 6 2. 4 6 3. 2 2 5 3 4. 2 2 5 3

35. 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 3
1. 2 (2 – 3 ) 2. 2 (2 + 3 ) 3. 2 3 4. 2 3
2 2

36. 10 6  2 7 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 6 2 7
1. 8 + 42 2. 8 – 42 3. 8  3 42 4. 8  3 42

15
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
37. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ x – 8 = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (0 , 20] 2. (20 , 40 ] 3. (40 , 60] 4. (60 , 100]

38. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 5x  1 + 6 = 10 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 2] 2. (2 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

39. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ x  7 = x – 5 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 2] 2. (2 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
40. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ x  7 = 3x  1 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (0 , 5] 2. (5 , 10 ] 3. (10 ,  ) 4. ไม่มีขอ้ ที่ถกู

41. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ x  1  x = 2 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 5] 2. (5 , 10 ] 3. (10 ,  ) 4. ไม่มีขอ้ ที่ถกู

42. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 3x  4  3x  5 = 9 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 5] 2. (5 , 10 ] 3. (10 ,  ) 4. ไม่มีขอ้ ที่ถกู

17
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
43. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 4x  1  x  2 = x  3 อยูใ่ นช่วงข้อใด
1. (0 , 5] 2. (5 , 10 ] 3. (10 ,  ) 4. ไม่มีขอ้ ที่ถกู

44. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ x 2  5 = x อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 5] 2. (5 , 10 ] 3. (10 ,  ) 4. ไม่มีขอ้ ที่ถกู

18
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
7.3 ฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียล
บทนิยำม ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล คือฟังก์ชนั
f = { (x , y)  R x R  y = ax เมื่อ a > 0 และ a  1 }
ข้ อควรทรำบ
1) ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลมี 2 แบบได้แก่
1.1 ฟังก์ชันเพิม่ 1.2 ฟังก์ชันลด
ฟังก์ชนั นี้ เมื่อ x เพิ่มขึ้นค่า y จะเพิ่ม ฟังก์ชนั นี้ เมื่อ x เพิ่มขึ้นค่า y จะลดลง
ตาม จะเกิดเมื่อ a > 1 เช่น y = 2x จะเกิดเมื่อ 0 < a < 1
Y Y

(0 , 1) (0 , 1)
X X

2) โดเมนของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซียล คือเซตของจานวนจริ ง


เรนจ์ของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซียล คือเซตของจานวนจริ งบวก
45. จากฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์เอกซ์โพเนนเชียล
a. y = 5x b. y = ( 23 )x c. y = 0x d. y = –0.5x e. y = 1x
1. 2 ข้อ 2. 3 ข้อ 3. 4 ข้อ 4. 5 ข้อ

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
46. จากฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม
x
a. y = 5x b. y = ( 17 )x c. y = 2 d. y = (sin 45)x e. y = 12 x
1. 2 ข้อ 2. 3 ข้อ 3. 4 ข้อ 4. 5 ข้อ

47. จานวน 100100 , 101000 , 100010 เมื่อเรี ยงลาดับจากน้อยไปมากจะได้ดงั ข้อใด


1. 100100 , 100010 , 101000 2. 100010 , 100100 , 101000
3. 100100 , 100010 , 101000 4. 100010 , 101000 , 100100

48. จานวน 715 7 , 525 7 , 910 7 เมื่อเรี ยงลาดับจากน้อยไปมากจะได้ดงั ข้อใด


1. 715 7 , 525 7 , 910 7 2. 525 7 , 715 7 , 910 7
3. 525 7 , 910 7 , 715 7 4. 910 7 , 715 7 , 525 7

20
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
วิธีกำรแก้สมกำรเอกซ์ โพเนนเชียล
ขั้นที่ 1 ทาให้ฐานเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ตัดฐานทิ้ง คิดเฉพาะตัวชี้กาลังที่เหลือ
49. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 10x = 100 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 0] 2. (0 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

50. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 3x = 271 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 0] 2. (0 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

51. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 16x = 4 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 0] 2. (0 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
52. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 4–x = 641 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 0] 2. (0 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

2x
53. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 12  = 64 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 0] 2. (0 , 4 ] 3. (4 , 6] 4. (6 , 10]

54(แนว มช) ถ้า 4x + 22x = 8 แล้ว xx เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

22
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
55. ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเซียล y = ax Y
ของกราฟในต่อไปนี้ คือข้อใด
1. y = 3x
10
8 (2 , 9)
2. y = ( 13 )x 6
3. y = ( 92 )x 4
2
4. y = ( 29 )x
–2 0 2 X

56. ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเซียล y = ax Y


ของกราฟในต่อไปนี้ คือข้อใด (–3, 8 ) 8
1. y = 2x 6
2. y = ( 12 )x 4
3. y = ( 83 )x
4. y = (– 83 )x
–2 0 2 X

23
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
วิธีแก้อสมกำรเอกซ์ โพเนนเชียล
ขั้นที่ 1 ทาให้ฐานเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ตัดฐานทิ้ง คิดเฉพาะตัวชี้กาลังที่เหลือ
แต่ระวังว่า หาก 0 < ฐาน < 1 ต้องเปลี่ยนเครื่ องหมายอสมการเสมอ
( เปลี่ยนจากมากกว่าเป็ นน้อยกว่า หรื อเปลี่ยนจากน้อยกว่าเป็ นมากกว่า )
57. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับอสมการ 16x > 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –3] 2. (–3 , –1 ] 3. (–1 , 0] 4. (0 , )

58. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับอสมการ 4–x  641 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 10] 2. (10 , 30 ] 3. (30 , 50] 4. (–50 , )

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
7.4 ฟังก์ ชันลอกำริทึม
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
จาก 34 = 81 จาก 23 = 8
อาจเขียนเป็ น 4 = log3 81 อาจเขียนเป็ น 3 = log2 8
จาก log2 16 = 4 จาก log10 100 = 2
อาจเขียนเป็ น 16 = 24 อาจเขียนเป็ น 100 = 102
ฝึ กทำ. จงเขียนสมการต่อไปนี้ ให้อยูใ่ นรู ปลอการิ ทึม
2
1. 42 = 16 2. 27 3 = 9 3. ( 12 )2 = 14 4. 2–6 = 641 5. 31 = 3

ฝึ กทำ. จงเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปเลขยกกาลัง


1. log10 100 = 2 2. log5 1 = 0 3. log3 3 = 1 4. log 1 25 = –3 5. log2 32 = 5
5

log x
59(แนว En) ถ้า 9 2 = 729 แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 1 2. 8 3. 18 4. 21

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
จากฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล ax = y เมื่อ a > 0 และ a  1
อินเวอร์สของฟังก์ชนั นี้คือ ay = x เมื่อ a > 0 และ a  1
ซึ่งอาจเขียนรู ปใหม่เป็ น y = loga x เมื่อ a > 0 และ a  1
ฟังก์ชนั อินเวอร์สของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยลนี้ เรี ยกฟังก์ลอกำริทมึ
บทนิยำม ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือ
{ (x , y)  R+ x R  y = loga x เมื่อ a > 0 และ a  1 }
เป็ นฟังก์ชนั ผกผันของฟังก์ชนั เอกโพเนนเชียล
{ (x , y)  R x R  y = ax เมื่อ a > 0 และ a  1 }

ข้ อควรทรำบเกีย่ วกับฟังก์ชันลอกำริทึม
1) ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม มี 2 แบบได้แก่ Y
1.1) ฟังก์ชนั เพิ่ม
คือ ฟังก์ชนั ซึ่งเมื่อค่า x เพิ่มแล้ว X
(1 , 0)
ค่า y จะเพิม่ ตามเกิดเมื่อ a > 1
1.2) ฟังก์ชนั ลด Y

คือ ฟังก์ชนั ซึ่งเมื่อค่า x เพิ่มแล้ว


ค่า y จะลดลงเกิดเมื่อ 0 < a < 1 (1 , 0) X

2) โดเมนของฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือจานวนจริ งบวก


เร็ นจ์ของฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือจานวนจริ ง
60. จากฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม
a. y = log5 x b. y = log x c. y = log0.5 x
2
1. 0 ข้อ 2. 1 ข้อ 3. 2 ข้อ 4. 3 ข้อ

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
สมบัตขิ องลอกำริทึม
1. loga (M.N) = loga M + loga N
2. loga ( MN) = loga M – loga N
3. loga Mx = x loga M
4. log x M = 1x log M
a a
1
5. log x M = log a M x
a
6. loga M = log x M x
a
7. loga a = 1
หมายเหตุ ; loga 0 = หาไม่ได้
8. log a 1 = 0
log0 a = หาไม่ได้
9. a logaM = M
logaM log1 a = หาไม่ได้
10. logN M = loga N
11. loga N1 = log 1 N
a
12. loga b = 1
log ba
13. loga x = loga y ก็ต่อเมื่อ x = y

ฝึ กทำ. จงเติม  ต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์


1. log y2 = log y 2. log x1/2 = log x 3. log 3 k = log k
ฝึ กทำ. จงเติม  ต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
1. log 6 z = log3 z 2. log 8 x = log4 x
(3 ) (4 )
ฝึ กทำ. จงเติม  ต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
1. log (35 ) (x4 ) = log3 x 2. log 3 (62 ) = logy 6
(y )
3. log (x4 ) =
k

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
ฝึ กทำ. จงเติม  ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. log 3 x
= logz x 2. log 2 6 = logz 6
(z 4 ) (z )

3. log x = logzx 4. log z (25 ) = log 2


( z)
ฝึ กทำ. จงเติม  ต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
1. log7 7 = 2. log71 =

61. ค่าของ log3 (35) + log3 9 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 5 3. 7 4. 10

3
62. ค่าของ (log2 4 ) ( log2 2 ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 13 3. 23 4. 43

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
63. ค่าของ log10 100 + log10 0.1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

64. ค่าของ loga (loga a) + log3 (loga a3) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

65. ค่าของ log2 (log2 4) – log10 (0.001)12 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 24 3. 30 4. 37

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
2
66. ค่าของ log 1 64 3 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

log 25
67. ค่าของ log 5 25 5 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

68. กาหนดให้ y = log2 log3 log4 (log5 2532) แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 3 3. 6 4. 7

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
69. กาหนดให้ log6 5 = 0.8982 แล้วค่าของ log36 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.8982 2. –0.4491 3. 0.4491 4. 0.8982

70. กาหนดให้ log4 46 = 2.7617 แล้วค่าของ log64 46 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1.3809 2. –0.9206 3. 0.9206 4. 1.3809

log 3
71. ค่าของ 7 7 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

31
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
log (10)
72. ค่าของ 3 3 3 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 2
1. 0 2. 1 3. 3 3 4. 10 3

log 2
73. กาหนดให้ y = log2 16 + log3 ( 19 ) + 9 3 แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 6 4. 7

(1  log81 5  log 9 4  log 3 2)


74. กาหนดให้ A = 81 แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 81 3. 405 4. 581

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
75. กาหนดให้ A = log3 21 + log3 18 – log3 7 + log3 9 – log3 6 แล้ว ค่าของ A เท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

7.5 กำรหำค่ำลอกำริทึม
ลอการิ ทึมที่ใช้มากในการคานวณคือ ลอกำริทึมสำมัญ (common logarithm)
ลอกำริทึมสำมัญ คือลอการิ ทึมที่มีฐานเป็ น 10 เช่น log10a
การเขียนลอการิ ทึมสามัญ อาจไม่ตอ้ งเขียนแสดงฐาน 10 ละไว้ในฐานที่เข้าใจก็ได้
เช่น log10 a = log a เป็ นต้น
ลองพิจำรณำและจดจำตัวอย่ำงต่อไปนี้
log 10 = log10 10 = 1
log 100 = log 102 = 2 log 10 = 2(1) = 2
log 1000 = log 103 = 3 log 10 = 3(1) = 3
log 0.01 = log 10–2 = –2 log 10 = –2(1) = –2
log 1 = log10 1 = 0
76. log 100000 + log 0.0001 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
77. ( log 2 + log 50 ) ( log 3 – log 300 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

78. log 35 + log 6 – log 7 + log 10 – log 3 มีค่าเท่ากับเท่าใด

79(แนว มช) 6 log 5 – log 4 + log 108 log 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
การหาลอการิ ทึมสามัญ สามารถหาได้จากต้องใช้ตารางลอการิ ทึมดังนี้

จากตารางจะได้ว่า log 1.25 = 0.0969 และ log 2.00 = 0.3010 เป็ นต้น
ฝึ กทำ. กาหนด log 2 = 0.3010 และ log 3 = 0.4771 จงหาค่าต่อไปนี้
1. log 8 2. log 9 3. log 6 4. log 300 5. log 0.02

80. กาหนดให้ log 3.51 = 0.5453 แล้วค่า log ต่อไปนี้ ตรงกับตัวเลือกใด


ก. log 3510 ข. log 0.351
1. ก. 3.5453 , ข. –0.4547 2. ก. 3.5453 , ข. –0.5453
3. ก. 3.4547 , ข. –0.4547 4. ก. 3.4547 , ข. –0.5453

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
81. กาหนดให้ log 9.87 = 0.9943 และ log M = 3.9943 แล้ว M มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.30 x 102 2. 1.30 x 103 3. 9.87 x 102 4. 9.87 x 103

82. กาหนด log 5.73 = 0.7582 ถ้า log K = –4.2418 แล้ว ค่าของ K เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5.73 x 10–4 2. 5.73 x 10–5 3. 1.75 x 10–4 4. 1.75 x 10–5

7.6 กำรเปลี่ยนฐำนลอกำริทึม
การเปลี่ยนฐานลอการิ ทึมจากฐานเดิมไปเป็ นฐานอื่นๆ สามารถทาได้โดยใช้สมบัติต่อไปนี้
log M
logN M = loga N
a
log 2
เช่น log3 2 = log10 3 = 0.3010
0.4771 = 0.6309
10
83. ค่าของ log2 10 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –3.3322 2. –1.6661 3. 1.6661 4. 3.3222

36
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
84. ค่าของ log3 6 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1.6309 2. –0.8155 3. 0.8155 4. 1.6309

ลอกำริทึมธรรมชำติ ( ลอกำริทึมแบบเนเปี ยร์ ) คือลอการิ ทึมฐาน e


เมื่อ e คือจานวนธรรมชาติซ่ ึงเท่ากับ 2.71828
ลอการิ ทึมฐาน e อาจเขียนให้อยูใ่ นรู ป ln ก็ได้
เช่น loge a = ln a
ตัวอย่ำงกำรหำค่ำลอกำริทึมธรรมชำติ
ln 2 = loge2 = log 2 log 2 0.3010
log e = log 2.71828 = 0.4343 = 0.6931
85. ค่าของ ln 103 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –6.9077 2. –3 3. 3 4. 6.9077

86. กาหนดให้ A = ln 2 + ln 10 – ln 20 และ B = e(ln 5 + ln 4 – ln 2)


แล้ว A + B มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 20 4. 25

37
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
7.7 สมกำรเอกซ์ โพเนนเชียลและสมกำรลอกำริทึม
87. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log 2x = 3 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 ,100] 4. (100 , )

88. เซตคาตอบของสมการ log2 (x – 1) = 5 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 10] 3. (10 , 100] 4. (100 , 120]

89. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 2 log 2x = 2 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 ,100] 4. (100 , )

38
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
90. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log4 log3 log2 (x2 – 2x) = 0 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด
ต่อไปนี้
1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 ,100] 4. (100 , )

91. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log4 2 log 10 + log2 (1 + 3 log2 x) = 12 เป็ น
สับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 ,100] 4. (100 , )

92. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ log3 x + log9 x + log27 x = 11 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด


1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 ,100] 4. (100 , )

39
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
93. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log a + log (a – 9) = 1 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 0] 2. (0 , 10 ] 3. (10 , 100] 4. (100 , )

94. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log5 (x + 1) – log5 (x – 1) = 2 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด


1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 ,100] 4. (100 , )

95. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ log x = log 2 + log 5 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด


1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

40
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
96. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ log 2x = 3 log 5 + 4 log 2 – 3 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด
1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

97. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ log2 3 + log2 x = log2 5 + log2 (x – 2) เป็ นสับเซตของ


ช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

98(แนว มช) ถ้า (log3x y3) (log5 3x) = logxx3 แล้ว y มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 3 3. 5 4. 10

41
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
2 log 64 8
99. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ (log3 5) (log5 10) (log10 x) = 4 เป็ นสับเซตของ
ช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

100(แนว En) ในช่วงเปิ ด (a , b) เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log (3x + 4)  log (x – 1) + 1


แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

101(แนว A–Net) จานวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมการ log 1 [ log3 (x + 1) ]  –1 มีจานวน


2
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 7 3. 8 4. มากกว่า 8

42
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
102. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 22x – 3. 2x + 2 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

103. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 32x+1 + 9 = 28 (3x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

104. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 34x+2 – 2 32x+1 + 86 = 89 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

43
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
105. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 3x = 103 – 3–x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

106. ผลบวกของคาตอบของสมการ 2x  2x = 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 4

3 3
107. ผลบวกของคาตอบของสมการ x 2  7 x + 12 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 9 3. 91 4. 256

44
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
108. ผลบวกของคาตอบของสมการ (log2 x)3 – (log2 x)2 – 2 (log2 x) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 3 3. 92 4. 112

109. ผลบวกของคาตอบของสมการ log3 x + 4 logx 3 = 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 36 2. 62 3. 84 4. 256

110. สมการ log4 x + logx 4 = 174 มีคาตอบกี่จานวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

45
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
111. คาตอบของสมการ log16 x + logx2 4 = 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 4 3. 16 4. 64

112. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ 2x = 32 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

113. ค่าของ x จากสมการ 3x = 36 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. log 2 2. log 3 3. 2log
log 2
3 4. 2 log log
2  2 log 3
3

46
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
114. ค่าของ x จากสมการ 5x = 4x+1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3loglog2 2 2. 12log 2
log 3 3. 1 2 3loglog2 2 4. 1 2loglog2 3

115. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ x2 2x – 2x = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

116. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ 4x3 e–3x – 3x4 e–3x = 0 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด


1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

47
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
7.8 กำรประยุกต์ของฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและฟังก์ ชันลอกำริทึม
117. จานวนแบคทีเรี ยในการเพาะเชื้อจุลินทรี ย ์ ใน t ชัว่ โมง มีสูตร n(t) = 500 e0.45 t
จงหาว่าเป็ นเวลานานกี่ชวั่ โมง จึงจะมีจานวนแบคทีเรี ย 10000 ตัว

118. ในปี พ.ศ. 2541 จานวนประชากรของจังหวัดหนึ่งเท่ากับ 112,000 คน และมีอตั ราการ


การเติบโตเท่ากับ 4% ต่อปี ถามว่าจังหวัดนี้ จะมีประชากร 200,000 คน ปี พ.ศ.ใด
กาหนดให้ n(t) = no (1 + r)t
เมื่อ n(t) แทน จานวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป t
no แทน จานวนประชากร ณ จุดเริ่ มต้น
r แทน อัตราการเติบโตของจานวนประชากรต่อเวลา
t แทน เวลา

48
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
119. ธาตุซีเซียม-137 มีครึ่ งชีวิต 30 ปี ถ้ามีธาตุซีเซียมที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 กรัม
จงหาว่าจะใช้เวลานานกี่ปี จึงจะมีซีเซียมเหลืออยู่ 2 กรัม
กาหนดให้ m(t) = mo e–rt
เมื่อ m(t) แทน ปริ มาณของสารกัมมันตภาพรังสีที่เหลืออยูเ่ มื่อเวลาผ่านไป t
m0 แทน ปริ มาณของสารกัมมันตภาพรังสี ณ จุดเริ่ มต้น
r แทน lnh2
h แทน ครึ่ งชีวติ

120. ถ้าสารกัมมันตภาพรังสีจานวน 250 มิลลิกรัม สลายตัวเหลืออยู่ 200 มิลลิกรัม ในเวลา


48 ชัว่ โมง จงหาครึ่ งชีวิตของสารนี้ ในหน่ วยชัว่ โมง

49
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
เฉลยบทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

1. ตอบข้อ 2. 2. ตอบข้อ 2. 3. ตอบข้อ 3. 4. ตอบข้อ 1.
5. ตอบข้อ 1. 6. ตอบข้อ 3. 7. ตอบข้อ 4. 8. ตอบข้อ 3.
9. ตอบข้อ 4. 10. ตอบข้อ 2. 11. ตอบข้อ 4. 12. ตอบข้อ 3.
13. ตอบข้อ 1. 14. ตอบข้อ 2. 15. ตอบข้อ 3. 16. ตอบข้อ 3.
17. ตอบข้อ 1. 18. ตอบข้อ 3. 19. ตอบข้อ 3. 20. ตอบข้อ 3.
21. ตอบข้อ 3. 22. ตอบข้อ 2. 23. ตอบข้อ 2. 24. ตอบข้อ 4.
25. ตอบข้อ 1. 26. ตอบข้อ 3. 27. ตอบข้อ 3. 28. ตอบข้อ 3.
29. ตอบข้อ 4. 30. ตอบข้อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้อ 2.
33. ตอบข้อ 2. 34. ตอบข้อ 4. 35. ตอบข้อ 1. 36. ตอบข้อ 2.
37. ตอบข้อ 4. 38. ตอบข้อ 2. 39. ตอบข้อ 4. 40. ตอบข้อ 1.
41. ตอบข้อ 4. 42. ตอบข้อ 2. 43. ตอบข้อ 2. 44. ตอบข้อ 4.
45. ตอบข้อ 1. 46. ตอบข้อ 2. 47. ตอบข้อ 2. 48. ตอบข้อ 4.
49. ตอบข้อ 2. 50. ตอบข้อ 1. 51. ตอบข้อ 2. 52. ตอบข้อ 2.
53. ตอบข้อ 1. 54. ตอบข้อ 1. 55. ตอบข้อ 1. 56. ตอบข้อ 2.
57. ตอบข้อ 4. 58. ตอบข้อ 1. 59. ตอบข้อ 2. 60. ตอบข้อ 3.
61. ตอบข้อ 3. 62. ตอบข้อ 3. 63. ตอบข้อ 3. 64. ตอบข้อ 3.
65. ตอบข้อ 4. 66. ตอบข้อ 2. 67. ตอบข้อ 4. 68. ตอบข้อ 1.
69. ตอบข้อ 3. 70. ตอบข้อ 3. 71. ตอบข้อ 4. 72. ตอบข้อ 4.
73. ตอบข้อ 3. 74. ตอบข้อ 2. 75. ตอบข้อ 3. 76. ตอบข้อ 3.
77. ตอบข้อ 1. 78. ตอบ 2 79. ตอบ 6 80. ตอบข้อ 1.
81. ตอบข้อ 4. 82. ตอบข้อ 2. 83. ตอบข้อ 4. 84. ตอบข้อ 4.
85. ตอบข้อ 4. 86. ตอบข้อ 2. 87. ตอบข้อ 4. 88. ตอบข้อ 3.
89. ตอบข้อ 2. 90. ตอบข้อ 2. 91. ตอบข้อ 2. 92. ตอบข้อ 4.
93. ตอบข้อ 2. 94. ตอบข้อ 2. 95. ตอบข้อ 3. 96. ตอบข้อ 1.
97. ตอบข้อ 2. 98. ตอบข้อ 3. 99. ตอบข้อ 4. 100. ตอบ 3
101. ตอบข้อ 2. 102. ตอบข้อ 3. 103. ตอบข้อ 3. 104. ตอบข้อ 2.
105. ตอบข้อ 2. 106. ตอบข้อ 1. 107. ตอบข้อ 3. 108. ตอบข้อ 4.
50
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
109. ตอบข้อ 3. 110. ตอบข้อ 3. 111. ตอบข้อ 2. 112. ตอบข้อ 2.
113. ตอบข้อ 4. 114. ตอบข้อ 3. 115. ตอบข้อ 2. 116. ตอบข้อ 1.
117. ตอบ 7 118. ตอบ 2556 119. ตอบ 70 120. ตอบ 149

51
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
ตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

7.1 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็ม
1. 37 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
32 34

1. 3 2. 9 3. 27 4. 81

75
2. 6 x5 y 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2x y
3
1. 3 x2 y3 2. 3 y2 3. 3 4. 3 x32
x x 2 y3 y

9 4
3. x (2x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x3
1. 8 x10 2. 8 x13 3. 16 x10 4. 16 x13

4. 576 + ( 389 . 653 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


5 3 6
1. 8 2. 11 3. 17 4. 20

2
5. (2 x 3)2 .  23  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 16 3. 32 4. 64

2 1
6. (23)2 .   12   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1. 8 2. 16 3. 32 4. 64

1 1
7. (–5)–1 +  12  +  65  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 25 2. 52 3. 1 4. 3

52
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
8. (8 x–5 y2)–3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1583 6 2. 158 6 3. x156 4. x3156
x y x y 8y 8y

9. (2ab–1) (ab2)–2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 17 3. 27 4. 25
a a ab

2 3 4 ) 3
10. (x y ) (xy มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x2y
1. 1 2. 3110 3. x3 y5 4. x3 y10
xy

 a 1 b2 
3
11.  c3 
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 16 9 2. a3 9b6 3. 3c9 6 4. a3 b6 c9
a b c c a b

1
 5 2  54 
12.   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 53 
1. 12 2. 15 3. 5 4. 52
5

2
13.  a 4 b2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 c3 

1. 8 14 6 2. 8b4 6 3. a8 4c6 4. a8 b4 c6
a b c a c b

2
3
14.  27  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
27
1. 64 2. 1 3. 43 4. 9

53
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
3
2
15. 16  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
9
1. 6427 2. 1 3. 43 4. 9

2
3
16. 18  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 41 2. 1 3. 4 4. 6

2
3
17.  18  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 41 2. 1 3. 4 4. 6

2
1 3 + (125)  13 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
18. 125
1. – 256 2. – 254 3. 256 4. 254

1
 x 4  2
19.  6 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 4y 
23 3
1. x 23 2. 1 3. x 2y 4. y 2
2y 2 x 2 y3 2x

2
 27 x 3  3
20.  6  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 y 
1. 9 x42 2. 9 x63 x9
3. 9 18 x6
4. 9 12
y y y y

 2 
3
 x3 
21.  3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
  
x 2 
13
1. 1 2. x 3. x3 4. x 2

54
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
 1 1
2
 2 3
22. x y  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 1 
 x4 
 
1 2 2
1. 1 2. x y 3. x 2 y 3 4. x y 3

1
 125 x 3 y 4  3
23.   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 27x 6 y 
1. 53 x3y 2. 53 x9y3 3. 259 x3y 4. 259 x9y3

2
24. a2  b22 + ab 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(a  b)  1  1 
a b 

1. 1 2. a b 3. a1b 4. ab
(a  b)2

25. 9  a4 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3a1  a
1. (a4 + 3) 2. a (a4 + 3) 3. (a2 + 3) 4. a (a2 + 3)

26. (a + b)–1 (a–1 + b–1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. a b 3. a1b 4. ab
(a  b)2

1
27. (a1 b) 1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
a b
1. 1 2. a b 3. a1b 4. ab
(a  b)2

1 1
28. ( r 1  q1 ) ( rr  qq ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
r q
(q  r) 2
1. –1 2. r q 3. (q  r)
4. (r  q) 2
(q  r)

55
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
29. x 22 2x 11 1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x x
1. x 2. 1x 3. 1 – x 4. 1 1 x

3 3
30. x 1  y1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x y
2 2 2  y2
1. x 2. x 1 y 3. x 2 y2 4. x  xy
x y x2y2

3
31. เซตคาตอบของสมการ x 2 = 8 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้
1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

2 1
32. ผลบวกคาตอบของสมการ x 3 – 2 x 3 – 3 = 0 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 18 2. 22 3. 24 4. 26

1 1
33. ผลบวกคาตอบของสมการ 2 x 3 + 2 x 3 = 5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 598 2. 658 3. 593 4. 653

7.2 รำกที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์


3 6
34. ค่าของ x 3 x 2 x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 5 7
1. x 2. x 2 3. x 3 4. x 3

 
4
35. ค่าของ  a  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 a 8 a 
 
1 1 1
1. a 2. a 2 3. a 4 4. a 8

56
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
2 1 3 1
36. ค่าของ [(a 3 ) 3 ] 2 2
. [( a ) ] 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1 1
1. 1 2. a 3. a 2 4. a 3

4 3 16 9 3 7 1
37. ค่าของ ( a ) ( a ) ( a )6 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 5
1. 1 2. a 3. a 8 4. a 8

2 5 1
38. ค่าของ (4 m 3 ) 3  (5 m 6 )12 + (3 b5 ) 2  6 b 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. m 2. m + 1 3. m + b 4. m2 + b

39. ค่าของ { 4 (x 23 y12 )3 } 23 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1 2
1. xy 2. x 21 3. 13
x 4. 33
x
y4 y4 y4

4 3 1
40. ค่าของ a a เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 1
1. 1 2. a 3. a 2 4. a 6

 2 1 
2
3
41. ค่าของ  a 3 b2    a 1  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 ab1   b3 
  
1. 1 2. a2 3. b32 4. a32
b a b

42. x  x  20 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x5
1. x 2. x + 4 3. x + 5 4. 1
x4

57
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
3 2 3
43. x  3 x  2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3
x 1
3 3 3
1. x 2. x +1 3. x + 2 4. 1
3
x 1

6
44. 3 64 + 641 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 25 2. 72 3. 92 4. 112

45. 5 12 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
7 3
1. 105 2. 75 3. 75 4. 107

46. 2 3 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
6
1. 2 2. 2 2 3. 3 4. 5 3

47. 96 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 12
1. 2 2. 2 2 3. 3 4. 5 3

3 3
48. 3 5 3 2 10 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 20
3 3 3 3
1. 23 2
5 2. 23 2
5 3. 23 5
2 4. 23 5
2

49. 5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2
1. 105 2. 25 3. 1015 4. 210

58
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
3
50. 20 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 105 2. 25 3. 1015 4. 210

51. 3 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 12
1. 42 2. 43 3. 45 4. 46

52. 12 + 27 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 3 3. 4 3 4. 5 3

53. 20 + 45 – 125 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 3 3. 4 3 4. 6 3

54. 3 20 + 2 18 – 45 + 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 + 2 2. 5 – 2 3. 3 5 – 8 2 4. 3 5 + 8 2

3
55. 18 + 128 + 8 – 3 54 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 3 3 3
1. 5 2 – 2 2. 5 2 + 2 3. 3 2 – 2 4. 3 2 + 2

3 3 3
56. 81 + 375 – 192 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 3 3 3
1. 3 2. 2 3 3. 3 3 4. 4 3

4
57. 3 2  32  64 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 4
1. 2 2. 5 2 3. 2 4. 5 2

58. 18a 3b3  a 8ab3  b 50a 3b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  4 ab 2ab 2.  4 a b 2ab 3. – 4 a b 2ab 4.  4 ab 2ab
59
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
59. 3a 5a – 5 5a + 10 a5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. a 3. 3 a 4. 65 a

60. 23 23 + 23 2 – 3 1 + 1 6 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 6 2
1. 0 2. 6 3. 65 6 4. 65 6

61. (2 3 + 7 ) (2 3 – 7 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 7 4. 9

62. 1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 2
1. 2 2 2. 3 3. 3 7 2 4. 3 7 2

63. 1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 2 3
1. 2 2 2. 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3
5 5

64. 2มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 3
1. 2 (2 + 3 ) 2. 2 (2 – 3 ) 3. 2 3 4. 2 3
2 2

65. 1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 2 5
1. 18  12  30 2. 18  12  30
3. 18  1212  30 4. 18  12  30
12

66. 4 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 3  7
1. 3  7 2. 21
3. (2 33 7 ) 4. 3 (2 3  7 )
3
60
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
67. 1  1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
5 2 5 2
1. 2 2. 4 3. 5 4. 10

68. 7 1  7  1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
7 1 7 1
1. 8 2. 42 3. 83 4. 42
3

69. 10  2 24 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 – 6 2. 6 + 6 3. 2 – 6 4. 2 + 6

70. 4  2 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 – 3 2. 3 + 3 3. 1 – 3 4. 1 + 3

71. 2 2 2........ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 2 3. 2 2 4. 

4 4 4
72. 7 7 7......... มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 7 3. 3 7 4. 4 7

73. 2  2  2  ........ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 2 3. 2 2 4. 

74. ผลบวกคาตอบของสมการ 2x  3 = 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 3 3. 5 4. 7

75. ผลบวกคาตอบของสมการ 7 3x  5 = 28 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 3 3. 5 4. 7

61
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
76. ผลบวกคาตอบของสมการ x  9 + 11 = x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 16 3. 17 4. 23

77. ผลบวกคาตอบของสมการ 2x – 2x  3 = 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 5 3. 7 4. 9
2 2 2 2

78. ผลบวกคาตอบของสมการ x  7  x = 7 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 7 2. 9 3. 22 4. 42

79. ผลบวกคาตอบของสมการ x  8 – x 1 + 1 = 0 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 7 2. 16 3. 17 4. 23

80. ผลบวกคาตอบของสมการ 2x  3 – x  7 + 2 = 0 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 24 3. 42 4. 44

81. เซตคาตอบของสมการ x  12 + x = 2 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

82. เซตคาตอบของสมการ x  1 – x = 2 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

83. เซตคาตอบของสมการ – x 2  21 = x + 3 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

84. เซตคาตอบของสมการ 3x  4 + 3x  5 = 9 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

62
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
85. เซตคาตอบของสมการ 4x  1 – x  2 = x  3 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้
1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

7.3 ฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียล


86. ถ้า f (x) = 2–x และ g (x) = 3x แล้ว g (3) + f (0) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 3 3. 27 4. 28

87. ถ้า f (x) = 2–x และ g (x) = 3x แล้ว (f o g) (1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 18 2. 12 3. 2 4. 8

88. ฟังก์ชนั ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม


ก. y = ( 12 ) x ข. y = 2–x ค. y = ( 23 )x ง. y = ( 43 )x
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

89. ฟังก์ชนั ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั เพิม่


x
ก. y = ( 45 ) x ข. y = ( 65 ) x ค. y = ( 1 a a )x ง. y =  1 2a2 
 a 
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

90. ข้อใดต่อไปนี้ ถกู ต้อง


1. ( 14 )3 > ( 14 )5
2 3
2. (1a a ) < (1a a ) เมื่อ a > 0
2 3
3. ( aa 1 ) > ( aa 1 ) เมื่อ a > 0
4. ถูกทุกข้อ

91. จานวน 715 7 , 525 7 , 910 7 จานวนที่มากที่สุดคือข้อใดต่อไปนี้


1. 525 7 2. 715 7 3. 910 7 4. เปรี ยบเทียบไม่ได้
63
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
x
92. เซตคาตอบของสมการ 12  = 16 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้
1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. 

93. เซตคาตอบของสมการ 4x–3 = 1 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

94. เซตคาตอบของสมการ 8x–2 = 4 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

95. เซตคาตอบของสมการ 8 (29x) = (64)x+3 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

96. เซตคาตอบของสมการ (4x– 1) (4x –2) = 0 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. [0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

97. ถ้า m เป็ นรากของสมการ 2x – 2x–2 = 3


และ n เป็ นรากของสมการ 7x – 7x–1 = 6
แล้ว m + n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

98. ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเซียล y = ax ของ Y


กราฟที่กาหนด คือข้อใดต่อไปนี้ 14
1. y = ( 14 )x 12

 (2,9)
10
2. y = ( 12 )x
8
3. y = 3x
6
4. y = 5x 4
2
X
64
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
99. ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเซียล y = ax ของ Y
กราฟที่กาหนด คือข้อใดต่อไปนี้
6
1. y = ( 14 )x
2. y = ( 12 )x 4
3. y = 3x
4. y = 5x 2
(–1, 15 )

–2
0 2
X

100. ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเซียล y = ax ของ Y


กราฟที่กาหนด คือข้อใดต่อไปนี้
1. y = ( 14 )x 6
2. y = ( 12 )x
4
3. y = 3x
4. y = 5x 2

2
(2, 16
1 )

–2 0 X

101. ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเซียล y = ax ของ Y


กราฟที่กาหนด คือข้อใดต่อไปนี้ 10
1. y = ( 14 )x
2. y = ( 12 )x
(–3, 8 ) 8
6
3. y = 3x 4
4. y = 5x

0 X
–2 2

65
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
102. เซตคาตอบของอสมการ 2x+3 > 4 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –1) 2. (– , 0) 3. (–1 , ) 4. (0 , )

103. เซตคาตอบของอสมการ 52x–3 > 5x+8 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –1) 2. (– , 0) 3. (0 , ) 4. (11 , )

104. เซตคาตอบของอสมการ ( 12 )2x1 > 14 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –2) 2. (– , 12 ) 3. ( 12 , ) 4. (–2 , )

105. เซตคาตอบของอสมการ 13 4x > 3 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –2) 2. (– , – 23 ) 3. (– , – 41 ) 4. (–4 , )

x
106. เซตคาตอบของอสมการ 41  < 256 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –2) 2. (– , – 23 ) 3. (– , – 41 ) 4. (–4 , )

x 2 3x 4 1 x9
107. เซตคาตอบของอสมการ 12  < 2  คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –3)  (0 , ) 2. (–3 , 0)
3. (– , –1)  (5 , ) 4. (–1 , 5)

2
108. เซตคาตอบของอสมการ ( 23 )x  2x > 278 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –1)  (3 , ) 2. (–1 , 3)
3. (– , –2)  (4 , ) 4. (–2 , 4)

2
109. เซตคาตอบของอสมการ ( 13 )x  8 > ( 19 )x คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –1)  (3 , ) 2. (–1 , 3)
3. (– , –2)  (4 , ) 4. (–2 , 4)

66
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
(x2  3x  23 )
110. เซตคาตอบของอสมการ 5 < 5 5 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –3)  (0 , ) 2. (–3 , 0)
3. (– , –1)  (5 , ) 4. (–1 , 5)

7.4 ฟังก์ ชันลอกำริทึม


cd
111(แนว En) ถ้า a , b , c และ d เป็ นจานวนจริ งบวก ซึ่งไม่เท่ากับ 1 แล้ว a b เป็ นคาตอบของ
สมการใด
1. loga [logb (logc x)] = d 2. logb [logc (logd x)] = a
3. logc [logb (loga x)] = d 4. logd [logc (logb x)] = a

112. จากฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม


a. y = log x b. y = log 1 x c. y = log 3 x
2 2 2
1. 0 ข้อ 2. 1 ข้อ 3. 2 ข้อ 4. 3 ข้อ

113. log2 32 + log3 81 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

114. log25 125 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

115. log  1  64 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


4
 
 

1. –3 2. –1 3. 1 4. 3

116. log2 (sin 30o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

67
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
117. log 1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 33
1. –1 2. – 16 3. – 23 4. 83

31
118. log 49 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
7
1. –1 2. – 16 3. – 203 4. 803

119. log 1 8  log 1 2  log 2 18  log8 12 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2 8
1. 0 2. – 16 3. – 203 4. 803

120. log4 0.25 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

121. log25 0.04 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

122. log50 0.02 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

123. log5 0.2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 23 4. 9

124. log2 log3log4 ( log 5 2532 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 5

log 5 2 log 3
125. 2 2 + 5 5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 8 4. 14

68
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ

126. 4 log 2 5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 15 2. 1 3. 5 4. 25

127. 8log 2 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 271 2. 13 3. 3 4. 27

log 2
128. log2 16 + log3 ( 19 ) + 9 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 4 4. 6

129. 7(log7 5  log 7 2) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 6 3. 10 4. 16

130. 5(3 log 5 2  2 log 5 3) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี



1. 1 2. 24 3. 48 4. 72

131. 8(1  log 2 5) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 10 3. 100 4. 1000

7.5 กำรหำค่ำลอกำริทึม
132. log 35 + log 6 – log 7 + log 10 – log 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 10

133. log 35 – log 47 + log 5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 10

39 – log 13 + log 5 – log 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


134. log 121 66 21 77
1. 0 2. 1 3. 2 4. 10
69
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
135. log 133 143 77 13
65 – log 90 + log 171 + 2 log 7 – log 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 10

136. (log3 9) (log4 16) + 3 log 20 – log 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 7 4. 10

137. (log2 8) (log3 81) + log 256 – 4 log 400 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 4

138. กาหนดให้ log 2 = 0.3010 , log 3 = 0.4771 แล้ว log 36 มีค่าเท่ากับเท่าใด

139. กาหนดให้ log 2 = 0.3010 , log 3 = 0.4771 แล้ว log 15 มีค่าเท่ากับเท่าใด

140. กาหนดให้ log 2 = 0.3010 , log 3 = 0.4771 แล้ว log 1.2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

141. กาหนดให้ log 2 = 0.3010 , log 3 = 0.4771 แล้ว log 1.25 มีค่าเท่ากับเท่าใด

142. กาหนดให้ log 6.81 = 0.8331 และ log N = 2.8331 แล้ว N มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6.81 x 10–4 2. 6.81 x 10–2 3. 6.81 x 102 4. 6.81 x 104

143. กาหนดให้ log 6.81 = 0.8331 และ log N = –3.1669 แล้ว N มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6.81 x 10–4 2. 6.81 x 10–2 3. 6.81 x 102 4. 6.81 x 104

7.6 กำรเปลี่ยนฐำนลอกำริทึม
144. กาหนดให้ log5 3 = 0.68 แล้วค่าของ (log2 3) (log5 2) มีค่าเท่ากับเท่าใด

145. (logb a) (logc b) (loga c) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. log a 3. log b 4. log c
70
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
146. (log3 2) (log4 3) (log5 4) ……. (log16 15) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 14 3. 1 4. 10

147. (log2 1) (log3 2) (log4 3) ……. (log101 100) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 14 3. 1 4. 10

148. log 1 abc  log 1 abc  log 1 abc มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


a b c
1. 0 2. 14 3. 1 4. 10

149. กาหนดให้ log3 2 = 0.631 แล้วค่าของ log4 9 มีค่าเท่ากับเท่าใด

150. eln 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 3 3. e 4. 3e

151. e(ln x + ln 3) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x 2. 3x 3. xe 4. xe

7.7 สมกำรเอกซ์ โพเนนเชียลและสมกำรลอกำริทึม


152. เซตคาตอบของสมการ log3 x = 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (–10 , 0) 2. (0 , 10] 3. (10 , 100] 4. (100 , 120]

153. เซตคาตอบของสมการ logx 125 = 3 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 10] 3. (10 , 100] 4. (100 , 120]

154. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log (2x + 4) = 2 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 , 100] 4. (100 , )

71
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
155. ผลบวกของคาตอบของสมการ log6 (x2 – x) = 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 10 4. 18

156. ผลบวกของคาตอบของสมการ log2 (x2 – 2x) = 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –4 2. 2 3. 6 4. 10

157. ผลบวกของคาตอบของสมการ log10 (log10 x) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –2 2. 1 3. 10 4. 18

158. ผลบวกของคาตอบของสมการ log3 log2 log (x2 + 36) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 6 4. 8

log 7 (x 2  2x)
159. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log4 log3 log2 7 = 0 เป็ นสับเซตของช่วง
ข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –20] 2. (–20 , 10 ] 3. (10 , 100] 4. (100 , )

160. ผลบวกของคาตอบของสมการ log [3 + 2 log (1 + x) ] = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 109 2. 0 3. 1 4. 109

161. ผลบวกของคาตอบของสมการ logx 4 + logx 16 + logx 64 = 12 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 2 3. 4 4. 5

162. เซตคาตอบของสมการ log16 x + log4 x + log2 x = 7 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 10] 3. (10 , 100] 4. (100 , 120]

163. ผลบวกของคาตอบของสมการ 5 log5 x – 3 log3 9 = 2 log5 x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 10 3. 25 4. 125

72
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
164. ผลบวกของคาตอบของสมการ log2 (x + 1) – log2 x = 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 17 2. 1 3. 3 4. 7

165. ผลบวกของคาตอบของสมการ log2 (x + 2) + log2 (x – 1) = 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –4 2. 2 3. 6 4. 10

166. ผลบวกของคาตอบของสมการ log9 (x – 5) + log9 (x + 3) = 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –4 2. 2 3. 6 4. 10

167. เซตคาตอบของสมการ log (x2 + 4) = 2 log x + 1 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. (10 , 20]

168. เซตคาตอบของสมการ log (2 – x) = log (4 + 2x) – 2 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. (10 , 20]

169. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x2 + 1) – 2 log x = 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 13 3. 1 4. 3

170. เซตคาตอบของสมการ 2 log x  21 = 2 – log x เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. (10 , 100]

171. ผลบวกของคาตอบของสมการ 4 log x – log 81 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –3 2. 0 3. 3 4. 9

172. เซตคาตอบของสมการ log x – log 9 = 1 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (–10 , 0) 2. (0 , 10] 3. (10 , 100] 4. (100 , 120]

73
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
173. เซตคาตอบของสมการ 2 log5 x – log5 (x + 6) = 0 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. (10 , 100]

174. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x – 2) = log x – log 2 เท่ากับข้อใด


1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

175. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x + 2) + log (3x – 4) = log (1 + 2x) เท่ากับข้อใต่อไปนี้


1. – 3 2. 0 3. 3 4. 3

176. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (2x – 5) + log (x + 1) = log (x2– x + 3) เท่ากับข้อใด


1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

177. เซตคาตอบของสมการ log5 (x – 3) – log5 (x – 2) = log5 (x + 1) – log5 (2x – 1) เป็ นสับ-


เซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. (–10 , 0) 2. (0 , 5] 3. (5 , 10] 4. (10 , 100]

178. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (4x2 –16) – log (x2 – 4) = log x2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 13 3. 1 4. 3

179. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ (log3 5) (log5 10) (log10 x) = 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด


ต่อไปนี้
1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

180. ผลบวกของคาตอบของสมการ log2 5 (log5 2 – log5 16) + x log 3 81 = 5 เท่ากับข้อใด


1. 1 2. 17 3. 554 4. 694

181. ช่วงคาตอบของอสมการ log5 (x + 1) < 2 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –1) 2. (– , 24) 3. (–1 , 24) 4. (–1 , )
74
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
182. ช่วงคาตอบของอสมการ log3 (3x–1) > 1 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 13 ) 2. (– , 43 ) 3. ( 13 , ) 4. ( 43 , )

183. ช่วงคาตอบของอสมการ log4 x > 2 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 0) 2. (– , 256) 3. (0 , ) 4. (256 , )

184. ช่วงคาตอบของอสมการ 2 log3 (x – 1) – log3 (2x – 5)  1 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 25 ) 2. ( 25 , 4) 3. ( 25 , ) 4. ( 25 , 4)  (4 , )

185. ช่วงคาตอบของอสมการ log3 ( x  3 )  0 คือข้อใดต่อไปนี้


x3
1. (– , –3) 2. (–3 , 3) 3. (3 , ) 4. (– , –3)  (3 ,)

186. ช่วงคาตอบของอสมการ 2  log x  3 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 10) 2. (10 , 100) 3. (10 , ) 4. (100 , )

187. ช่วงคาตอบของอสมการ  log x   1 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 10) 2. (0 , 10) 3. ( 101 , 10) 4. ( 101 , )

188. ช่วงคาตอบของอสมการ log (1 ) (2x  15)  0 คือข้อใดต่อไปนี้


3
15
1. (– , 2 ) 2. ( 152 , 8)
3. ( 152 , ) 4. (– , 152 )  (8 , )

189. ในช่วงเปิ ด (a , b) เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log (3x + 4)  log (x – 1) + 1 แล้ว


a + b มีค่าเท่าใด
1. 3 2. 6 3. 9 4. 12

75
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
190. เซตคาตอบของสมการ 32x – 3x = 72 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้
1. [0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

191. เซตคาตอบของสมการ 42x – 3 .4x + 2 = 0 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. [0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

192. เซตคาตอบของสมการ 42x – 6 (4x) + 8 = 0 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. [0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

193. เซตคาตอบของสมการ 22x + 2x+1 = 3 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. [0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

194. ผลบวกของคาตอบของสมการ 22x+2 – 9 (2x) + 2 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 12 3. 1 4. 2

195. ค่าของ x ที่มากกว่า 0 ของสมการ 32x+1 – 3x = 3x+3 – 9 คือข้อใด


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

196. ผลบวกของคาตอบของสมการ 32x+3 – 55 = 28 (3x – 2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –3 2. –1 3. 0 4. 3

197. ผลบวกของคาตอบของสมการ 9x + 27 = 4 (3x+1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –3 2. –1 3. 0 4. 3

198. ผลบวกของคาตอบของสมการ 4x+1 + 64 = 2x+5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 12 3. 0 4. 2

76
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
199. ผลบวกของคาตอบของสมการ 34x + 4 (32x) – 21 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 12 3. 0 4. 2

200. เซตคาตอบของสมการ 42x = 22x+1 + 8 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 2] 2. (2 , 4] 3. (4 , 6] 4. 

201. ให้ x เป็ นจานวนจริ งบวก ซึ่งสอดคล้องสมการ 2x = 2 – 2–x ค่า x เท่ากับข้อใด


1. 0 2. 1 3. log 2 4. log1 2

202. ผลบวกของคาตอบของสมการ 4 (4x + 4–x) = 17 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –3 2. –1 3. 0 4. 3

203. ผลบวกของคาตอบของสมการ ( 23 )x  ( 23 )x  136 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 12 4. 1

x x 25
204. ผลบวกของคาตอบของสมการ 43  + 43  = 12 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –3 2. –1 3. 0 4. 3

1
205. ผลบวกของคาตอบของสมการ x – x 2 – 6 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 9 3. 128 4. 256

3 3
206. ผลบวกของคาตอบของสมการ x2  x  2 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 9 3. 128 4. 256

4 4
207. ผลบวกของคาตอบของสมการ x  8 x  1 = 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 9 3. 91 4. 256

77
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
208. ผลบวกของคาตอบของสมการ (log4 x)3 – (log4 x)2 – 2 (log4 x) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 17 3. 554 4. 694

209. ผลบวกของคาตอบของสมการ log4 x + 4 logx 4 = 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 36 2. 62 3. 128 4. 260

210. ผลคูณของคาตอบของสมการ log3 x + logx 3 = 103 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


3 3 3
1. 0 2. 3 3. 3 3 4. 27 3

211. ผลคูณของคาตอบของสมการ log3 x + 25 logx 3 = 72 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 3 3. 9 3 4. 27 3

212. ผลคูณของคาตอบของสมการ log9 x + logx2 3 = 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 3 3. 9 4. 27

213. ผลบวกของคาตอบของสมการ (x2 – 11)log 7 = 5log 49 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 4

214. สมการ log x = log5 2x มีคาตอบกี่จานวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

215. คาตอบของสมการ 2x = 25 มีค่าเท่ากับเท่าใด

216. คาตอบของสมการ 2x = 36 มีค่าเท่ากับเท่าใด

217. ผลบวกคาตอบของสมการ 22x – 4.2x + 3 = 0 มีค่าเท่ากับเท่าใด

78
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
218. คาตอบของสมการ 23x+1 = 3x–2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 log 3 – 3 log 2 2. 3 log 2 – 2 log 3 3. 32log
log 3  log 2
2  log 3 4. 23log 3  3log 2
log 2  log 3

219. คาตอบของสมการ xlog x = x102 มีค่าเท่ากับเท่าใด

7.8 กำรประยุกต์ของฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและฟังก์ ชันลอกำริทึม

220. สารกัมมันตภาพรังสีชนิดหนึ่งมีครึ่ งชีวติ 1600 ปี ถ้าเดิมมีสารนี้ อยู่ mo มิลลิกรัม และ m


m เป็ นปริ มาณของสารกัมมันตภาพรังสีที่เหลือเมื่อเวลาผ่านไป t ปี mo และ m มี
ความสัมพันธ์ดงั นี้ m = mo  2kt แล้ว k มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1600 2. 1600 1
3. – 1600 1
4. 1600

221. สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีการสลายตัวเป็ นไปตามสมการ m = mo e–t


โดยที่ m เป็ นมวลของสารเหลืออยู่ เมื่อเวลาผ่านไป t
mo เป็ นมวลของสาร ณ เวลาเริ่ มต้น
e เป็ นค่าคงที่ซ่ ึงมีค่าเท่ากับ 2.7182818
 เป็ นค่าคงตัวการสลายตัว
ถ้าหากว่าสารกัมมันตรังสีกอ้ นหนึ่งมีมวลเริ่ มต้น 1600 กรัม และเมื่อเวลาผ่านไป 2 ชัว่ โมง
จะเหลือมวล 1200 กรัม อยากทราบว่าอีก 4 ชัว่ โมงต่อมา สารก้อนนี้ จะเหลือมวลกี่กรัม

79
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

1. ตอบข้อ 1. 2. ตอบข้อ 4. 3. ตอบข้อ 3. 4. ตอบข้อ 3.
5. ตอบข้อ 2. 6. ตอบข้อ 2. 7. ตอบข้อ 4. 8. ตอบข้อ 4.
9. ตอบข้อ 4. 10. ตอบข้อ 2. 11. ตอบข้อ 1. 12. ตอบข้อ 3.
13. ตอบข้อ 3. 14. ตอบข้อ 4. 15. ตอบข้อ 1. 16. ตอบข้อ 1.
17. ตอบข้อ 3. 18. ตอบข้อ 2. 19. ตอบข้อ 2. 20. ตอบข้อ 1.
21. ตอบข้อ 4. 22. ตอบข้อ 3. 23. ตอบข้อ 1. 24. ตอบข้อ 1.
25. ตอบข้อ 4. 26. ตอบข้อ 3. 27. ตอบข้อ 4. 28. ตอบข้อ 1.
29. ตอบข้อ 3. 30. ตอบข้อ 4. 31. ตอบข้อ 2. 32. ตอบข้อ 4.
33. ตอบข้อ 2. 34. ตอบข้อ 4. 35. ตอบข้อ 2. 36. ตอบข้อ 1.
37. ตอบข้อ 3. 38. ตอบข้อ 2. 39. ตอบข้อ 3. 40. ตอบข้อ 4.
41. ตอบข้อ 3. 42. ตอบข้อ 2. 43. ตอบข้อ 3. 44. ตอบข้อ 3.
45. ตอบข้อ 4. 46. ตอบข้อ 2. 47. ตอบข้อ 1. 48. ตอบข้อ 4.
49. ตอบข้อ 4. 50. ตอบข้อ 3. 51. ตอบข้อ 4. 52. ตอบข้อ 4.
53. ตอบข้อ 1. 54. ตอบข้อ 4. 55. ตอบข้อ 2. 56. ตอบข้อ 4.
57. ตอบข้อ 2. 58. ตอบข้อ 4. 59. ตอบข้อ 1. 60. ตอบข้อ 3.
61. ตอบข้อ 2. 62. ตอบข้อ 4. 63. ตอบข้อ 3. 64. ตอบข้อ 1.
65. ตอบข้อ 3. 66. ตอบข้อ 4. 67. ตอบข้อ 2. 68. ตอบข้อ 3.
69. ตอบข้อ 4. 70. ตอบข้อ 4. 71. ตอบข้อ 1. 72. ตอบข้อ 3.
73. ตอบข้อ 1. 74. ตอบข้อ 2. 75. ตอบข้อ 4. 76. ตอบข้อ 2.
77. ตอบข้อ 3. 78. ตอบข้อ 2. 79. ตอบข้อ 3. 80. ตอบข้อ 1.
81. ตอบข้อ 4. 82. ตอบข้อ 4. 83. ตอบข้อ 4. 84. ตอบข้อ 3.
85. ตอบข้อ 3. 86. ตอบข้อ 4. 87. ตอบข้อ 1. 88. ตอบข้อ 2.
89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้อ 1. 91. ตอบข้อ 1. 92. ตอบข้อ 1.
93. ตอบข้อ 2. 94. ตอบข้อ 2. 95. ตอบข้อ 3. 96. ตอบข้อ 1.
97. ตอบข้อ 4. 98. ตอบข้อ 3. 99. ตอบข้อ 4. 100. ตอบข้อ 1.
101. ตอบข้อ 2. 102. ตอบข้อ 3. 103. ตอบข้อ 4. 104. ตอบข้อ 2.
80
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
105. ตอบข้อ 3. 106. ตอบข้อ 4. 107. ตอบข้อ 3. 108. ตอบข้อ 2.
109. ตอบข้อ 4. 110. ตอบข้อ 2. 111. ตอบข้ อ 3. 112. ตอบข้อ 3.
113. ตอบข้อ 4. 114. ตอบข้อ 3. 115. ตอบข้อ 1. 116. ตอบข้อ 1.
117. ตอบข้อ 3. 118. ตอบข้อ 2. 119. ตอบข้อ 1. 120. ตอบข้อ 1.
121. ตอบข้อ 1. 122. ตอบข้อ 1. 123. ตอบข้อ 1. 124. ตอบข้อ 1.
125. ตอบข้อ 4. 126. ตอบข้อ 4. 127. ตอบข้อ 1. 128. ตอบข้อ 4.
129. ตอบข้อ 3. 130. ตอบข้อ 4. 131. ตอบข้อ 4. 132. ตอบข้อ 3.
133. ตอบข้อ 3. 134. ตอบข้อ 2. 135. ตอบข้อ 1. 136. ตอบข้อ 3.
137. ตอบข้อ 4. 138. ตอบ 1.5562 139. ตอบ 1.1761 140. ตอบ 0.0396
141. ตอบ 0.0485 142. ตอบข้อ 3. 143. ตอบข้อ 1. 144. ตอบ 0.68
145. ตอบข้อ 1. 146. ตอบข้อ 2. 147. ตอบข้อ 1. 148. ตอบข้อ 3.
149. ตอบ 1.5848 150. ตอบข้อ 2. 151. ตอบข้อ 2. 152. ตอบข้อ 3.
153. ตอบข้อ 2. 154. ตอบข้อ 3. 155. ตอบข้อ 2. 156. ตอบข้อ 2.
157. ตอบข้อ 2. 158. ตอบข้อ 1. 159. ตอบข้อ 2. 160. ตอบข้อ 1.
161. ตอบข้อ 2. 162. ตอบข้อ 3. 163. ตอบข้อ 4. 164. ตอบข้อ 1.
165. ตอบข้อ 2. 166. ตอบข้อ 3. 167. ตอบข้อ 2. 168. ตอบข้อ 2.
169. ตอบข้อ 2. 170. ตอบข้อ 4. 171. ตอบข้อ 3. 172. ตอบข้อ 3.
173. ตอบข้อ 2. 174. ตอบข้อ 3. 175. ตอบข้อ 3. 176. ตอบข้อ 3.
177. ตอบข้อ 2. 178. ตอบข้อ 1. 179. ตอบข้อ 4. 180. ตอบข้อ 1.
181. ตอบข้อ 3. 182. ตอบข้อ 4. 183. ตอบข้อ 4. 184. ตอบข้อ 4.
185. ตอบข้อ 1. 186. ตอบข้อ 2. 187. ตอบข้อ 3. 188. ตอบข้อ 2.
189. ตอบข้อ 1. 190. ตอบข้อ 1. 191. ตอบข้อ 1. 192. ตอบข้อ 1.
193. ตอบข้อ 1. 194. ตอบข้อ 1. 195. ตอบข้อ 2. 196. ตอบข้อ 1.
197. ตอบข้อ 4. 198. ตอบข้อ 4. 199. ตอบข้อ 2. 200. ตอบข้อ 1.
201. ตอบข้อ 1. 202. ตอบข้อ 3. 203. ตอบข้อ 2. 204. ตอบข้อ 3.
205. ตอบข้อ 2. 206. ตอบข้อ 1. 207. ตอบข้อ 4. 208. ตอบข้อ 4.
209. ตอบข้อ 4. 210. ตอบข้อ 4. 211. ตอบข้อ 4. 212. ตอบข้อ 2.
213. ตอบข้อ 1. 214. ตอบข้อ 2. 215. ตอบ 4.6445 216. ตอบ 5.1701
81
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทมึ
217. ตอบ 1.5850 218. ตอบข้อ 3. 219. ตอบ 10 220. ตอบข้อ 3.
221. ตอบ 675

82
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
8.1 ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
การก าหนดค่ าของฟั งก์ชัน ตรี โกณมิ ติ ท าได้โดยใช้วงกลมรั ศ มี ย าว 1 หน่ วย ซึ่ งมี จุด
ศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (0 , 0) ซึ่ งจะเรี ยกว่าวงกลมหนึ่งหน่ วย (The unit circle)
หากเราวัดความยาวเส้นโค้งจากจุดตัดแกน +X ทวนเข็มนาฬิกาไปจนครบ 1 รอบ จะได้ว ่า
ความยาวเส้นโค้ง 1 รอบ = เส้นรอบวง = 2 R = 2 (1) = 2
ดังนั้น ความยาวเส้นโค้งครึ่ งรอบวงกลม = 
ความยาวเส้นโค้ง 41 รอบวงกลม = π2
ความยาวเส้นโค้ง 43 รอบวงกลม = 32π
และที่จุดน่าสนใจอื่นๆ ความยาวเส้นโค้งจะเป็ น
ดังรู ป ความยาวส่ วนโค้งดังกล่าวนี้จะมีหน่วย
เป็ นเรเดียน
ฝึ กทำ. จากรู ปที่กาหนด จงเติมความยาวเส้นโค้ง
ของวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่ งวัดจากจุดตัดแกน +X
ทวนเข็มนาฬิกาไปจนถึงจุดที่กาหนดให้น้ นั

ความยาวส่ วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วย สามารถเทียบเป็ นมุมองศาได้ โดยถือหลักว่า


2  เรเดียน ( 1 รอบวงกลม ) มีขนาดเท่ากับ 360o
ดังนั้น  เรเดียน จึงมีขนาดเท่ากับ 180o
จากหลักการดังกล่าวเรานาไปใช้เปลี่ยนความยาวส่ วนโค้งเป็ นมุมองศา หรื อเปลี่ยนมุมองศา
เป็ นความยาวส่ วนโค้ง ได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่ำง จงหาว่าความยาวส่ วนโค้ง π6 เรเดียน มีขนาดเท่ากับกี่องศา
แนวคิด ให้เปลี่ยน  เรเดียน เป็ น 180o ได้โดยตรงดังนี้
π = 180 = 30o
6 6

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงหาว่า 150o มีค่าเท่ากับกี่เรเดียน
แนวคิด ให้คูณด้วย 180π  ดังนี้
150o = 150o x 180π  = 56π เรเดียน
ฝึ กทำ. จากรู ปที่กาหนด จงเติมความยาวเส้นโค้ง
ของวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่ งวัดจากจุดตัดแกน +X
ทวนเข็มนาฬิกาไปจนถึงจุดที่กาหนดให้น้ นั
ทั้งในรู ปแบบ  เรเดียน และมุมเป็ นองศา

ฝึ กทำ. จงหาว่าความยาวส่ วนโค้งเป็ นเรเดียนต่อไปนี้ มีขนาดเท่ากับกี่องศา


1. 23π 2.  56π 3. 113π 4. 4 
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาเปลี่ยนมุมขนาดต่อไปนี้ให้เป็ นความยาวส่ วนโค้ง ( เรเดียน )


1. 300o 2. –315o 3. 120o 4. –510o
แนวคิด

เมื่อพิจารณาพิกดั ( x , y ) ของจุดซึ่ งมีความยาวส่ วนโค้ง  ใดๆ บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะพบว่า


ในควอร์ดรันต์ที่ 1 0o <  < 90o และ ค่า x เป็ นบวก ค่า y เป็ นบวก
ในควอร์ดรันต์ที่ 2 90o <  < 180o และ ค่า x เป็ นลบ ค่า y เป็ นบวก
ในควอร์ดรันต์ที่ 3 180o <  < 270o และ ค่า x เป็ นลบ ค่า y เป็ นลบ
ในควอร์ดรันต์ที่ 4 270o <  < 360o และ ค่า x เป็ นบวก ค่า y เป็ นลบ
2
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์
+Y
( , ) ( , )

X +X
( , ) ( , )

Y
ฟังก์ชนั โคไซน์ คือเซตของคู่อนั ดับ ( , x )
ฟังก์ชนั ไซน์ คือเซตของคู่อนั ดับ ( , y )
เขียนแทนด้วย x = cos  และ y = sin 
เมื่อ ( x , y ) เป็ นจุดปลายส่ วนโค้งที่ยาว  หน่วย บนวงกลมหนึ่งหน่วย

เช่นจากรู ปจะได้วา่
sin 0o = 0 cos 0o = 1
sin 90o = 1 cos 90o = 0
sin 180o = 0 cos 180o = –1
sin 270o = –1 cos 270o = 0
sin 30o = 12 cos 30o = 23
3
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
sin 45o = 22 cos 45o = 22
sin 60o = 23 cos 60o = 12
ฝึ กทำ. จงคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์

ฝึ กทำ. จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


sin 0o = cos 0o =
sin 90o = cos 90o =
sin 180o = cos 180o =
sin 270o = cos 270o =
sin 30o = cos 30o =
sin 45o = cos 45o =
sin 60o = cos 60o =
โปรดสั งเกต
Y
1) เนื่องจำกวงกลมหนึ่งหน่ วยมีรัศมียำว 1 หน่ วย 1

ดังนั้น – 1  x  1 จึงได้ ว่ำ – 1  cos   1


–1 1 X
และ – 1  y  1 จึงได้ ว่ำ – 1  sin   1 –1
2) จำกสมกำรกลมซึ่งมีรัศมียำว 1 หน่ วย จุดศูนย์ กลำงอยู่ทจี่ ุด (0 , 0)
x2 + y 2 = 1
จึงได้ ว่ำ cos2 + sin2 = 1
4
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.2 ค่ำของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
วิธีกำรหำค่ ำ sin  และ cos  ทัว่ ไป
ขั้นที่ 1 ถ้า  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตรต่อไปนี้
sin ( – ) = – sin  และ cos ( – ) = cos 
ขั้นที่ 2 ถ้า  มีค่ามากกว่า 360o ให้นา  ลบออกด้วย 360o ซ้ าเรื่ อยๆ จนกว่า  จะมี
ค่าน้อยกว่า 360o แล้วจึงนาค่าที่เหลือไปคิดต่อ
ขั้นที่ 3 ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 2 ให้ใช้สูตร
sin  = sin ( 180o –  ) และ cos  = – cos ( 180o –  )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 3 ให้ใช้สูตร
sin  = – sin (  – 180o ) และ cos  = – cos (  – 180o )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 4 ให้ใช้สูตร
sin  = – sin ( 360o –  ) และ cos  = cos ( 360o –  )
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ cos (–690o)
แนวคิด ขั้นที่ 1  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตร
cos (–) = cos 
cos (–690o ) = cos 690o
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
cos (690o ) = cos ( 690o – 360o ) = cos 330o
ขั้นที่ 3 330o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 4
จะได้วา่ cos 120o = cos ( 360o– 330o ) ] = cos 30o = 23
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ sin (–570o)
แนวคิด ขั้นที่ 1  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตร
sin (–) = – sin 
sin (–570o ) = – sin 570o
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
–sin (570o ) = – sin ( 570o – 360o ) = – sin 210o
ขั้นที่ 3 210o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
จะได้วา่ – [sin 210o ] = – [ –sin ( 210o–180o ) ] = sin 30o = 12
5
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ cos 150o
แนวคิด 150o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 2
ดังนั้น cos 150o = – cos ( 180o – 150o ) = – cos 30o = – 23
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ sin 240o
แนวคิด 240o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
ดังนั้น sin 240o = – sin ( 240o – 180o ) = – sin 60o = – 23
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin 120o 2. sin 210o 3. sin 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 120o 2. cos 210o 3. cos 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin 495o 2. cos 510o 3. cos 540o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos (–315o) 2. sin (–120o) 3. sin (–690o)
แนวคิด

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin ( 176π ) 2. cos ( 294π ) 3. sin ( 43π )
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 43π 2. sin 53π 3. cos 116π
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาจานวนจริ ง  มาห้าจานวนที่ทาให้ sin  = 1

8.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
ฟังก์ ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ทีค่ วรรู้จักได้ แก่
tangent  = tan  = cos sin θ เมื่อ cos   0
θ
cotangent  = cot  = tan1 θ = cos θ
cin θ เมื่อ sin  และ cos   0
secant  = sec  = cos1 θ เมื่อ cos   0
cosecant  = cosec  = sin1 θ เมื่อ sin   0
ค่ ำ tan  ทีค่ วรจดจำ
tan 0o = 0 , tan 90o = หาค่าไม่ได้ , tan 180o = 0 , tan 270o = หาค่าไม่ได้
tan 30o = 1 , tan 45o = 1 , tan 60o = 3
3
วิธีกำรหำค่ ำ tan  ทัว่ ไป
ขั้นที่ 1 ถ้า  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตรต่อไปนี้
tan ( – ) = – tan 
ขั้นที่ 2 ถ้า  มีค่ามากกว่า 360o ให้นา  ลบออกด้วย 360o ซ้ าเรื่ อยๆ จนกว่า  จะมี
ค่าน้อยกว่า 360o แล้วจึงนาค่าที่เหลือไปคิดต่อ
7
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ขั้นที่ 3 ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 2 ให้ใช้สูตร
tan  = – tan ( 180o –  )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 3 ให้ใช้สูตร
tan  = tan (  – 180o )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 4 ให้ใช้สูตร
tan  = – tan ( 360o –  )
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ tan ( –570o )
แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่องจาก  มีค่าเป็ นลบ จึงใช้สูตร tan ( – ) = – tan 
ดังนั้น tan ( –570o ) = – tan (570o )
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
จะได้ 570o – 360o = 210o
ขั้นที่ 3 210o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
ดังนั้น tan (150o ) = – tan ( 180o – 150o ) ] = – tan 30o = – 1
3
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. tan 120o 2. tan 210o 3. tan 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. tan 480o 2. tan (–570o) 3. tan (–675o)
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sec 150o 2. sec (–240o) 3. sec (–330o)

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. csc 120o 2. csc (–210o) 3. csc (–315o)

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
1(แนว มช) sin ( π6 ) – cos ( 56π ) tan ( 76π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 33

2(แนว มช) cosec 76π sec 103π cot 254π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 4 3. 8 4. 0

ควำมเกีย่ วพันธ์ ของฟังก์ชันตรีโกณที่ควรทรำบ


cos2  + sin2  = 1
cos2  = 1 – sin2 
cos  =  1  sin 2θ
sin2  = 1 – cos2
sin  =  1  cos2θ
sec2  = 1 + tan2 
csc2  = 1 + cot2 
sin (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่
sin ( n   ) =
– sin (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคี่
cos (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่
cos ( n   ) =
– cos (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคี่
Co – Function
sin A = cos ( 90o – A ) เช่น sin 20o = cos 70o
tan A = cot ( 90o – A ) เช่น tan 10o = cot 80o
sec A = cosec ( 90o – A ) เช่น sec75o = cosec15o
tan A . tan( 90o – A ) = 1 เช่น tan 20o tan70o = 1
cot A . cot( 90o – A ) = 1 เช่น cot 10o cot 80o = 1
9
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงเติมคาตอบที่ถูกต้อง
cos2  + sin2  =
cos2  =
cos  =
sin2  =
sin  =
sec2  =
csc2  =
3. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.6 แล้ว ค่าของ sin (–) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –0.8 2. –0.6 3. 0.6 4. 0.8

4. จากข้อที่ผานมา ค่าของ tan  + sec  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0.33 2. 0.50 3. 2 4. 3

5. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 0.6 แล้ว ค่าของ cos  + sin (–) เท่ากับข้อใด
1. –0.2 2. 0.2 3. 0.6 4. 0.8

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้
cos (2 + π2 ) =
sin (4 + π6 ) =
cos (3 + π2 ) =
sin (7 + π4 ) =
cos (6 – π2 ) =
cos (8 – π4 ) =
cos (7 – π4 ) =
sin (180o + 50o ) =
cos (360o + 25o ) =
6. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.20 แล้ว ค่าของ sin (3 – ) + cos ( – ) มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.98 2. –0.78 3. 0.20 4. 0.78

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1 sin 40o = cos …… 2 tan 40o = cot ….. 3 sec 40o = cosec…….
4 cos 10o = ..…. 80o 5 cot 20o = ….. 70o 6 cosec30o = …. …60o

7. cos ( π2  B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin B 2. –sin B 3. cos B 4. –cos B

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ tan (90o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. cot A

9. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.6 แล้ว ค่าของ sin ( π2 – ) + cos ( π2 + ) มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.8 2. –0.6 3. –0.2 4. 0.2

10. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ cosec (270o + A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – cos A 2. – sec A 3. – cosec A 4. – cot A

8.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรู ปสำมเหลีย่ มมุมฉำก


พิจารณารู ปสามเหลี่ยมมุมฉากดังรู ป
กาหนดให้ ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก = ฉาก
ความยาวด้านตรงข้ามมุม  = ข้าม
ความยาวด้านตรงประชิดมุม  = ชิด ข้ าม ฉาก
จะได้วา่ ข้าม
sin  = ฉาก

ชิด
cos  = ฉาก ชิด
tan  = ข้า ม
ชิด
12
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
11(แนว มช) ถ้า น.ส. ก้อยยืนอยู่ที่จุด A ห่ างจากต้นไม้ 150 เมตร แล้วสังเกตเห็ นว่ามุมระหว่าง
พื้นดินและยอดของต้นไม้
ที่มีความสู ง h คือ 30o
(ดังรู ป) ข้อใดคือความสู ง h
h ของต้นไม้
30o
1. 50 2. 50 3 A ต้ นไม้
3. 150 3 4. 450 3 150 ม.

12. ตึกสองหลังที่มีหลังคาเรี ยบตั้งอยูห่ ่างกัน 60 ฟุต


จากหลังคาของตึกที่เตี้ยกว่า ซึ่งสู ง 40 ฟุต มุมที่
วัดจากหลังคาของตึกที่เตี้ยกว่าไปยังหลังคาของ 40o
ตึกที่สูงกว่ามีขนาด 40o ดังรู ป ตึกที่สูงกว่าจะ 60 ฟุต
40 ฟุต
มีความสู งเท่ากับกี่ฟุต (tan40o = 0.8391 )
1. 80.2 2. 85.5 3. 90.3 4. 95.8

13(แนว O–Net) ถ้ารู ปสามเหลี่ ยมด้านเท่ารู ปหนึ่ งมีความสู ง 1 หน่ วย แล้วความยาวเส้ นรอบรู ป
ของสามเหลี่ยมรู ปนี้ ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 หน่วย 2. 2 3 หน่วย 3. 3 3 หน่วย 4. 3 หน่วย

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
14. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 45 แล้ว sec  + cosec  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 35 2. 45 3. 75 4. 1235

15. กาหนดให้ sin  = 35 และ π2 <  <  แล้วค่าของ cos  . tan  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35 2. – 45 3. 2031 4. 12
20

16. กาหนดให้ cos  = – 45 และ  <  < 3π2 แล้วค่าของ sin  . tan  เท่ากับข้อใด
1. – 35 2. 15 3. – 12
20 4. 12
20

17. กาหนดให้ 3π2 <  < 2 และ tan  = – 13 แล้ว 2 cos  + cot  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 3 10  15 2. 3 10  15 3. 3 10  15 4. 3 10  15
5 5

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
18. กาหนดให้ sin  > 0 โดยที่ cos  = – 35 แล้ว ค่าของ sec  + cosec  เท่ากับข้อใด
1. – 124 2. 124 3. – 125 4. 125

19. กาหนดให้ sin  < 0 โดยที่ cos  = 45 แล้ว ค่าของ 4 cot  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 5 2. –3 3. – 163 4. 125

8.5 กรำฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = sin x

จากลักษณะของกราฟ y = sin x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ผ่านจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ [ –1 , 1 ] นัน่ คือ –1  sin x  1
4. คาบมีความยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั = 1
(แอมปลิจูด อาจจะเรี ยกว่าเป็ นความสู งของคลื่นไซน์ก็ได้ )
15
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cos x

จากลักษณะของกราฟ y = cos x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ [ –1 , 1 ] นัน่ คือ – 1  cos x  1
4. คาบมีความยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั = 1

พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = tan x

จากลักษณะของกราฟ y = tan x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ผ่านจุด (0 , 0)
2. โดเ มนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n + π2 เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง นัน่ คือ –  < tan x < 
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี เพราะฟังก์ชนั ไม่มีค่าสู งสุ ด และต่าสุ ด

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cosec x

จากลักษณะของกราฟ y = cosec x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ y  1 หรื อ y  – 1
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี

พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = sec x

จากลักษณะของกราฟ y = sec x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n + π2 เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ y  1 หรื อ y  – 1
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี
17
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cot x

จากลักษณะของกราฟ y = cot x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง นัน่ คือ –   cot x  
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี เพราะฟังก์ชนั ไม่มีค่าสู งสุ ดและต่าสุ ด
ฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติทุกฟั งก์ชนั เป็ นฟั งก์ชนั ที่เป็ นคาบ คือสามารถแบ่งแกน X ออกเป็ นช่ วง
ย่อย โดยที่ความยาวของแต่ละช่วงย่อยเท่ากัน และกราฟในแต่ละช่วงย่อยมีลกั ษณะเหมือนกัน
คำบ ( period ) ของฟังก์ ชัน คือความยาวของช่ วงย่อยที่ส้ ันที่สุดซึ่ งแต่ละช่วงย่อยนั้นมีกราฟ
เหมือนกัน
แอมพลิจูด ( amplitude ) ของฟั งก์ชันคื อค่าที่ เท่ากับครึ่ งหนึ่ งของค่าสู งสุ ดลบด้วยค่าต่ าสุ ด
ของฟังก์ชนั
การหาคาบและแอมปลิจูด ของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
กาหนดให้ a , b , c และ d เป็ นค่าคงที่ใดๆ และ b > 0
ลาดับ รู ปทัว่ ไปอย่างง่าย สู ตรหาคาบ สู ตรหาแอมปลิจูด
1. y = a sin bx 2π a
b
2. y = a cos bx 2π a
b
3. y = a cosec bx 2π ไม่มี
b
4. y = a sec bx 2π ไม่มี
b
5. y = a tan bx π ไม่มี
b
6. y = a cot bx π ไม่มี
b
18
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
20. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 sin x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

21. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 cos ( 2x – 2 ) + 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

22. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –3 tan 1 x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

23. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 41 cosec ( 13 x + π6 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 2 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 6 , แอมปลิจูด = 2 4. คาบ = 6 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
24. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 12 sec ( 2x – π3 ) + 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

8.6 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่ ำงของจำนวนจริงหรือมุม


ฟังก์ชันของผลบวกหรือผลต่ ำง
cos (A + B) = cos A cos B – sin A sin B
cos (A – B) = cos A cos B + sin A sin B
sin (A + B) = sin A cos B + sin B cos A
sin (A – B) = sin A cos B – sin B cos A
tan (A + B) = 1tan A  tan B
 tan A tan B
tan (A – B) = 1tan A  tan B
 tan A tan B
cot (A + B) = cot A cot B  1
cot B  cot A
cot (A – B) = cot A cot B  1
cot B  cot A
ฟังก์ ชันทีใ่ ช้ เปลีย่ นผลคูณเป็ นผลบวก
2 sin A cos B = sin (A + B) + sin (A – B)
2 cos A sin B = sin (A + B) – sin (A – B)
2 cos A cos B = cos (A + B) + cos (A – B)
2 sin A sin B = cos (A – B) – cos (A + B)
ฟังก์ ชันทีใ่ ช้ เปลีย่ นผลบวกเป็ นผลคูณ
sin A + sin B = 2 sin A2B . cos A2 B
sin A – sin B = 2 cos A2B . sin A2 B
cos A + cos B = 2 cos A2B . cos A2 B
cos A – cos B = – 2 sin A2B . sin A2 B
20
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฟังก์ ชันทีม่ ีมุมเป็ น 2A
sin 2A = 2 sin A cos A
sin 2A = 2 tan 2A
1  tan A
cos 2A = cos2A – sin2A
cos 2A = 2 cos2A – 1
cos 2A = 1 – 2 sin2A
tan 2A = 2 tan 2A
1  tan A
cot 2 A = cot2 cot 2 A 1
A
ฟังก์ ชันทีม่ ีมุมเป็ น A2
sin A2 =  1  cosA 2
cos A2 =  1  2cosA
tan A2 =  11  cos cosA
A
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
cos(A + B ) = =
cos(A – B ) = =
sin(A + B ) = =
sin(A – B ) = =
25. sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 64 2 2. 64 2
3. 34 2 4. 34 2

26. cos 75o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 64 2 2. 64 2 3. 34 2 4. 34 2

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
27. sin 105o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 64 2 2. 64 2 3. 34 2 4. 34 2

28. ค่าของ cos( π9 ) cos ( 18π ) – sin ( π9 ) sin ( 18π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 12 4. 23

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)

tan(A + B ) = = =

tan (A – B ) = = =

cot(A + B ) = = =

cot (A – B ) = = =

29. tan 75o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 3 2. 2 – 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

22
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
30. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. tan (45o + A) = 11  tanA
tanA ข. 1tan20 o  tan25o = 1
 tan20 o tan25o
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูก
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
2 sinA cosB = …...…(A + B) + ……..(A – B) = …...…(A + B) + ……..(A – B)
2 cosA sinB = …...…(A + B) – ……..(A – B) = …...…(A + B) – ……..(A – B)
2 cosA cosB = …...…(A + B) + ……..(A – B) = …...…(A + B) + ……..(A – B)
2 sinA. sinB = …...…(A – B) – ……..(A + B) = …...…(A – B) – ……..(A + B)

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
2 sinA . cosB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 cosA. sinB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 cosA. cosB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 sinA. sinB = ……………………………………. = ……………………………………….
31. ค่าของ 2 sin75ocos15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3 2. 1 2 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

23
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
32. ค่าของ 2 cos75o sin15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3 2. 1 2 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

33. ค่าของ 2 cos75o cos15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

34. ค่าของ 2 sin75o sin15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

35. ค่าของ 2 cos10o cos40o – cos50o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

36. ค่าของ sin 45o cos 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 4 1 2. 3 4 1 3. 3 2 1 4. 3 2 1

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
sinA + sinB = 2…….. A2B ……… A2 B =
sinA – sinB = 2…….. A2B ……… A2 B =
cosA + cosB = 2…….. A2B ……… A2 B =
cosA – cosB = –2…….. A2B ……… A2 B =

37. ค่าของ sin 75o + sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

38. ค่าของ sin 75o – sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

39. ค่าของ cos 75o + cos 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

40. ค่าของ cos 80o + sin 50o – cos 20o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 22 4. 3
2

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)
sin2A
sin2A
cos2A
cos2A
cos2A
tan2A
cot2A
41. ถ้า cos x = 73 แล้ว cos 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
31
1. – 49 2. – 257 31
3. 49 4. 257

42. ถ้า sin x = 4


5
แล้ว cos 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
31
1. – 49 2. – 257 31
3. 49 4. 257

43. ถ้า tan x = 12 แล้ว tan 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 43 2. – 43 3. 43 4. 43

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
44. 1 sincos2x2x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin x 2. cos x 3. tan x 4. cot x

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)
sin A2 = = =
cos A2 = = =
tan A2 = = =

45. ค่าของ cos 15o เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 3 2. 2 3 3. 2 3 4. 2 3
2 2

46(แนว มช) ถ้า cos 70o = k เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว แล้ว sin 35o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. k 2 1 2. – k 2 1 3. 1 2 k 4. – 1 2 k

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
47. กาหนดให้ π2  A  π และ sin A = 35 แล้ว tan A2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 1 4. 3

8.7 เอกลักษณ์ และสมกำรตรีโกณมิติ


8.7.1 เอกลักษณ์
เอกลักษณ์ตรี โกณมิติ คือสมการตรี โกณมิติซ่ ึงเป็ นจริ งเสมอ
เช่น cos2  + sin2  = 1
สมการนี้เป็ นจริ งเสมอไม่วา่  จะมีค่าเป็ นเท่าใดก็ตาม สมการนี้จึงเรี ยกเอกลักษณ์ตรี โกณมิติ
48. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) csc cos = cot  b) sin  cot  = cos  c) cot  sec  sin  = 0
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

49. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) sec θ sin θ
csc θ  cos θ = 2 tan 
b) cos
sec xx  csc
sin xx  1
c) cot  cos  + sin  = csc 
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
50. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) tan  cot  – cos2  = sin2 
b) cos  ( tan + cot ) = csc 
c) csc x – sin x = cos x cot x
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

51. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) 3 sin2  + 4 cos2  = 3 + cos2 
b) (sin  + cos )2 + (sin  – cos )2 = 1
c) sin2  cot2  + tan2  cos2  = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

52. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) 3 sin2  + 4 cos2  = 3 + cos2 
b) (sin  + cos )2 + (sin  – cos )2 =1
c) sin2  cot2  + tan2  cos2  = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
53. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) sec  – sec  sin2 = cos  (ข) 2 sin2  – 1 = 1 – 2 cos2 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

54. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) tan2  – sin2  = tan2  sin2 
(ข) sin2  tan  + cos2  cot  + 2 sin  cos  = tan  + cot 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

55. ถ้า A + B + C = 180o จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


(ก) sin A = sin (B + C) (ข) cos A = – cos(B + C)
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
56. ถ้า A + B + C = 180o จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) cos2A + cos2 (60o+A) + cos2 (60 o – A) = 12
(ข) cos 20o cos 40 o cos 80 o = 12
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

8.7.2 สมกำรตรีโกณมิติ
สมการตรี โกณมิติ คือสมการที่มีฟังก์ชนั ตรี โกณมิติปรากฏอยู่
ขั้นตอนการแก้สมการตรี โกณมิติเบื้องต้น
ขั้นที่ 1 หาว่าคาตอบจะอยูใ่ นควอดรันต์ที่เท่าใด
ขั้นที่ 2 หาคาตอบพื้นฐาน โดยไม่ตอ้ งสนใจค่าบวกและลบของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
ขั้นที่ 3 หาคาตอบจริ งในควอดรันต์ที่หาไว้จาก
ในควอร์ดรันต์ 1 = ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 2 = 180o – ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 4 = 360o – ที่ได้จากขั้น 2

ตัวอย่ำง จงแก้สมการ sin  = – 23


แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่ องจากค่า sin  เป็ นลบ แสดงว่า  อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3 และ 4
ขั้นที่ 2 คิดเฉพาะ sin  = 23
จะได้  = 60o
ขั้นที่ 3 ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2 = 180o + 60o = 240o
ในควอร์ดรันต์ 4 = 360o – ที่ได้จากขั้น 2 = 360o – 60o = 300o
ดังนั้น เซตคาตอบ คือ { 240o , 300o }
31
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงแก้สมการ tan  = 1
แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่ องจากค่า tan  เป็ นบวก แสดงว่า  อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 และ 3
ขั้นที่ 2 คิดเฉพาะ tan  = 1
จะได้  = 45o
ขั้นที่ 3 ในควอร์ดรันต์ 1 = ที่ได้จากขั้น 2 = 45o
ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2 = 180o + 45o = 225o
ดังนั้น เซตคาตอบ คือ { 45o , 225o }
ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้
1. sin  = 12 2. cos  = – 23 3. tan  = – 3

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sin  = – 23 2. cos  = 12 3. tan  = 1

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sin  = 1 2. sin  = 0 3. sin  = –1 4. cos  = 1 5. cos  = 0 6. cos  = –1

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sec  = –2 2. cot  = 1 3. cosec  = – 2
3 3

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
57. ถ้า 0o    360o แล้วผลบวกคาตอบของสมการ 2 sin  – 1 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้
1. 90o 2. 180o 3. 270o 4. 360o

58. ถ้า 0o    360o แล้วสมการ 3 tan2  – 1 = 0 มีคาตอบกี่จานวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

59. ถ้า 0  x  2 แล้ว เซตคาตอบของสมการ 4 sin2 x – 3 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้


1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , π3 , 43π , 53π } 4. { π2 , π3 , π4 , π6 }

60. ค่าของ x จากสมการ 4 cos x = 3 sec x เมื่อ 0o  x  360o มีกี่จานวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
61. ค่า  ที่เป็ นคาตอบของสมการ sin2  – 3cos2  = 0 เมื่อ 90o    180o มีกี่จานวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

62. ถ้า 0    2 แล้ว คาตอบของสมการ 2 cos2  + cos  = 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , 32π , 23π , 43π } 4. { π2 , π3 , π4 , π6 }

63. ถ้า 0  x  2 แล้วคาตอบของสมการ 2 cos2 x – 3 cos x = 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , 32π , 23π , 43π } 4. { π6 , π2 , 32π , 116π }

64. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – sin  – 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
65. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – 3 cos  = 3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

66. ถ้า 0  x  2 แล้วสมการ 3 sec x – cos x + 2 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

67. ถ้า 0o    360o ผลบวกของค่า x จากสมการ cos 2 = sin  ตรงกับข้อใด


1. 270 2. 390 3. 450 4. 540

68. ถ้า 0o  x  360o ผลบวกของค่า x จากสมการ sin 5x cos3x – cos 5x sin 3x = cos x
ตรงกับข้อใด
1. 270 2. 390 3. 450 4. 540

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
เทคนิค กำรแก้ สมกำรตรีโกณมิติของมุม 2 , 3 , 4 , ……
ขั้นที่ 1 หาค่า n  ในช่วง 0  x  2 ก่อน
ขั้นที่ 2 หากต้องการหาคาตอบของ n ให้นา 2 , 4 , 6 , ..... , 2n บวกมุมจากขั้น 1
ขั้นที่ 3 นา 2 , 3 , 4 , .... , n หารตลอด
69. ถ้า 0  x  2 แล้ว ผลบวกคาตอบของสมการ sin 3x = 0 มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

70. ถ้า 0  x  2 แล้ว ผลบวกคาตอบของสมการ 2 cos 2x = 1 มีคา่ เท่ากับข้อใด


1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

8.8 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
f = { (x , y)  y = sin x , – π2  x  π2 } ฟังก์ชนั ไซน์
f–1 = { (x , y)  x = sin y , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คไซน์
f–1 = { (x , y)  y = arcsin x , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คไซน์
g = { (x , y)  y = cos x , 0  x   } ฟังก์ชนั โคไซน์
g–1 = { (x , y)  x = cos y , 0  y   } ฟังก์ชนั อาร์ คโคไซน์
g–1 = { (x , y)  y = arccos x , 0  y   } ฟังก์ชนั อาร์ คโคไซน์
h = { (x , y)  y = tan y , – π2  x  π2 } ฟังก์ชนั แทนเจนต์
h–1 = { (x , y)  x = tan y , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คแทนเจนต์
h–1 = { (x , y)  y = arctan x , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั แทนเจนต์
36
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
สู ตรสำหรับหำค่ ำ arc ของจำนวนจริงทีม่ ีค่ำเป็ นลบ
arccos ( –x ) = 180o – arccos ( x )
arcsin ( –x ) = – arcsin ( x ) = 360o – arcsin ( x )
arctan ( –x ) = – arctan ( x ) = 360o – arctan ( x )
สู ตรสำหรับหำค่ ำ arccot , arcsec , arccosec
arccot (x) = arctan ( x1 )
arcsec (x) = arccos ( x1 )
arccosec (x) = arcsin ( x1 )
สู ตรทีค่ วรทรำบเกีย่ วกับ arc
arcsin (x) = arccos ( 1  x 2 )
arccos (x) = arcsin ( 1  x 2 )
sin (arcsin x) = x เมื่อ –1  x  1
cos (arccos x) = x เมื่อ –1  x  1
tan (arctan x) = x เมื่อ –   x  +
arcsin (sin x) = x เมื่อ – π2  x  π2
arccos (cos x) = x เมื่อ 0 x
arctan (tan x) = x เมื่อ – π2  x  π2
arcsin x + arccos x = π
2
arctan x + arccot x = π
2
arcsec x + arccosec x = π
2
arctan A + arctan B = arctan 1AA.B
B

หาค่ าได้ เลย


ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin ( 12 ) 2) arccos ( 23 ) 3) arctan ( 1 )
3

37
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin (1) 2) arcsin (0) 3) arcsin (–1)
4) arccos (1) 5) arccos (0) 6) arccos (–1)

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin (– 22 ) 2) arctan (–1) 3) arccos (– 22 )

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsec (2) 2) arccosec ( 2 ) 3) arccot ( 3 )
3

71. ค่าของ tan (arccos 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

72(แนว En) cos ( 4 + (arcsin 12 + arctan 1) ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. – 12 3. 12 4. 1

38
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

ใช้ 
73. ค่าของ cos (arctan 125 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 135 2. 12
13 3. 125 4. 1

74. ค่าของ sin (arctan [– 409 ]) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 40
41 2. – 419 3. 4041 4. 419

75. ค่าของ tan (arccos [– 40


41 ]) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
41
1. – 40 2. – 409 3. 4041 4. 419

76(แนว มช) sin [ 2 arctan (– 125 ) ] มีค่าเท่ากับค่าในข้อใด


1. – 12
13 2. 1213 3. 120
169 4. – 120
169

39
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
77(แนว En) cos (2 arcsin 1 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3
1. 13 2. 12 3. 2 4. 3

sin ( arcsin x ) = x
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) tan arc tan (–1) 2. tan arc cot (– 3 ) 13 )
3) cos arc sec (– 12

4) sin arc cosec 2 5) cos arc sin 45  6) sin arc cos 45 

7) cos  – arc cos x  8) cos (arccos 7 ) 9) sin (arccosec 1 )


9

78(แนว มช) arcsin (sin 150o) มีคา่ เท่ากับค่าในข้อใด


1. 30o 2. 150o 3. 210o 4. 330o

40
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

arcsin x + arccos x = 90
79(แนว En) sec  12 (arcsin 35 + arccos 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 3 3. 1 + 2 4. 2 + 3

80(แนว En) tan  12 (arcsec 45 + arccosec 45 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

81(แนว En) ถ้า arccos x – arcsin x = π6 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 2

arctan A + arctan B = arctan 1AABB


82(แนว A–Net) sin (arctan 2 + arctan 3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 1 3. 1 4. 12
2 2

41
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.9 กฏของโคไซน์ และไซน์
พิจารณาสามเหลี่ยมที่มีมุมเป็ น A , B , C และมีดา้ นตรงกันข้ามแต่ละมุมยาวเท่ากับ a ,
b และ c ตามลาดับ ดังรู ป
กฎของไซน์ กล่ำวว่ำ
a b c
sinA  sin B  sin C
กฎของโคไซน์ กล่ำวว่ำ A
c
a2 = b2 + c2 – 2bc cos A
b
b 2 = a2 + c2 – 2ac cos B B

c 2 = a 2 + b2 – 2ab cos C
a
สู ตรสำหรับหำพืน้ ทีร่ ู ปสำมเหลีย่ ม C
พื้นที่ ABC = 12 ab sin C
พื้นที่ ABC = 12 bc sin A
พื้นที่ ABC = 12 ac sin B
83. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 120o ,
B = 45o , b = 5 2 แล้ว a มีค่า
a=?
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ b=5 2
1. 5 2. 5 3 120 o 45 o
3. 10 4. 10 3 A B

84. ในสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 2 , b = 2 2 และ A = 30o แล้ว แล้วมุม B มีขนาดเท่าใด


1. 45o 2. 90o 3. 135o 4. ข้อ 1. และข้อ 2. ถูก

42
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
85. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า Â = 60o , b = 40 และ c = 60 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 10 2. 10 7 3. 20 4. 20 7

86. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B̂ = 120o , a = 4 และ c = 6 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 2 2. 2 19 3. 4 4. 4 19

87. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B = 60o , a = 4 และ c = 8 แล้ว b มีค่าเท่ากับเท่าใด

88. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 12 , b = 7 และ c = 8 แล้ว cos B̂ มีคา่ เท่ากับข้อใด
1. 0.65 2. 0.78 3. 0.83 4. 0.92

43
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
89. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า c = 10 , b = 4 และ Â = 45o แล้ว พื้ นที่ ของรู ปสาม
เหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 14.14 2. 68.3 3. 86.6 4. 141.4

8.10 กำรหำระยะทำงและควำมสู ง
90. พิเชษฐ์ยนื อยูห่ ่างจากตึกหลังหนึ่ง 18 เมตร มองเห็นยอดตึกและเสาอากาศซึ่ งอยูบ่ นยอดตึกเป็ น
มุมเงย 30o และ 60o ตามลาดับ แล้วความสู งของเสาอากาศในหน่วยเป็ นเมตร
1. 6 2 2. 6 3 3. 12 2 4. 12 3

91. เรื อสองลาทอดสมออยูห่ ่างกัน 60 เมตร และอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกับประภาคาร ทหารใน


เรื อแต่ละลามองเห็นยอดประภาคารเป็ นมุมเงย 45o และ 30o จงหาว่าเรื อลาที่อยูใ่ กล้ประภาคาร
อยูห่ ่างจากประภาคารกี่เมตร
1. 10 ( 3 +1 ) 2. 20 ( 3 +1 ) 3. 30 ( 3 +1 ) 4. 40 ( 3 +1 )

44
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

เฉลยบทที่ 8 ฟังก์ ชันตรีโกณมิติ


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 4.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 1. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 4.
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบ 6.93 88. ตอบข้ อ 3.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 4. 91. ตอบข้ อ 3.

45
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
8.1 ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
1. 54π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 150o 2. 225o 3. 255o 4. 420o

5π
2. 6 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –150o 2. –225o 3. –255o 4. –420o

7 π
3. 3 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –150o 2. –225o 3. –255o 4. –420o

4. –390o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 π 2. 53π 3. 7 π
3 4. 133 π

5. 120o มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 23π 2. 53π 3. 73π 4. 133π

8.2 ค่ำของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์


6. sin 120o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 2. 22 3. 23 4. 1

7. cos 225o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22

8. sin 315o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22
46
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
9. cos (–930o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22

10. sin (–570o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

11. sin 23π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

12. cos 34π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

13. sin ( 73π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22

14. sin 54π + cos 116π + sin ( 73π ) + cos 94π + sin 136π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

15. cos ( 34π ) – cos ( 56π ) + sin ( 73π ) + cos ( 94π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 22 4. 23

16. sin ( 53π ) + cos ( 116π ) + cos ( 74π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 22 4. 23

47
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
17. tan 150o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. – 1 3. – 3 4. หาค่าไม่ได้
3

18. tan 210o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

19. tan (–600o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. – 1 3. – 3 4. หาค่าไม่ได้
3

20. tan (–660o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

21. sec (–300o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 2 2. – 2 3. 2 4. 2
3 3

22. cosec (–225o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 2 2. – 2 3. 2 4. 2
3 3

23. ค่าของ tan (480 o )  sin (840 o ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


cos (390 o )
1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

24. ค่าของ 3 tan2 135  sec2 300 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2 sin 330
1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

48
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
25. ค่าของ tan( 480 )  sin(840)
cos(390) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

26. ค่าของ sin 34π cos 54π tan 74π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

27. ค่าของ cos π2  sin 53π  tan 94π  cos 56π  tan 76π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 32  3 2. 4 32  3 3. 4 33  3 4. 4 33  3

28. ค่าของ sin 56π  tan 76π  cos 34π sin 43π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6  4 32  3 6 2. 6  4 33  3 6
3. 6  4 36  3 6 4. 6  4 1233 6

29. ค่าของ sin 32π  tan π cos π2  cot 56π  sin 76π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 3  1 2. 2 3  1 3. 2 32  1 4. 2 32  1

30. ค่าของ sin π3 cos π6  cos π3 sin π6  sin 53π  tan 53π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 3 2. 2 2 3 3. 2 3 3 4. 2 3 3

31. ค่าของ cos2 π4  sin2 π4  sin2 π6  cos2 116π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

32. ค่าของ sin 256π cos 253π tan 254π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 14 3. 12 4. 1

49
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
33. ค่าของ sin ( 34π )  cos ( 114π )  tan ( 163π ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2  3 2.  2 3 3. 2 3 4.  2 3

34. ค่าของ cot2 136π  cosec2 54π  sec2 23π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 14 3. 12 4. 1

35. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.8 แล้ว ค่าของ sin (–) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –0.8 2. –0.6 3. 0.6 4. 0.8

36. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.9848 แล้ว sec  + tan  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –1.0154 2. –1.1900 3. 1.0154 4. 1.1900

37. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin (2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

38. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin (5 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

39. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin ( – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

40. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin (–3 – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

41. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ cos (11 – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

50
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
42. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. sin (90o – A) = cos A ข. sec(90o – A) = csc A
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูก
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

43. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ sin (90o + A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

44. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ sec (90o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

45. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ cosec (90o + A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

46. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ cot (90o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

47. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = A แล้ว ค่าของ cos ( π2 – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

48. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = A แล้ว ค่าของ sin ( π2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

49. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = A แล้ว ค่าของ sin ( π2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

50. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 0.20 , cos  = 0.98 แล้ว ค่าของ
sin ( π2 – ) + cos ( π2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.20 2. 0.20 3. 0.78 4. 0.98
51
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
51. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ tan (270o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin A 2. cos A 3. tan A 4. cot A

52. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = A แล้ว ค่าของ sin ( 32π + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

53. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = A แล้ว ค่าของ cos ( 32π – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

8.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรู ปสำมเหลีย่ มมุมฉำก


54แนว O–Net) กล้องวงจรปิ ดซึ่ งถูกติดตั้งอยูส่ ู งจากพื้นถนน 4 เมตร สามารถจับภาพได้ต่าที่สุดที่
มุมก้ม 45o และสู งที่สุดที่มุมก้ม 30o ระยะทางบนพื้นถนนในแนวกล้องที่กล้องนี้ สามารถ
จับภาพได้คือเท่าใด ( กาหนดให้ 3  1.73 )
1. 1.00 เมตร 2. 1.46 เมตร 3. 2.00 เมตร 4. 2.92 เมตร

55. แม่น้ าแห่งหนึ่งกว้าง 50 เมตร นักว่ายน้ าจาก


จุด A ของฝั่งหนึ่งไปยังจุด B ของอีกฝั่งหนึ่ง B
ตามเส้นดังรู ป ระยะทางที่นกั ว่ายน้ าว่ายข้าม
50 เมตร
ฝั่งมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
60o
1. 53.5 เมตร 2. 55.8 เมตร A
3. 57.7 เมตร 4. 59.3 เมตร

56. แกว่งลูกตุม้ ซึ่ งยาว 90 เซนติเมตร ตามแนวดิ่ง


ด้วยมุม 15o ของแต่ละข้าง ดังรู ป ระยะระหว่าง 15o 15o
ตาแหน่งสู งสุ ดและต่าสุ ดของลูกตุม้ ( x เซนติ-
เมตร ) มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
( กาหนดให้ cos15o = 0.9659 )
1. 2.8 2. 3.1 X เซนติเมตร

3. 3.8 4. 4.2
52
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
57. สามเหลี่ยมหน้าจัว่ ซึ่ งมีฐานยาว 40 นิ้ว และมุมที่ฐานมีขนาด 70o จะมีความยาวเส้นรอบรู ป
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ( กาหนดให้ cos 70o = 0.3420 )
1. 122.8 2. 136.0 3. 146.6 4. 157.0

58(แนว O–Net) กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็ นมุมฉาก และด้าน BC ยาว
18 นิ้ว ถ้า D เป็ นจุดบนด้าน AC โดยที่ BD̂C = 70o และ AB̂D = 10o แล้วด้าน AB
ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 3 นิ้ว 2. 12 3 นิ้ว 3. 6 นิ้ว 4. 18 นิ้ว

59. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 45 แล้ว sec  + cosec  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 35 2. 45 3. 75 35
4. 12

60. กาหนดให้ cos  > 0 และ sin  = 12 แล้ว sec  + tan  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 3 2. 3 3 3. 1 4. 3
3 3

61. กาหนดให้ tan  = – 43 และ π2 <  <  แล้วค่าของ tan  + sec  เท่ากับข้อใด
1. – 12 2. 12 3. – 12
20 4. 12
20

62. กาหนดให้ sec  = – 45 และ  <  < 3π2 แล้วค่าของ sin  . tan  เท่ากับข้อใด
1. – 35 2. 15 3. – 12
20 4. 12
20

63. กาหนดให้ cot  = –3 และ 3π2 <  < 2 แล้วค่าของ 2 sin  + tan  เท่ากับข้อใด
1. 2  13 2.  2  13 3. 2  13 4.  2  13
10 10 10 10

64. กาหนดให้ 0 < < π2 และ tan  = 13 แล้ว 2 cos  + cot  มีค่าเท่ากับข้อใด

1. 3 10  15 2. 3 10  15 3. 3 10  15 4. 3 10  15
5 5
53
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
65. กาหนดให้  <  < 3π2 และ cosec2 + cot2 = 41 แล้ว sin  มีค่าเท่ากับข้อใด
9
1. – 35 2. 15 3. – 12
20 4. 12
20

8.5 กรำฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
66. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 12 sin  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 1 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
2
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 1 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
2

67. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 cos 12  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

68. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –2 cos 1  + 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 2 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = 2 4. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

69. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = sin (–) – 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 1 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = 1 4. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

70. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –2 tan 1  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

1 sin (400 t )
71. สมการของคลื่นชนิ ดหนึ่ งคือ y = 1000 เมื่อ t แทนเวลาเป็ นวินาที แล้ว
แอมปลิจูดและคาบของสมการคือข้อใดต่อไปนี้
1. 0.001 , 400 วินาที 2. 0.001 , 200 วินาที
1 วินาที
3. 0.001 , 400 4. 0.001 , 1
200 วินาที
54
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
72. กาหนดให้ v = 220 sin (140 t ) เป็ นสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์
ไฟฟ้ า V (หน่วยเป็ นโวลต์) กับเวลา t (หน่วยเป็ นวินาที) แล้วค่าสู งสุ ดของ V และ คาบของ
ฟังก์เป็ นเท่าใด
1. 220 โวลต์ , 140 วินาที 2. 220 โวลต์ , 117 วินาที
3. 220 โวลต์ , 701 วินาที 4. 220 โวลต์ , 70 วินาที

8.6 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่ ำงของจำนวนจริงหรือมุม


73. sin ( π2  B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin B 2. –sin B 3. cos B 4. –cos B

74. ก าหนดให้ π2  A  π และ 0  B  π2 ถ้า cos A =  35 และ tan B = 125


แล้ว cos (A + B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 56
65 2. – 33
65 3. 33
65 4. 56
65

75. ก าหนดให้ π  A  32π และ π2  B  π ถ้า cos A =  135 และ sin B = 45


แล้ว cos (A – B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 56
65 2. – 33
65 3. 33
65 4. 56
65

76. ก าหนดให้ π  A  32π และ 0  B  π2 ถ้า sin A =  135 และ cos B = 45


แล้ว sin (A – B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 16
65 2. – 56
65 3. 16
65 4. 56
65

77. ถ้า cos A = 12 3 3π π


13 และ sin B = 5 โดยที่ 2  A  2 π และ 2  B  π แล้ว
sin (A + B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6  2 2. 6  2 3. 6 4 2 4. 6 4 2

78. cos 7A cos 3A + sin 7A sin 3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. sin 2A 2. cos 2A 3. sin 4A 4. cos 4A
55
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
79. ค่าของ sin (– 52π ) sin ( π2 ) + cos( π2 ) cos (– 52π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

80. ค่าของ sin3A  cos3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


sinA cosA
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

81. tan (–15o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 3 2. 2 – 3 3. 3  2 4. – 3  2

82. tan (–105o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 3 2. 2 – 3 3. 3  2 4. – 3  2

83. ถ้า cos A = – 45 และ sin B = 135 โดยที่ π2  A  π และ 0  B  π2 แล้ว


tan (A – B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 56
33 2. – 33
65 3. 33
65 4. 56
33

84. ถ้า tan A = 43 และ tan B = 512 โดยที่ π  A  3π และ π


2 2  B  π แล้ว
tan (A + B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
33
1. – 56 63
2. – 16 33
3. 56 63
4. 16

85. กาหนดให้ A + B = π4 และ tan A = n n 1 แล้ว tan B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2n1 1 2. 2n1 1 3. 22n2  1 4. 22n 2  1
2n  4n  1 2n  4n  1

86. จากข้อที่ผา่ นมา tan (A – B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2n1 1 2. 2n1 1 3. 22n2  1 4. 2n 2  1
2n  4n  1 2
2n  4n  1

56
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
87. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 2 sin 30o cos 20o = sin 50o + sin 10o
ข. 2 sin 40o cos 28o = cos 12o – cos 68o
ค. cos 43o cos 35o = 12 (cos 78o + cos 8o)
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

88. 2 sin 2 cos  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos 3 – cos  2. sin 3 – sin 
3. cos 3 + cos  4. sin 3 + sin 

89. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 2 sin 5 cos  = sin 6 + sin 4 ข. 2 sin 2a sin 9a = cos 7a – cos 11a
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

90. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 2 sin 30o cos 60o = 12 ข. 2 cos 20o cos 40o = 12
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

91. ค่าของ cos20o – 2 sin20o sin 40o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

92. ค่าของ (cos 75o )2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  34 2 2.  34 2 3. 3 2 1 4. 3 2 1
57
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
93. ค่าของ cos π7 cos 27π cos 47π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 14 3. – 17 4. – 18

94. ค่าของ cos 75o – cos 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

95. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. sin 30o + sin 60o = 2 sin 45o cos 15o
ข. cos 70o + cos 50o = 2 cos 60o cos 10o
ค. sin 3A + sin A = 2 sin A cos 2A
ง. cos 5A + cos 3A = 2 cos 4A cos A
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

96. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. sin 3A – sin 5A = –2 cos 4A sin A
ข. cos A – cos 5A = 2 sin 3A sin 2A
ค. sin 2A + 1 = 2 sin(A + 45o) cos(A – 45o)
ง. 1 + cos 4A = 2 cos2 2A
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

97. กาหนดให้ sin 87o = a แล้วค่าของ cos 57o + sin 27o มีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. a 2. 2a 3. 1 + a 4. 1 + 2a

sin x  sin y มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


98. cos x  cos y
1. tan (x + y) 2. tan (x – y) 3. tan (x 2 y) 4. tan (x 2 y)

58
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
99. sin 2A  sin 2B
sin 2A  sin 2B มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
tan (A  B)
1. tan 2. tan (A  B) 3. tan (A 2 B) 4. tan (A 2 B)
(A  B) tan (A  B)

100. cos 2A  cos 2B


cos 2B  cos 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. tan (A + B) . tan (A – B) 2. cot (A + B) . cot (A – B)
3. tan (A  B)
tan (A  B) 4. cot (A  B)
cot (A  B)

101. ถ้า π2  A  π และ sin A = 45 แล้ว sin 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

102. จากข้อที่ผา่ นมา cos 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

103. จากข้อที่ผา่ นมา tan 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

104. ถ้า π2  A  π และ cosec A = 45 แล้ว tan 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

105. ถ้า π  θ  32π 13 แล้ว sin 2 + cos 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


และ sec  =  12
1. 177 2. 247 3. 120 239
4. 169
169

106. ถ้า 32π  A  2 π และ cos A = 35 แล้ว cot 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 247 2. 177 3. – 177 4. – 247

107. ถ้า π  θ  32π 13 แล้ว sin 2 + cos 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


และ sec  =  12
1. 177 2. 247 3. 120 239
4. 169
169
59
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
108. ถ้า 0  θ  π2 และ cot  = 73 แล้ว 3 cos 2 + 7 sin 2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 1 4. 3

109. กาหนดให้ π2  A
2  π และ tan A2   43 แล้ว tan A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.  24
25 2.  72 3. – 177 4. – 247

110. ถ้า cos A2 5 3π  A 2π แล้ว sin A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


 13 และ 2 2 

1. – 177 2. – 120
169 3. 177 4. 120
169

111. ถ้า 0  θ  π2 และ tan  = 13 แล้ว sin 4 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 13
25 4. 24
25

112. sin 3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 – 2 sin3 A 2. 3 sin A – 4 sin3 A
3. 2 cos3 A – 1 4. 4 cos3 A – 3 cos A

113. cos 3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 – 2 sin3 A 2. 3 sin A – 4 sin3 A
3. 2 cos3 A – 1 4. 4 cos3 A – 3 cos A

114. 2 cot 2x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 cot2 x – 1 2. 1 – 2 tan2 x 3. cot x – tan x 4. cot x + tan x

115. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 1 sincos2θ2θ = tan  ข. 1 = sec 2 ค. tan 2A = cot A 1 tan A
1  2 sin 2 θ
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

60
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
116. ค่าของ sin 15o เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 3 2. 2 3 3. 2 3 4. 2 3
2 2

117. ค่าของ cos 8 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2 2. 2 2 3. 2 2 4. 2 2
2 2

118. ค่าของ cot 38 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2  1 2. 2  1 3. 2 1 4. 21
2 2

119. ถ้า 32π  A  2 π และ tan A = – 43 แล้ว ค่าของ cos A2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 3 1010 2. – 3 1313 3. 3 1010 4. 3 1313

120. ถ้า π  A  3π และ sec A = – 135 แล้ว ค่าของ sin A2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2
1. – 3 1010 2. – 3 1313 3. 3 1010 4. 3 1313

121. ถ้า π2 θ π และ sin  = 135 แล้ว ค่าของ tan θ2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 3 4. 5

122. ถ้า π  a  3π และ cot a = 3


2 4 แล้ว ค่าของ cosec 2a มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 22 2. 23 3. 25 4. 1

123. ถ้า tan 2 = 43 เมื่อ π  2θ  3π แล้ว ค่าของ sin  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2
1. 52 2. 2 5 2 3. 55 4. 2 5 5

124. (cos θ2  sin θ2 )2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 + sin  2. 1 – sin  3. 1 + cos  4. 1 – cos 
61
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.7 เอกลักษณ์ และสมกำรตรีโกณมิติ
8.7.1 เอกลักษณ์
125. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) sin  cot  = cos  b) cos  tan  = sin  c) cos  cosec  = cot 
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

126. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) (1 – cos2) cosec2  = 1 b) (1 – sin2) sec2  = 1 c) cot2 (1 – cos2) = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

127. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) tan  1  sin 2 θ = 1 b) cosec  1  sin 2 θ = 1
c) (1 + tan2) cos2 = 1 d) (sec2  – 1) cot2 = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

128. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) (sec  – 1) (sec  + 1) = tan2 
b) (sec  + tan ) (sec  – tan ) = 1
c) sec2  – csc2  = tan2  – cot2 
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

29. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) sin2  (1 + cot2 ) = cos2 (ข) sec  – tan  = 1 cossinθθ
ข้อใดถูกต้อง
62
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

130. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
tan θ = cot θ  1
(ก) 11  tan θ cot θ  1
(ข) 11  sin
sin θ = csc θ1
θ csc θ1
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

131. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) sin θsin θcos θ = 1  cot
1
θ
(ข) 11  sin θ
sin θ = (sec  – tan )
2
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

132. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) tan (45o – ) = 11  tan θ
tan θ (ข) cos (45o – ) – sin (45o – ) = 1
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

133. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) cot 2 + tan  = cosec 2 (ข) 1 sincos2θ2θ = tan 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

63
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
134. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) (sin θ2 – cos θ2 )2 = 1 – sin  (ข) cossin22θθ cossinθθ 1 = tan 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

8.7.2 สมกำรตรีโกณมิติ
135. ถ้า 0  x  2 แล้วสมการ cos x + 2 cos x sin x = 0 มีคาตอบกี่จานวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

136. ถ้า 0  x  2 แล้วสมการ sin2  + sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

137. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 cos2  – 3 cos  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

138. ถ้า 0  x  2 ดังนั้นผลรวม x ที่สอดคล้องกับสมการ sin2 x – sin x = 0 เท่ากับข้อใด


1. 56π 2. 32π 3.  4. 2

139. ถ้า 0  x  2 ดังนั้นผลรวม x ที่สอดคล้องกับสมการ 3 csc2 x + 2 csc x = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 56π 2.  3. 2 4. 3

140. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cot2  = cot  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

141. ถ้า 0  x  2 ดังนั้นผลรวม x ที่สอดคล้องกับสมการ tan x sin x + tan x = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 56π 2.  3. 2 4. 3
64
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
142. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 2 + sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

143. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 2 cos  – sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

144. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ tan  = 2 sin  เท่ากับข้อใด


1. 56π 2.  3. 2 4. 3

145. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sec  = cos  – tan  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

146. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 4 sin3  – sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

147. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ sin2  – cos2  = 12 เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

148. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 (cos2  – sin2 ) = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

149. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 cos2  + 5 sin  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

150. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin2  – cos2  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

65
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
151. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – 2 cos2  = 3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

152. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  + cos  = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

153. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ sin2  – cos  + 5 = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

154. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos2  + sin  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

155. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cosec  + 2 = sin  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

156. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 1 + 2 sin  = 3 cosec  เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

157. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 2 sin  – 3 cot  = 0 เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

158. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ cot  + 2 sin  = csc  เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

66
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
159. ถ้า 0    2 แล้วสมการ tan2  – sec  = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

160. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 4 tan2  – 3 sec2  = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

161. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos 2 + 3 sin  = 2 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

162. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 2 cos 2 – 3 = 0 เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

163. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 2 cos2  + 2 cos 2 = 1 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

164. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ cos  + 4 sin  – sin 2 = 2


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

165. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 3 sin  = 3 cos  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

166. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos  + sin  = 2 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

67
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
167. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos  + 3 sin  = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

168. ถ้า 0     แล้วสมการ 1  cos   3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


sin 
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

169. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin4  – sin2  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

170. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 3.cos  – cos 3.sin  = cos  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

171. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 2 = 12 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

172. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 5 + sin 3 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

8.8 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
หาค่ าได้ เลย
173. arccos ( 12 ) + arcsin ( 23 ) + arctan ( 3 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

174. arcsin (1) + arcsin (0) + arcsin (–1) + arccos (1) + arccos (0) + arccos (–1) มีค ่าเท่ากับข้อใด
1. 0 2.  3. 2 4. 4

68
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

175. arcsin (– 23 ) – arctan (– 3 ) + arccos (– 22 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 34 3. 54 4. 74

176. arcsec 2 + 2 arccot (1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 46 3. 56 4. 76

177. arcsec 2 + 2 arccot (1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 46 3. 56 4. 76

178. arcsec (–2) + arccosec (– 2 ) – arccot (– 3 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


3
1. 0 π
2. 2 3.  4. 2

179. tan ( arccos 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 1
3

180. sin (arcsin 12 + arcsin 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 23 4. 1

181. tan [ arcsin (  12 ) ] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. – 12 3. – 1 4. –1
3

182. arccos ( sin (  π6 ) ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 34 3. 23 4. 56

69
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

ใช้ 
183. ค่าของ cosec (arctan 12 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. 25 3. 2 4. 5
5

184. ค่าของ sin ( arccot 43 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 135 2. 12
13 3. 125 4. 45

 
185. ค่าของ cot arcsin  32  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 

1. – 12 2. – 214 3. – 2 4. – 14
14

186. ค่าของ sin [arctan (–3)] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 2 2. – 3 1010 3. – 3 10 4. – 10
3

187. ค่าของ sin ( 12 arccot ( 43 ) ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. 25 3. 2 4. 5
5

arctan 43
188. ค่าของ sin ( 2 )  cos (2 arcsin 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 101  256 6
2. 13  25 3. 101  25 7 4. 17
3 25

189. ค่าของ sec [arcsin 135  arctan ( 43 ) ] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 65
63 2. – 16
65 3. 16
65 4. 65
63

190. ค่าของ sin ( arccos 35  arctan 125 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 65
63 2. – 16
65 3. 16
65 4. 65
63
70
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

sin ( arcsin x ) = x
191(แนว En) cos arccos (– 12 ) + sin arccosec 2 + tan arccot 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13 2. 12 3. 2 4. 3

192(แนว En) tan arc tan (–1) + cos (arcsec 2) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 13 2. – 12 3. 12 4. 13

193(แนว En) cos arc sin 45  + sin arc cos 23  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


11
1. – 10 2. – 109 3. 109 11
4. 10

194(แนว En) cos (arccos 5 ) + sin (arccosec 14 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –9 2. 0 3. 9 4. หาค่าไม่ได้

195(แนว En) cos 3 – arc cos x  + sin 2 + arc sin x  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – x 2. 0 3. x 4. หาค่าไม่ได้

196(แนว En) cos ( π2 + arcsin 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 43 2. – 23 3. 23 4. 43

197. ค่าของ sin( π2 + arccos x ) . cos ( – arcsin x) ตรงกับข้อใด


1. x 1  x 2 2. –x 1  x 2 3. 1 4. 2x

198. ค่าของ cos (2 arcsin 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 257 2. – 256 3. 256 4. 257

199. ค่าของ sin [ arccos 35 + arcsin (– 35 ) ] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 257 2. – 256 3. 256 4. 257
71
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

200. ค่าของ cos arcsin  1   arccos 2  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


    
  2  5 

1. 3  1 2. 3  1 3. – 1 4. 1
10 10 10 10

arcsin x + arcsin x = 90
201(แนว En) tan  12 (arcsin 45 + arccos 45 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

202(แนว En) sec  12 (arctan 35 + arccot 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 3 3. 1 + 2 4. 2 + 3

203(แนว En) ถ้า arccos x – arcsin x = π2 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 2

arctan A + arctan B = arctan 1AABB


204(แนว A–Net) sec (arctan 2 + arctan 3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 2 2. – 1 3. 1 4. 2
2 2

8.9 กฏของโคไซน์ และไซน์


205. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 42o , B = 63o และ b = 15 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 11 2. 11 3 3. 18 4. 18 3

206. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 100o , C = 34o และ a = 24 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 11 2. 11 3 3. 18 4. 18 3

72
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
207. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า C = 30o , b = 2.4 และ c = 1.2 แล้ว มุม B มีขนาดเท่าใด
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

208. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า Â = 45o , Ĉ = 60o และ b = 20 แล้ว c มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 20 2. 20 3. 20 6 4. 20 6
3 1 3 1 3 1 3 1

209. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B = 65o , a = 4 และ c = 8 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 6.5 2. 7.3 3. 8.4 4. 9.3

210. ในสามเหลี่ยม ABC มี B = 30o , c = 150 และ b = 75 แล้ว มุม A กางกี่องศา


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

211. ในสามเหลี่ยม ABC มี a = 3.9 , b = 5.2 และ c = 6.5 แล้ว มุม C กางกี่องศา
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

212. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 15 , b = 20 และ Ĉ = 30o แล้ว พื้นที่ของรู ปสาม
เหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 50 2. 75 3. 80 4. 86

213. ถ้าสามเหลี่ ยม ABC มี มุม BAC = 45 มุม ACB = 60 และด้าน AC ยาว 20 นิ ้ ว แล้ว
พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 300 2 2. 300 3 3. 200 2 4. 300 3
3 1 3 1 3 1 3 1

8.10 กำรหำระยะทำงและควำมสู ง
214(แนว มช) สามเหลี่ยมรู ปหนึ่งมีฐานยาว 6 เซนติเมตร มุมที่ฐานมุมหนึ่งมีขนาดเป็ น 120 องศา
ด้านที่อยูต่ รงข้ามมุมที่ฐานที่กาหนดให้ยาว 14 เซนติเมตร ความยาวของด้านที่เหลือมีค่าเท่ากับ
กี่เซนติเมตร
73
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
215. รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานรู ปหนึ่ งมีขนาดของมุมๆ หนึ่ งเท่ากับ 135o ด้านประกอบมุมนี้ ยาว 5
และ 10 เซนติเมตร เส้นทแยงมุมเส้นสั้นของรู ปสี่ เหลี่ยมนี้ ยาวเท่ากับข้อใด (เซนติเมตร)
1. 25  50 2 2. 25  50 2 3. 125  50 2 4. 125  50 2

216. รู ปสามเหลี่ ยมหน้าจัว่ ซึ่ งมีฐานยาว 60 หน่ วย และขนาดของมุมยอดเป็ น 30 องศา แล้ว


ความยาวของเส้นรอบรู ปของสามเหลี่ยมนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. ( 6  2  1 ) 2. ( 6  2  1 )
3. ( 6  2  1 ) 60 4. ( 6  2  1 ) 60

217. ชายคนหนึ่ งยืนห่ างจากตึก 20 เมตร มองเห็ นโคนเสาธงซึ่ งปั กอยูบ่ นยอดตึกเป็ นมุมเงย 45o
และปลายเสาธงเป็ นมุมเงย 60o ความสู งของเสาธงมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 11.58 2. 12.64 3. 13.26 4. 14.64

218. ชายคนหนึ่ งยืนอยูท่ ี่ริมเขื่อนซึ่ งสู งจากระดับน้ าทะเล 100 เมตร มองเห็นเรื อสองลาทอดสมอ
อยูใ่ นทะเลเป็ นมุมก้ม 30o และ 60o ตามลาดับ จากเส้นสายตาระดับเดี ยวกัน เรื อทั้งสองลา
นั้นอยูห่ ่างจากกันเท่ากับกี่เมตร
1. 97.82 2. 107.68 3. 115.47 4. 120.22

74
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
เฉลยตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 3.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 1.
85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 3. 87. ตอบข้ อ 3. 88. ตอบข้ อ 4.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 2.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 4.
97. ตอบข้ อ 4. 98. ตอบข้ อ 3. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 2.
101. ตอบข้ อ 1. 102. ตอบข้ อ 2. 103. ตอบข้ อ 4. 104. ตอบข้ อ 4.
105. ตอบข้ อ 4. 106. ตอบข้ อ 1. 107. ตอบข้ อ 4. 108. ตอบข้ อ 4.
75
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
109. ตอบข้ อ 4. 110. ตอบข้ อ 2. 111. ตอบข้ อ 4. 112. ตอบข้ อ 2.
113. ตอบข้ อ 4. 114. ตอบข้ อ 3. 115. ตอบข้ อ 2. 116. ตอบข้ อ 4.
117. ตอบข้ อ 3. 118. ตอบข้ อ 1. 119. ตอบข้ อ 1. 120. ตอบข้ อ 4.
121. ตอบข้ อ 4. 122. ตอบข้ อ 3. 123. ตอบข้ อ 4. 124. ตอบข้ อ 2.
125. ตอบข้ อ 4. 126. ตอบข้ อ 3. 127. ตอบข้ อ 2. 128. ตอบข้ อ 3.
129. ตอบข้ อ 3. 130. ตอบข้ อ 1. 131. ตอบข้ อ 1. 132. ตอบข้ อ 2.
133. ตอบข้ อ 1. 134. ตอบข้ อ 1. 135. ตอบข้ อ 4. 136. ตอบข้ อ 3.
137. ตอบข้ อ 4. 138. ตอบข้ อ 2. 139. ตอบข้ อ 4. 140. ตอบข้ อ 4.
141. ตอบข้ อ 2. 142. ตอบข้ อ 4. 143. ตอบข้ อ 3. 144. ตอบข้ อ 4.
145. ตอบข้ อ 2. 146. ตอบข้ อ 3. 147. ตอบข้ อ 4. 148. ตอบข้ อ 4.
149. ตอบข้ อ 2. 150. ตอบข้ อ 3. 151. ตอบข้ อ 4. 152. ตอบข้ อ 3.
153. ตอบข้ อ 1. 154. ตอบข้ อ 1. 155. ตอบข้ อ 1. 156. ตอบข้ อ 2.
157. ตอบข้ อ 2. 158. ตอบข้ อ 4. 159. ตอบข้ อ 3. 160. ตอบข้ อ 4.
161. ตอบข้ อ 1. 162. ตอบข้ อ 1. 163. ตอบข้ อ 4. 164. ตอบข้ อ 1.
165. ตอบข้ อ 2. 166. ตอบข้ อ 1. 167. ตอบข้ อ 2. 168. ตอบข้ อ 4.
169. ตอบข้ อ 3. 170. ตอบข้ อ 4. 171. ตอบข้ อ 4. 172. ตอบข้ อ 4.
173. ตอบข้ อ 3. 174. ตอบข้ อ 4. 175. ตอบข้ อ 2. 176. ตอบข้ อ 3.
177. ตอบข้ อ 3. 178. ตอบข้ อ 2. 179. ตอบข้ อ 3. 180. ตอบข้ อ 4.
181. ตอบข้ อ 3. 182. ตอบข้ อ 3. 183. ตอบข้ อ 4. 184. ตอบข้ อ 4.
185. ตอบข้ อ 2. 186. ตอบข้ อ 2. 187. ตอบข้ อ 3. 188. ตอบข้ อ 3.
189. ตอบข้ อ 4. 190. ตอบข้ อ 2. 191. ตอบข้ อ 1. 192. ตอบข้ อ 2.
193. ตอบข้ อ 4. 194. ตอบข้ อ 4. 195. ตอบข้ อ 2. 196. ตอบข้ อ 2.
197. ตอบข้ อ 2. 198. ตอบข้ อ 1. 199. ตอบข้ อ 4. 200. ตอบข้ อ 4.
201. ตอบข้ อ 2. 202. ตอบข้ อ 1. 203. ตอบข้ อ 1. 204. ตอบข้ อ 4.
205. ตอบข้ อ 1. 206. ตอบข้ อ 3. 207. ตอบข้ อ 4. 208. ตอบข้ อ 4.
209. ตอบข้ อ 2. 210. ตอบข้ อ 3. 211. ตอบข้ อ 4. 212. ตอบข้ อ 2.
213. ตอบข้ อ 4. 214. ตอบ 10 215. ตอบข้ อ 3. 216. ตอบข้ อ 3.
217. ตอบข้ อ 4. 218. ตอบข้ อ 3.

76
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
9.1 ระบบพิกดั ฉากสามมิติ
รู ปภาพต่อไปนี้ เป็ นรู ปแสดงพิกดั ฉากสามมิติตามกฏมือขวา
Z

(x,y,z)
O Y

แกน +Z จะมีทิศไปตามนิ้วหัวแม่มือ
แกน +X จะมีทิศตามหน้ามือ
แกน +Y จะมีทิศมาตามแขนขวา ดังรู ป
จุด ( x , y , z ) คือ จุดซึ่ งอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน X เท่ากับ x หน่วย
และอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน Y เท่ากับ y หน่วย
และอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน Z เท่ากับ z หน่วย
ฝึ กทา. จงเขียนจุด A (2 , 2 , –1) , B (1 , –3 , 2 ) , C (–1 , 3 , 3 ) ลงในระบบพิกดั ฉากสามมิติ
Z

3
Y
–3 3

การหาระยะระหว่ างจุด 2 จุด บนพิกดั สามมิติ


หากจุด ( x1 , y1 , z1) และ ( x2 , y2 , z2) เป็ นจุ ดซึ่ งอยู่บ นพิ ก ัด 3 มิ ติ ระยะห่ า ง
ระหว่างจุดทั้งสองสามารถหาค่าได้จากสมการ
d = (x1  x 2 ) 2  (y1  y 2 ) 2  (z1  z 2 ) 2
เมื่อ d คือระยะห่างระหว่างจุดทั้งสองนั้น

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1. ระยะทางระหว่างจุด A ( 1 , 0 , 3 ) และ B (–1 , 3 , 2 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 14 4. 20

9.2 เวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์ คือปริ มาณที่ตอ้ งบอกทั้งขนาด และทิศทางจึงจะสมบูรณ์
ปริมาณสเกลลาร์ คือปริ มาณที่บอกขนาดเพียงอย่างเดียวก็สมบูรณ์ได้
โดยทัว่ ไปแล้วเราจะใช้ลูกศรเขี ยนแทนเวกเตอร์ ท้ ังขนาดและทิ ศทางของเวกเตอร์ และใช้
อักษรแทนจุดเริ่ มต้นกับจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ และอาจใช้อกั ษรจุดเริ่ มต้นกับจุดสุ ดท้ายนั้นมาเขียน
เป็ นชื่ อของเวกเตอร์ ก็ได้ นอกจากนี้ การเรี ยกชื่ อของเวกเตอร์ น้ นั อาจใช้อกั ษรเพียงตัวเดี ยวแทนชื่ อ
ของเวกเตอร์ ก็ได้ดงั รู ป
B C
v
A u
D
AB อ่านว่า "เวกเตอร์เอบี" CD อ่านว่า "เวกเตอร์เอบี" u อ่านว่า "เวกเตอร์ย"ู v อ่านว่า "เวกเตอร์ว"ี
สาหรับความยาวของเวกเตอร์ใดๆ อาจเขียนแทนด้วย   ได้เช่น
 AB  แทนความยาวของเวกเตอร์ AB
 u  แทนความยาวของเวกเตอร์ u
เวกเตอร์ ศูนย์ ( Zero Vector ) คือเวกเตอร์ ที่มีขนาดเท่ากับ 0 และมีทิศใดๆ ก็ได้ เขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ 0

ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1) P PQ อ่านว่า ..............................................
Q PQ คือ ..............................................
2) u u อ่านว่า ..............................................
 u  คือ ..............................................

2
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
นิยามเบือ้ งต้ นของเวกเตอร์
นิยาม 1 u และ v จะขนานกันก็ต่อเมื่อ
u และ v มีทิศเดียวกันหรื อตรงกันข้าม

นิยาม 2 u และ v จะเท่ากันก็ตอ่ เมื่อ


เวกเตอร์ ท้ งั สองมีขนาดเท่ากันและมีทิศเดียวกัน

นิยาม 3 นิเสธของ u คือเวกเตอร์ที่มี


ขนาดเท่ากับขนาดของ u แต่มีทิศทางตรงกัน
ข้ามกับขนาดของ u เขียนแทนด้วย – u
โปรดสั งเกตุ
1) u จะขนานกับ – u เสมอ
2) ปกติแล้ว u  – u ยกเว้น u = 0 จะได้วา่ u = – u
3) – AB = BA
– DC = CD
PQ = – QP
ST = – TS
2. u จะขนานกับ v ก็ต่อเมื่อ
1. u และ v มีความยาวเท่ากัน 2. u และ v มีทิศเดียวกัน
3. u และ v มีทิศตรงกันข้าม 4. ข้อ 2. และข้อ 3. ถูก

3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ถ้า u ขนานกับ v แล้ว u = v
2. ถ้า u มีทิศเดียวกับ v แล้ว u = v
3. ถ้า u ยาวเท่ากับ v แล้ว u = v
4. ถ้า u = v แล้ว u มีทิศเดียวกับ v และ u ยาวเท่ากับ v

3
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
4. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. u มีทิศเดียวกับ – u 2. u มีทิศตั้งฉากกับ – u
3. u  – u เสมอ 4. AB = – BA

ฝึ กทา. ให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน ดังรู ป


จงหาเวกเตอร์ ที่เท่ากับเวกเตอร์ ที่ให้ ต่อไปนี้
(1) AB (2) BC (3) AE
(4) ED (5) – BC (6) – AE

การบวกเวกเตอร์
นิยาม ถ้าจุดปลายของ u เป็ นจุดเดียวกับจุดตั้งต้นของ v แล้ว u + v คือเวกเตอร์ซ่ ึงมี
จุดตั้งต้นเป็ นจุดเดียวกับจุดตั้งต้นของ u และมีจุดสิ้ นสุ ดเป็ นจุดจุดเดียวกับจุดสิ้ นสุ ดของ v
ตัวอย่าง

คุณสมบัติของการบวกเวกเตอร์
ให้ u , v และ w เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระนาบ แล้ว
(1) u + v เป็ นเวกเตอร์ ในระนาบเดียวกับ u , v
(2) u + v = v + u
(3) ( u + v ) + w = u + ( v + w )
(4) 0 + u = u และ u + 0 = u
(5) u + (– u ) = 0 และ (– u ) + u = 0
(6) ถ้า u = v แล้วจะได้ u + w = v + w
(7) u  k ไม่มีความหมาย เมื่อ k เป็ นสเกลลาร์ เช่น u + 8 ไม่มีความหมาย
4
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
การลบเวกเตอร์
นิยาม ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระนาบ
แล้ว u – v และ u + (– v )
จะเห็นว่าการลบเวกเตอร์ ก็คือการบวกด้วยนิ เสธของ
เวกเตอร์ น้ นั ๆ นัน่ เอง

ฝึ กทา. จงเขียนเวกเตอร์ PQ ให้อยูใ่ นรู ปผลบวก ลบ ของเวกเตอร์ a , b หรื อ c


1. Q
2. b 3. Q
4. b
a a c
c
b P
b P
P P Q
a Q a
PQ =................ PQ =................ PQ =................ PQ =................

ฝึ กทา. จากรู ปจงเขียนเวกเตอร์ ต่อไปนี้ในรู ปของ


เวกเตอร์ a , b , c , d , e หรื อ f
BD =
CA =
DB =
AF =
FA =
AE =
EA =

5. จากรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง


A B
1. AB + BC = AC
2. AE + ED = AB + BD F C

3. AF + FE + ED = AC + CD
4. AC + CD + DE = AF + FD E D

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
6. กาหนดจุด A , B , C , D , E และ F บนระนาบ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) DC + BA + CB + AD = 0
(ข) AB + DE + BC + EF + CA + FD = 0
(ค) AB – DC + BC – FE + DE – AF  0
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกเพียง 1 ข้อ 2. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกเพียง 2 ข้อ
3. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกทุกข้อ 4. ข้อความ (ก) – (ค) ผิดทุกข้อ

การคูณเวกเตอร์ ด้วยสเกลลาร์
นิยาม ให้ a เป็ นจานวนจริ งและ u เป็ นเวกเตอร์ ผลคูณระหว่าง a และ u เป็ น
เวกเตอร์ที่เขียนแทนด้วย a u โดยที่
1) ถ้า a > 0 แล้ว a u จะมีขนาดเท่ากับ a u
และมีทิศทางเดียวกับ u
2) ถ้า a < 0 แล้ว a u จะมีขนาดเท่ากับ a  u 
และมีทิศตรงกันข้ามกับ u
3) ถ้า a = 0 แล้ว a u = 0
คุณสมบัติของการคูณเวกเตอร์ ด้วยสเกลาร์
ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ใดๆ a และ b เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
(1) a u เป็ นเวกเตอร์
(2) a (b u ) = ( a b) u = b (a u )
(3) (a + b) u = a u + b u
(4) a ( u + v ) = a u + a v
(5) 1u = u
6
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ฝึ กทา. กาหนด u ดังรู ป u
จงหาเวกเตอร์ ต่อไปนี้
1. 2 u 2. –3 u 3. 0 u

คาชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ สาหรับ R


ตอบคาถาม 3 ข้อถัดไป 3u v
จากรู ป กาหนด PR = 3 u Q S
RS = v
P

7. QR เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –3 u 2. –2 u 3. 2 u 4. 3 u

8. PS เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + v 2. 2 u + v 3. –3 u – v 4. –2 u – v

9. SQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + v 2. 2 u + v 3. –3 u – v 4. –2 u – v

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
10. ในรู ป ABC เส้น AD เป็ นเส้นมัธยฐาน BA = a
และ BD = b จงหาว่า CA คือข้อใดต่อไปนี้
1. a 2. a – b
3. a – 2 b 4. a + 2 b

คาชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ สาหรับตอบคาถาม


6 ข้อถัดไป
จากรู ป กาหนดให้ AB = u , AC = v
P และ Q เป็ นจุดซึ่ง AP = 3 u , AQ = 2 v
11. BC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v – u 4. –2 u

12. PB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v – u 4. –2 u

13. PQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + 2 v 2. 3 u – 2 v 3. –3 u + 2 v 4. –3 u – 2 v

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
14. PC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + v 2. 3 u – v 3. –3 u + v 4. –3 u – v

15. BD + DC + CQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + 2 v 2. u – 2 v 3. – u + 2 v 4. – u – 2 v

16. AM , M เป็ นจุดกึ่งกลางของด้าน BC คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้


1. u + v 2. u – v 3. v u 4. v u
2 2

คาชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ สาหรับตอบคาถาม D C


2 ข้อถัดไป
จากรู ป ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน O O
เป็ นจุดกึ่งกลางของเส้นทแยงมุม BD
A B
กาหนด AB = u , AD = v
17. AO เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v  u 4. v u
2 2

9
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
18. BO เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v  u 4. v u
2 2

19. จากรู ป BD : DC = 1 : 2 แล้ว AD คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้


1. 2 u  v 2. 2 u  v
3 3
3. v  u 4. v  u
2 2

20. กาหนดให้ C เป็ นจุดบน AB และ C อยูห่ ่างจากจุด A


เป็ นระยะทาง 23 ของระยะ AB แล้ว w คือเวกเตอร์
ในข้อใดต่อไปนี้
1. w = u + 23 v 2. w = 13 u + 23 v
3. w = 23 u – 13 v 4. w = – 23 u – 13 v

21. AB เป็ นส่ วนของเส้นตรง P เป็ นจุดใดๆ ที่ไม่อยูบ่ น


ส่ วนของ AB แบ่งครึ่ ง AB ที่จุด C ลาก PA , PC
และ PB ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ที่ถูกคือข้อใด
1. PC = 4 ( PA – PB ) 2. PC = 2 ( PA + PB )
3. 2 PC = ( PA + PB ) 4. 4 PC = ( PA + PB )

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
22. กาหนด ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานเส้นทแยงมุม AC และ BD ตัดกันที่สุด O ลาก
OE แบ่ง AB ที่ E ออกเป็ น AE : EB = 2 : 3 และ
AB = u , AD = v แล้ว OE คือเวกเตอร์ใน D C
ข้อใดต่อไปนี้ O
1. 101 u + 12 v 2. 101 u – 12 v
A E B
3. – 101 u + 12 v 4. – 101 u – 12 v

9.3 เวกเตอร์ ในระบบพิกัดฉาก


9.3.1 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติน้ นั เราอาจเขียนสัญลักษณ์แทนเวกเตอร์ ใดๆ ในรู ป x 
 y 
โดยที่ x คือความยาวจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ในแนวนอน ถ้า x มีค่าเป็ น
บวกแสดงว่ามีทิศไปทางขวามือ ถ้ามีค่าเป็ นลบแสดงว่ามีทิศไปทางซ้ายมือ
และ y คือความยาวจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ ในแนวดิ่ง ถ้า y มีค่าเป็ นบวก
แสดงว่ามีทิศขึ้นไปด้านบน ถ้ามีค่าเป็ นลบแสดงว่ามีทิศลงไปทางด้านล่าง

ตัวอย่าง

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ถ้าเวกเตอร์ AB มีจุดเริ่ มต้นอยูท่ ี่จุด A (x1 , y1)
B (x2 , y2)
และจุดสุ ดท้ายอยูท่ ี่ B (x2 , y2) จะได้วา่
x  x 
AB =  2 1 
 y 2  y1  A (x1 , y1)

ฝึ กทา. จงวาดรู ปคร่ าวๆ ของเวกเตอร์ ต่อไปนี้


2   4   2   2 
1.   2.   3.   4.  
 3   1   4    5 

23. กาหนดจุด A (1 , 2) และ B (3 , 4) แล้ว AB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   4  2   2 
1.   2.   3.   4.  
 3   1  2   2 

24. กาหนดจุด C (–2 , –3) และ D (5 , 6) แล้ว CD และ DC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ตามลาดับ


7    7   7  7   7   7   7  7 
1.   ,   2.   ,   3.   ,   4.   ,  
9   9  9   9  9  9   9 9 

25. กาหนดจุด A (1 , 2) , B (2 , 3) และ C (5 , 6) แล้ว AB + BC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   4  4  4 
1.   2.   3.   4.  
4   4  4   2 

12
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
26(แนว มช) เวกเตอร์ ที่มีจุดเริ่ มต้นที่ (0 , 0) มีความยาว 4 หน่วย และทามุม –30o กับแกน X คือข้อใด
2  2 3   2   2 3 
1.   2.   3.   4.  
2   2 
  
  2 3 
 
 2 

9.3.2 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ


x 
 
เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ จะเขียนอยูใ่ นรู ป y 
 
 z 
เมื่อ x คือความยาวตามแนวแกน X จากจุดเริ่ มต้น
y คือความยาวตามแนวแกน Y จากจุดเริ่ มต้น
z คือความยาวตามแนวแกน Z จากจุดเริ่ มต้น
ถ้า A ( x1 , y1 , z1) และ B ( x2 , y2 , z2) เป็ นจุดตั้งต้นและจุดปลายของ AB ใดๆ แล้ว
x  x 
 2 1
จะได้วา่ AB = y  y 
 2 1
z  z 
 2 1
27. ให้ P มีพิกดั เป็ น (3 , 4 , –4 ) และ Q มีพิกดั เป็ น (5 , 0 , 7 ) แล้ว PQ คือข้อใดต่อไปนี้
 2   2  2   2
   4   4   4
1.  4  2.   3.   4.  
 11   11  11   11

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ

บทนิยาม เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ


สองมิติ
a  d 
a   c     
การเท่ากัน    b  e 
 b  d     
 c   f 
ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ก็ต่อเมื่อ a = d , b = e และ c = f
a  d  a  d 
a   c  a  c       
การบวกเวกเตอร์         b  e   b  e 
 b  d   b  d       
 c   f   c  f 
a  d  a  d 
a   c  a  c       
การลบเวกเตอร์         b  e   b  e 
 b  d   b  d       
 c   f   c  f 
a   a   a  a 
การคูณเวกเตอร์         
 b  b   b  b 
ด้วยสเกลาร์    
เมื่อ  เป็ นจานวนจริ งใดๆ  c  c 
0 
0   
เวกเตอร์ศูนย์ เวกเตอร์ศูนย์คือ   เวกเตอร์ศูนย์คือ 0 
0   
0 

28. เวกเตอร์ ที่กาหนดต่อไปนี้ เท่ากับเวกเกตอร์ ในตัวเลือกใด


2  4  9  7   3  3 
ก)   +   ข)   –   ค)   + 2  
3  5  8  8   4  4 
6  16  0  6  2  3 
1. ก)   ข)   ค)   2. ก)   ข)   ค)  
8  16  0  8  0  4 
6   16  0  6   2   3 
3. ก)   ข)   ค)   4. ก)   ข)   ค)  
8   16  0  8  0   4 

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1  3
   
29. กาหนดให้ a  2  , b  4  แล้ว a + 2 b เท่ากับเวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
   
4  2 
7 4  7  4 
       
1. 10  2. 6  3.   10  4.  6
       
 8   6    8    6 

 3
30. กาหนดให้ CD =   และ C (2 , 3) แล้วพิกดั ของจุด D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 
1. (1 , 4) 2. (–1 , 4) 3. (1 , –4) 4. (–1 , –4)

 2 
31. กาหนดให้ EF =   และ F (3 , –4) แล้วพิกดั ของจุด E เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 5 
1. (5 , 1) 2. (–5 , 1) 3. (5 , –1) 4. (–5 , –1)

 5
32. กาหนดให้ A(–1 , 3) , B (x , y) , C (4 , 6) และ AB =   แล้ว BC เท่ากับ
 4
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
10   10   10   10 
1. BC =   2. BC =   3. BC =   4. BC =  
 1   1   1   1 

15
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
33(แนว มช) ถ้า A (4 , –1) , B (m , m) และ C(1 , 2) เป็ นจุด 3 จุด ในระบบแกนมุมฉาก และ
AB  aAC เมื่อ a เป็ นจานวนจริ ง ซึ่ง a  0 แล้ว m เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 43 2. 43 3. 23 4. 23

9.3.3 เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย


เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย คือเวกเตอร์ ที่มีความยาวหนึ่งหน่วยไม่วา่ จะมีทิศใดก็ตาม
1  0 
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ควรรู ้จกั ได้แก่ i =   และ j =  
0  1 
a 
ควรทราบว่า   = a i + b j
b
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ควรรู ้จกั ได้แก่
1  0  0 
     
i = 0  , j = 1  และ k = 0 
     
0  0  1 
a 
 
ควรทราบว่า  b  =a i +b j + c k
 
 c 

1  0 
ฝึ กทา. กาหนด i =   และ j =   จงเขียนเวกเตอร์ ต่อไปนี้ ในรู ป i และ j
0  1 
2    3  4 
1)   = 2)  = 3)   =
3   4   5

3  0  1 
4)   = 5)   = 6) 2  =
0  2  3
4 

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
34. AB มีจุดเริ่ มต้นที่ A (1 , 2 , 0) และ จุดปลายที่ B (–2 , 3 , 1) แล้ว AB เท่ากับเวกเตอร์
ข้อใดต่อไปนี้
1. –3 i + j + k 2. 3 i – j – k
3. –3 i + j – k 4. 3 i – j + k

1  3 
35. OA =   , OB =   , O เป็ นจุดก าเนิ ดในระบบแกนมุ มฉาก แล้ว AB เท่ากับ
4  2 
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 2 j 2. 2 i – 2 j 3. 2 i + 2 j 4. –2 i – 2 j

36. กาหนดให้ (b i + 4 j ) + (5 i + 6 j ) = a (4 i + 5 j ) ดังนั้น a และ b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. a = 2 , b = 3 2. a = 3 , b = 2
3. a = 3 , b = 5 4. a = 5 , b = 3

37. ให้ p = 2 i – 3 j , q = 1 i + 2 j และ a = 9 i + 4 j แล้ว a เท่ากับเวกเตอร์


ข้อใดต่อไปนี้
1. p + q 2. p + 5 q 3. 2 p + 5 q 4. 5 p + 2 q

17
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
0  18 
38. กาหนดให้ OA =   ; OB =   และ P เป็ นจุดๆ หนึ่งบน AB และ
10  22 
AP : PB = 1 : 3 แล้ว OP เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 i + 18 j 2 . 54 i  15 j 3. 3 i + 17 j 4. 9 i  13 j
7 7 2

9.3.4 เวกเตอร์ ที่ขนานกัน


a  c 
ถ้า   ขนานกับ   จะได้วา่ ab = dc
b d 
a  d 
   
และ ถ้า  b  ขนานกับ  e  จะได้วา่ a : b : c = d : e : f
   
 c   f 

ฝึ กทา. เวกเตอร์ ต่อไปนี้ เวกเตอร์ ใดบ้างที่ขนานกัน


1  2   8  9 1  7  8  2 
  ,   ,   ,  ,   ,   ,   ,  
2  1   4  3 3 0  0  4 

ฝึ กทา. เวกเตอร์ ต่อไปนี้ เวกเตอร์ ใดบ้างที่ขนานกัน


1   0   2  1   0 
         
2  ,  3  ,  4  , 1  ,   3
         
1   2   2  2   2 

18
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
39. กาหนดให้ u = a i – 2 j และ v = 2 i – 3 j ถ้า u ขนานกับ v แล้ว a มีค่า
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 43 2. 43 3. 23 4. 23

40. กาหนดให้ u = a i + 3 j + b k , v = 2 i – 2 j + k ถ้า u ขนานกับ v แล้ว


2 a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –6 2. – 152 3. 6 4.

9.3.5 ขนาดของเวกเตอร์
กาหนด ความยาวของ u เขียนแทนด้วย  u 
a  a 
และ ถ้า u =   แล้ว  u  =   = a 2  b2
b  b 
a  a 
   
ถ้า u = b แล้ว  u  = b = a 2  b2  c 2
   
 c   c 

ฝึ กทา. จงหาขนาดของเวกเตอร์ ต่อไปนี้


3  5 2  1 
1.   ,   ,   ,  
4  6 1  3
2. AB เมื่อพิกดั ของ A และ B คือ (1 , 2) และ (5 ,7) ตามลาดับ

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1 
 
41. ขนาดของเวกเตอร์ 1  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
3
1. 5 2. 10 3. 11 4. 13

42. ถ้า u = a i + 12 j และ  u  = 13 แล้ว a เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 5 2.  5 3. 10 4.  10

43(แนว En) กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมมี D เป็ นจุดบนด้าน AB ซึ่ งแบ่ง AB เป็ นอัตราส่ วน
AD : DB = 3 : 2 และ CA = 3 i – 2 j และ CB = 2 i + 3 j แล้ว 5 CD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 11 3. 13 4. 14

ควรทราบเพิม่ เติม
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และมีทิศทางเดียวกับ u
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และมีทิศทางตรงข้ามกับ u
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และขนานกับ u
20
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
44. ถ้าเวกเตอร์ AB มี จุดเริ่ ม ต้นที่ A (–2 , 1) และมี จุดสิ้ น สุ ดที่ B (1 , 2) แล้วเวกเตอร์ ซ่ ึ งยาว
40 หน่วย และมีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ AB คือข้อใดต่อไปนี้
2   2  6   6
1.   2.   3.   4.  
6    6  2   2 

2 
45. เวกเตอร์ที่มีขนาด 3 หน่วย และมีทิศตรงกันข้ามกับเวกเตอร์ 4  คือข้อใดต่อไปนี้
 
1. 6 i + 12 j 2. 6 i – 12 j
20 20 20 20
3. – 6 i + 12 j 4. – 6 i – 12 j
20 20 20 20

46(แนว มช) เวกเตอร์ที่มีขนาด 4 หน่วย และขนานกับผลบวกของเวกเตอร์


 2   1
a =   และ b =   คือเวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
 3   0
 2    2  2 
1.   2.   3.   4. ข้อ 1 และ 2.
 2 3  2 3   2 3 

47. AB มีจุดเริ่ มต้นที่ A (1 , 2 , 0) และมีจุดปลายที่ B (–2 , 3 , 1) แล้วเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่มี


ทิศทางเดียวกับ AB คือข้อใดต่อไปนี้
1. 111 ( 3 i – j – k ) 2. 1 (3 i – j – k )
11
3. 111 ( –3 i + j + k ) 4. 1 ( –3 i + j + k )
11

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.6 โคไซน์ แสดงทิศทาง
a 
 
ถ้า u =  b  โคไซน์แสดงทิศทางของ u คือจานวนสามจานวนเรี ยงลาดับดังนี้
 
 c 
a , b , b โดยที่  u   0
u u u

48. กาหนดให้ a = 3 i + 4 j + 5 k โคไซน์แสดงทิศทางของ a คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 , 4 , 5 2. 35 , 45 , 1
2 2 2
3. 3 , 4 , 5 4. 23 , 2 , 25
5 2 5 2 5 2

เวกเตอร์ สองเวกเตอร์ จะมีทิศทางเดียวกัน ก็ต่อเมื่อ มีโคไซน์แสดงทิศทางชุ ดเดียวกัน และ


จะมีทิศทางตรงกันข้าม ต่อเมื่อโคไซน์แสดงทิศทางเทียบแต่ละแกนของเวกเตอร์ หนึ่ งเป็ นจานวนตรง
ข้ามกับโคไซน์แสดงทิศทางของอีกเวกเตอร์ หนึ่ง
ฝึ กทา. จงตรวจสอบว่าเวกเตอร์ ต่อไปนี้ คูใ่ ดมีทิศเดียวกัน
ก. เวกเตอร์ PQ มีจุดเริ่ มต้นที่ P ( 1 , 2 , 3 ) และ จุดสิ้ นสุ ดที่ Q (2 , –3 , 5)
ข. เวกเตอร์ OR ซึ่งมีจุดเริ่ มต้นที่จุดกาเนิ ดและจุดสิ้ นสุ ดที่ R (–3 , 15 , –6 )
ค. a = 2 i – 10 j + 4 k

9.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
ผลคูณเชิงสเกลลาร์ของ u และ v เขียนแทนด้วย u  v
a  x 
ถ้า u =   และ v =   จะได้วา่ u  v = a x + b y
 b   y 
a  x 
   
ถ้า u =  b  และ v =  y  จะได้วา่ u  v = a x + b y + c z
   
 c   z 
22
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ

49. ถ้า u = 2 i  3 j และ v =  3 i  4 j แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

 4   1 
   
50. กาหนดให้ a   1  และ b   2  แล้ว a . b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
   
 2    3 
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

3  2  1 
ฝึ กทา. ให้ u =   , v =   และ w =   จงหาค่าของ
4  1   3
1) u  v 2) u  u 3) u  v  w  4) u  v   w 5) u  v   w

สมบัติทสี่ าคัญของผลคูณเชิ งสเกลาร์


1. ให้ u , v และ w เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในสองมิติ หรื อสามมิติ และ a เป็ นสเกลาร์ จะได้ว า่
1.1 u . v = v . u
1.2 u . (v  w)  u .v  u .w
1.3 a(u . v)  (au) . v  u .(av)
1.4 0 . u  0
1.5 u . u  u 2
1.6 i . i  j. j  k . k = 1
i . j  i.k  j . k  0
2. ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง u และ v ซึ่ ง 0    180o แล้ว u . v = u v cos
( มุมระหว่างเวกเตอร์ หมายถึงมุมที่ไม่ใช่มุมกลับ ซึ่ งมีแขนของมุมเป็ นรังสี ที่ขนาน และมี
ทิศทางเดียวกันกับเวกเตอร์ท้ งั สอง)
3. ถ้า u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่ไม่ใช่เวกเตอร์ ศูนย์ u ตั้งฉากกับ v ก็ต่อเมื่อ u . v = 0
23
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
51. กาหนดให้ u เป็ นเวกเตอร์ ที่ มีความยาว 12 หน่ วย และ v เป็ นเวกเตอร์ ซ่ ึ งยาวหนึ่ ง
หน่วย และ v ทามุม 60o กับ u แล้ว u  v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

52(แนว มช) กาหนดให้ A (2 ,–1) , B (–2 , 2) เป็ นจุด 2 จุด และ C เป็ นอีกจุดหนึ่ งที่ทาให้
AC เป็ นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย AC ทามุม 60o กับ AB แล้ว AB AC เท่ากับข้อใด
1. 0 2. 2.5 3. 5 4. 10

53. กาหนดให้ u = i + 3 j และ v = – i + 2 j แล้วมุมระหว่าง u กับ v เท่ากับข้อใด


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

54. มุมระหว่างเวกเตอร์ ต่อไปนี้ u = 3 i + 2 j และ v = 9 i + 6 j เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0o 2. 30o 3. 60o 4. 90o

55. มุมระหว่างเวกเตอร์ u  2i  j  k และ v  i  2j  4k เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0o 2. 30o 3. 60o 4. 90o

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
56. เวกเตอร์ในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นเวกเตอร์ ที่ต้ งั ฉากซึ่ งกันและกัน
 2  1  2   2 
2   3  2   1        
1.   ,   2.   ,   3.  2 , 2  4. 1  ,  2 
3 2  6   3         
 1  2  2   2 

1   1
57. ค่า a ที่ทาให้เวกเตอร์ a  ตั้งฉากกับเวกเตอร์   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
  6 
1. 6 2. 16 3. –6 4. – 16

58(แนว มช) กาหนดให้ A  3i  4 j เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ต้ งั ฉากกับ A คือข้อใดต่อไปนี้


4/5  4/5  4/5
1. 3/5  2.   3.   4. ข้อ 1. และข้อ 2.
   3/5   3/5 

59(แนว En) กาหนดให้ u = a i + b j โดย a > 0 ถ้า u ตั้งฉากกับเวกเตอร์ – i + 2 j แล้ว


มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับเวกเตอร์ 3i  j (มุมแหลม) คือข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ควรทราบเพิม่ เติม
1) uv 2 = u 2 + v 2 + 2u v
2) uv 2 = u 2 + v 2 –2u v
3) u  v 2+ u  v 2 = 2 u 2 +2 v 2
4) u  v 2– u  v 2 = 4u v
5) ( u + v ) ( u – v ) = u 2– v 2
60. กาหนดให้ u = 13 , v = 2 และ u  v = 14 ค่าของ u  v คือข้อใดต่อไปนี้
1. –26 2. 26 3. –11.5 4. 11.5

61. กาหนดมุมระหว่าง u กับ v เป็ น 60o และ u  5 , v  8 แล้ว u  v มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 13 3. 113 4. 129

62. กาหนดมุมระหว่าง u กับ v เป็ น 60o และ u  5 , v  8 แล้ว u  v มี


ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 13 3. 113 4. 129

63(แนว มช) กาหนดให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ถ้า u = 2 , v = 3 และ


u  v = 7 มุมระหว่างเวกเตอร์ u และ v คือข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 60o 3. 120o 4. 150o

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
64. กาหนดให้ u = a , v = b แล้วค่าของ u  v 2 + u  v 2 ตรงกับข้อใด
1. a 2  b 2 2. 2a 2  2b 2 3. a 2  b 2 4. 2a 2  2b 2

65(แนว En) ถ้า u  v = 5 2 และ u  v = 26 แล้ว u  v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 6 3. 8 4. 12

66. กาหนดให้ u = 4 , v = 3 และ u ตั้งฉากกับ v แล้ว u  v คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 5 3. 10 4. 12

67. กาหนดให้ u = 15 , v = 8 และ u ตั้งฉากกับ v แล้ว u  v คือข้อใดต่อไปนี้


1. 13 2. 15 3. 17 4. 23

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
บทนิยาม ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของเขียนแทนด้วย u x v อ่านว่าเวกเตอร์ ยูครอสเวกเตอร์ วี
 a1   b1 
   
ถ้า u  a 2  และ v   b 2 
   
a  b 
 3  3
a b a b 
 2 3 3 2
แล้ว u x v = a b a b 
 3 1 1 3
a b  a b 
 1 2 2 1
a2 a3 a a 3 a1 a2
หรื อ u x v = i 1 j k
b2 b3 b1 b 3 b1 b2

ทิศทางของ u x v สามารถหาได้จาก
กฎมือขวา โดยแบมือขวาแล้วกางหัวแม่มือออก ux v

ใช้นิ้วทั้งสี่ ช้ ีไปตามทิศของ u แบหน้ามือไป


u
ตามทิศของ v แล้วนิ้วหัวแม่มือจะชี้ไปตามทิศ
ของ u x v ดังรู ป
v

68. กาหนดให้ u   i  3 k , v  i  3j  4 k แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 9 i + 7 j – 3 k 2. –9 i + 7 j – 3 k
3. 9 i – 7 j – 3 k 4. –9 i – 7 j – 3 k

69. กาหนดให้ u  2i  3j , v  i  5j แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 7 i 2. –7 i 3. –7 j 4. –7 k

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
70. กาหนดให้ u  2i  3k , v  i  5k แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 i 2. –7 i 3. –7 j 4. –7 k

สมบัติทสี่ าคัญของผลคูณเชิงเวกเตอร์
1. กาหนด u , v , w เป็ นเวกเตอร์ ใดๆ ในสามมิติ และ k เป็ นจานวนจริงใด ๆ
1.1 u x v = – ( v x u )
1.2 ( u + v ) x w = ( u + w ) + ( v x w )
1.3 u x ( v + w ) = ( u + v ) + ( u x w )
1.4 u x (k v ) = k( u x v )
1.5 (k u ) x v = k( u x v )
1.6 u x u = 0
1.7 i x j  k , j x k  i , k x i  j
2. ให้ u , v , w เป็ นเวกเตอร์ ใด ๆ ในสามมิติ จะได้ ว่า u .( v x w ) = ( u x v ). w
3. ถ้า u  0 และ v  0 จะได้วา่ u x v  u v sin 
เมื่อ  เป็ นมุมระหว่าง u และ v , 0o    180 o
4. ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ในสามมิติ ซึ่ งไม่ใช่เวกเตอร์ ศูนย์และไม่ขนานกัน
จะได้วา่ u x v ตั้งฉากกับ u และ v
71. ถ้า u = 2 i + j – 3 k และ v = i – 2 j + k แล้วเวกเตอร์ที่มีขนาด 3 หน่วย
และตั้งฉากกับกับทั้ง u และ v คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1.  3 ( i + j + k ) 2.  3 ( i + j – k )
3.  3 (– i – j + k ) 4.  3 ( i – j – k )

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
72. ก าหนดให้ a  2i  j , b  2i  j k ค่ า sine ของมุ ม ระหว่าง a และ b คื อ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. 0.50 2. 0.71 3. 0.84 4. 0.92

การใช้เวกเตอร์ ในการหาพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน


จากรู ป  เป็ นมุมระหว่าง u กับ v
 u  sin  คือส่ วนสู งของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน
v v sin

ดังนั้น พืน้ ทีส่ ี่ เหลี่ยมด้ านขนาน = ฐาน x สู ง u
= u v sin
= uxv
73. กาหนดให้ AB = i  3j  4k และ AD = 3i  2j  k แล้วพื้นที่ ของรู ปสี่ เหลี่ ยม
ด้านขนาน ABCD มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 3 2. 11 3 3. 8 4. 10

74. พื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็ น A (1 , –1 , 3) , B (2 , 3 , –2) และ C (1 , 1 , 5) มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 65 2. 83 3. 97 4. 117

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
การใช้เวกเตอร์ในการหาปริ มาตรของทรงสี่ เหลี่ยมด้านขนาน

กำหนดทรงสีเ่ หลีย่ มด้ ำนขนำนซึง่ มี u , v และ r เป็ นด้ ำน ดังรูป


u
vx r
h
r
v

จะได้ ว่า ปริมาตรของสี่ เหลี่ยมด้ านขนานทรงตัน = | u . (v x r) |


ข้ อสั งเกต 1) u . (v x r)  r . (u x v)  v . (r x u)
2) ถ้า u , v และ r อยูบ่ นระนาบเดียวกัน แล้วจะได้วา่ u .( v x r ) = 0
3) จากเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์ ใดๆ ถ้าทราบว่าเวกเตอร์ เท่ากันสองเวกเตอร์
ผลคูณของ u .( v x v ) = v .( r x r ) = r ( u x u ) = 0

75. ทรงสี่ เหลี่ ยมด้านขนานที่มี u = i + j , v = j + k , r = i + k เป็ นด้านจะมี ปริ มาตรกี่


ลูกบาศก์หน่วย
1. 2.0 2. 4.0 3. 5.5 4. 6.07

31
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
เฉลยบทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 3.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 1.

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
9.1 ระบบพิกดั ฉากสามมิติ
1. สามเหลี่ยมที่มีจุดยอดที่ A (1 , 2 , 1 ) , B (–3 , 7 , 9 ) และ C ( 11 , 4 , 2 ) จะเป็ นรู ปสาม
เหลี่ยมชนิดใดต่อไปนี้
1. สามเหลี่ยมด้านเท่า 2. สามเหลี่ยมมุมฉาก
3. สามเหลี่ยมน่าจัว่ 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูกต้อง

9.2 เวกเตอร์
2. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ถ้า u ขนานกับ v แล้ว u = v
2. ถ้า u = v แล้ว u มีทิศเดียวกับ v และ u ยาวเท่ากับ v
3. u มีทิศเดียวกับ – u
4. u  – u เสมอ

3. ABCDEF เป็ นหกเหลี่ยมด้านเท่า และ FA = u A B


FE = v ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
u
1. AB = u + v
2. FB = 2 u + v F C
O
3. FC = 2 u + 2 v v
4. AE = – u + v D
E

4. จากรู ปเป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส 3 รู ปวางต่อกัน A B E F


AB – BC + CD เท่ากับเวกเตอร์ขอ้ ใด
ต่อไปนี้ C D G H
1. BF 2. AH 3. CF 4. AG

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
5. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่า ที่มีเส้นทแยงมุม A B
ตัดกันที่จุด O ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. AB + OE = AO O
F C
2. AF + BC = AE
3. AO + CD = AE
4. ED + AF = OB E D

6. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่า ที่มีเส้นทแยงมุม A B


ตัดกันที่จุด O ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง
1. AD – AF = FD O
F C
2. FE – BA = FD
3. AO – OF = FD
4. FD – DB = FD E D

7. จากรู ป PQRS เป็ นสี่ เหลี่ยมรู ปว่าว มีเส้นทะแยงมุม Q


ติดกันที่ O ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. PQ + QR = PR P O R
3. PQ + QS = PS
2. RO – SO = RS
4. PR – PS = RS
S
8. กาหนด ABCD เป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส MDC และ NAB M
เป็ นรู ปสามเหลี่ยมด้านเท่า ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. DM + MC = DC D C
2. NA – NB = BA
3. ( MD – MC ) + ( AN + NB ) = CB A B
4. ( AN – BN ) + AD + ( CM – DM ) = BC
N

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9. จากรู ป ABCDEFGH เป็ นทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก G F
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. ( AD + CF ) – GF = GB C H E
B
2. ( AB + BC ) + CD = GF
3. ( BC + CF ) + FG = DE
A D
4. ( GF + FE ) – GH = – EH

10 จากรู ป ABCDEF เป็ นทรงสามเหลี่ยม C


ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง w
A
1. AD + DC = w v F
2. BD – BA = u B u
3. AB – CB = w
D
4. AE – BE = v
E
11. ถ้า  AC  :  CB  = 5 : 2 แล้ว แล้ว OC เท่า O
กับข้อใดต่อไปนี้
v
1. 2 u  5 v 2. 2 u  v u
3 3
3. 2 u  5 v 4. 2 u  v 5 2
7 7 A C B

12. ถ้า  BD  :  DC  = m : n แล้ว แล้ว AD


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ v
u
1. ( n u + m v )
2. 1n ( n u + m v ) m n
3. m1 ( n u + m v ) B D C
4. n 1 m ( n u + m v )

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
13. จากรู ป ให้  AO  :  OD  = 3 : 1 และ  BD  =  DC  = 3 : 2 ถ้า AB = u , AC = v
แล้ว AO คือข้อใดต่อไปนี้ v C
A
3
1. 41 (6 u – 9 v ) 1 2
O D
2. 101 (6 u – 9 v )
u
1
3. 5 (6 u – 9 v ) 3
4. 201 (6 u – 9 v )
B

14. เวกเตอร์ ที่มีจุดเริ่ มต้นที่จุดกาเนิด และมีจุดสิ้ นสุ ดไปยังจุดที่แบ่งส่ วนของเส้น AB ออกเป็ น


อัตราส่ วน 2 : 1 คือเวกเตอร์ในข้อใด เมื่อ A , B มีพิกดั เป็ น (1 , 3) และ (4 , –3)
1. –3 i + j 2. 3 i – j 3. –3 i + j 4. 3 i + j

15. จากรู ปกาหนดให้ ถ้า a = AB , b = AC C


 AE  :  EB  = 4 : 1 และ  BD  :  DC  = 3 : 1
D
แล้ว DE เท่ากับเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1. 43 ( a – b )
2. 43 a – 11 20 b ) A E B
3. 11 3
20 a – 4 b
4. 11
20 ( a – b )

16. ให้ AB = u และ AC = v ถ้า  AE  :  EB  = 2 : 3 และ  AF  :  FC  = 5 : 4


แล้ว EF เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ A
5 2
1. 9 v + 5 u 2
E 5
2. 95 v – 25 u F
3 4
3. 95 v + 29 u
4. 95 v – 29 u B C

36
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
17. จากรู ปที่กาหนด ถ้า  AN  :  NC  = 2 : 3 A
และด้าน MN ขนานกับด้าน BC แล้ว AM
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ M N
1. 25 ( AC + BC )
2. 35 ( AC + BC ) B C
3. 25 ( AC + BC )
4. 35 ( AC – BC )

18. จากรู ปที่กาหนดให้ ข้อใดต่อไปนี้


ถูกต้อง
1. DE = 23 ( u – v ) u
2u
3 2v v
D 3 E
2. DE = 23 ( u + v )
1u 1v
3. BC = 23 DE 3 3
B C
4. BC = 23 DE

19. จากรู ปให้ ED = u , BC = v , AB = 3 u D


E u
AE = 2 v และ DC = w ถ้า F เป็ นจุดกึ่งกลาง F w
ของ CD แล้ว AF เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 2v C
1. 2 u + 23 v 2. u + 23 v v
A B
3. 2 u – 23 v 4. u – 23 v 3u

20. จากรู ปกาหนดให้ AC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 a
2. 2 b
3. a + b
4. a – b

37
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
21. จากรู ปกาหนดให้ CD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 a
2. 2 b
3. a + b
4. a – b

9.3 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก


9.3.1 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ

22. กาหนดจุด P (–5 , 1) และ Q = (3 , –2) แล้ว PQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   2   8 8
1.   2.   3.   4.  
1    1   3   3

23. กาหนดจุด A (1 , 5) , B (–2 , 4) , C (0 , 3) แล้ว AB + AC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


  3  1  2   4 
1.   2.   3.   4.  
  1  2   1    3 

9.3.2 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ

24. ให้ A มีพิกดั เป็ น (3 , 4 , –4 ) และ B มีพิกดั เป็ น (5 , 0 , 7 ) แล้ว BA คือข้อใดต่อไปนี้


 2   2  2   2
   4   4   4
1.  4  2.   3.   4.  
 11   11  11   11

 9 1 
25. กาหนดให้ v =  2  , w = 2  แล้ว u ที่ทาให้ 2 u + v –3 w = 0 ตรงกับข้อใด
   

 3  3 3   3 
1.  4  2.  4  3. 4  4.  4 
       

38
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
26. กาหนดให้จุด P มีพิกดั (–2 , 3 , 1) และจุด Q มีทิศ (a , b , c) เมื่อ a , b , c เป็ นค่าคงที่ใดๆ
1 
ถ้าเวกเตอร์ QP =   2 แล้วค่าของ a + b + c มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
  3
1. 6 2. 2 3. –2 4. –6

27. กาหนดให้จุด A มีพิกดั (–2 , 4) จุด B มีพิกดั (a , b) เมื่อ a , b เป็ นค่าคงที่ใดๆ ถ้า
 4
AB =  3  แล้วค่าของ a + b ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
 
1. 9 2. 5 3. –5 4. –9

 2
28. กาหนดให้ AB =  3  ถ้าพิกดั ของ A = (–4 , 9) แล้วพิกดั ของจุด B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1. (2 , –6) 2. (–2 , 6) 3. (6 , 12) 4. (–6 , –12)

 4 
29. กาหนดให้ AB =  1  ถ้าพิกดั ของ B = (–3 , –7) แล้วพิกดั ของจุด A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1. (1 , –8) 2. (–1 , 8) 3. (7 , 6) 4. (–7 , –6)

 3
30. กาหนดให้ CD =   และ C (2 , 3) แล้วพิกดั ของจุด D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 
1. (1 , 4) 2. (–1 , 4) 3. (1 , –4) 4. (–1 , –4)

9.3.3 เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย


3  1 
31. OA = 2  , OB = 5  , O เป็ นจุดก าเนิ ดในระบบแกนมุ มฉาก แล้ว AB เท่ากับ
   
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 3 j 2. 2 i – 3 j 3. 2 i + 3 j 4. –2 i – 3 j

39
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1  3 
32. OA =   , OB =   , O เป็ นจุ ดก าเนิ ดในระบบแกนมุ ม ฉาก แล้ว BA เท่ ากับ
4  2 
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 2 j 2. 2 i – 2 j 3. 2 i + 2 j 4. –2 i – 2 j

33. ก าหนดให้ u = 3 i + 2 j และ A มี พิก ัดเป็ น (–1 , 2) พิ ก ดั ของจุด B ที่ ท าให้ u = AB


คือข้อใดต่อไปนี้
1. (2 , 4) 2. (–2 , 4) 3. (2 , –4) 4. (–2 , –4)

34. กาหนดให้ u = –2 i + j , v = 3 i – 2 j , w = 5 i – 4 j และ w = h u + k v


แล้ว h k มีค่าเท่ากับเท่าใด

35. เวกเตอร์ คู่ในข้อใดต่อไปนี้ ขนานกัน


 1  2   1 5
1. 2  และ   2. 2  และ  
  4    10 
 0  1  7  6
3. 2  และ 1  4.  14  และ  2 
       

9.3.5 ขนาดของเวกเตอร์
 3
36. เวกเตอร์ที่มีขนาด 4 หน่วย และทิศเดียวกับ  4  คือข้อใดต่อไปนี้
 
 3   3  12   12 
1. 15   2. 15   3. 15   4. 15  
 4 
  4
   16 
   16 
 

 2 
37. กาหนดให้ u =  3  เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกับ u คือข้อใดต่อไปนี้
 
 2  2  2  2
1. 3   2. 3   3. 1   4. 1  
 3   3 3  3  3  3

40
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
 1  3
38. กาหนดให้ u =  2  , v =  2  แล้วเวกเตอร์ 2 หน่วย และมีทิศทางเดียวกับ
   
u – 2 v คือข้อใดต่อไปนี้
5  5 5  5
1. 2   2. 2   3. 1   4. 1  
29  2 29  2  2  2  2  2 

39. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j และ v = 8 i + 6 j เวกเตอร์ ที่มีทิศทางเดียวกันกับ u และ


มีขนาดเท่ากับ v คือข้อใดต่อไปนี้
1. 6 i – 8 j 2. 6 i + 8 j 3. 4 i + 3 j 4. 4 i – 3 j

 2 1
40. เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเวกเตอร์   และทิศตรงข้ามกับเวกเตอร์ 1 คือข้อใดต่อไปนี้

 6  
2   2  2   2 
1.   2.   3. 1   4. 1  
2   2  2 2 2  2

41. กาหนดให้ u = 2 i + 2 j , v = –4 i + 4 j และ w เป็ นเวกเตอร์ที่มีทิศทาง


เดียวกับ u แต่มีขนาดเท่ากับ v แล้วค่าของ  u + v + w  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 10 3. 104 4. 109

42. เวกเตอร์ ที่มีขนาด 3 หน่วย และมีทิศตรงข้ามกับเวกเตอร์ v = 12 i – 12 j – 12 k คือข้อใด


1. 3 ( i – j – k ) 2. 3 ( i – j – k )
3. 3 ( – i + j + k ) 4. 3 ( – i + j + k )

43. เวกเตอร์ ที่มีทิศทางเดียวกับ v = 7 i – 6 k แต่มีขนาดเป็ น 2 เท่าของ v คือข้อใด


1. 7 i – 6 k 2. –7 i + 6 k 3. 14 i – 12 k 4. –14 i + 12 k

41
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.6 โคไซน์ แสดงทิศทาง

44. โคไซน์แสดงทิ ศทางของเวกเตอร์ ที่มี จุดเริ่ มต้นที่ P (0 , 2 , 2) และสิ้ นสุ ดที่ Q (–1 , 1 , –1)
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 , 1 , 3 2. 1 , 1 , 3
11 11 11 11 11 11
3. 2 , 1 , 3 4. 2 , 1 , 3
11 11 11 11 11 11

45. โคไซน์แสดงทิ ศ ทางของเวกเตอร์ ที่ มี จุดเริ่ ม ต้น ที่ P (0 , 3 , 5) และสิ้ น สุ ดที่ Q (–1 , 5 , 2)
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 (– i + 2 j – 3 k ) 2. 1 ( i – 2 j + 3 k )
10 10
3. 1 (– i + 2 j – 3 k ) 4. 1 ( i – 2 j + 3 k )
14 14

9.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
 3  4   6
46. กาหนดให้ u =  2  , v =  7  , w =  10  แล้ว ( u + v ) . w เท่ากับข้อใด
     
1. –52 2. –40 3. 8 4. 36

 3  4   6
47. กาหนดให้ u =  2  , v =  7  , w =  10  แล้ว u . ( v – w ) เท่ากับข้อใด
     
1. –52 2. –40 3. 8 4. 36

 3  4   6
48. กาหนดให้ u =  2  , v =  7  , w =  10  แล้ว ( u . v ) + ( u . w ) เท่ากับ
     
ข้อใดต่อไปนี้
1. –52 2. –40 3. 8 4. 36

49. ให้ u = –3 i + j + 2 k และ v = 4 i + 2 j – 5 k แล้วค่าของ 2 u . v + v . u


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –60 2. –30 3. 30 4. 60
42
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
50. ก าหนดให้ u = 2 i – 5 j และ v = i + 2 j ถ้า u + w = –11 และ
v  w = 8 แล้ว  w – v  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 5 3. 11 4. 2

51. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j , v = 6 i + 8 j และมุมระหว่าง u กับ v มีขนาด


60o แล้วค่าของ u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 5 3. 25 4. 50

52. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j , v = 6 i + 8 j และมุมระหว่าง u กับ v มีขนาด


90o แล้วค่าของ u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 5 3. 25 4. 50

53. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j ถ้าเวกเตอร์ v เป็ นเวกเตอร์ 5 หน่วย และมีทิศตรงข้ามกับ u


แล้วค่าของ u . v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –25 2. 25 3. –24 4. 24

54. กาหนดให้ a = i – j , b = 4 i ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a และ b แล้วค่าของ 


คือข้อใดต่อไปนี้
1. 0o 2. 30o 3. 45o 4. 60o

55. กาหนดให้ a = 3 i + 4 j และ a  ( a – b ) = 23 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a และ b


แล้ว  b  cos  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 135 2. 95 3. 75 4. 25

56. กาหนดให้ A (3 , 4) , B (1 , 2) , C (6 , 1) เป็ นจุดยอด ABC แล้วมุม A มีขนาดกี่องศา

57. กาหนดให้ u . v = 5 ,  u  = 2 และมุ มระหว่าง u กับ v เป็ น 60o แล้ว


 u  +  v  มีค่าเท่าใด
43
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
58. กาหนดให้ u = (1 + m) i + 3 j และ v = (1 – m) i + 5 j แล้วค่า m ที่ทาให้
u ตั้งฉากกับ v อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้
1. [–5 , 5] 2. [0 , 6] 3. [–5 , 0] 4. [–3 , 3]

59. กาหนด u . w = 1 และ w ตั้งฉากกับ v ถ้า u = 4 i – 5 j และ v = – i + j


แล้ว w คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1. i + j 2. i – j 3. – i – j 4. – i + j

60. กาหนดให้ u = a i – b j , v = i + 2 j โดย u ตั้งฉากกับ v ถ้า w = 2 i + j


และ u . w = 6 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง u กับ w แล้ว cos  คือข้อใดต่อไปนี้
1. 65 2. 7
8 3. 45 4. 35

61(แนว มช) กาหนดให้ A  3i  4 j เวกเตอร์ ซ่ ึงยาว 10 หน่วย ที่ต้ งั ฉากกับ A คือข้อใด


 8   4  4 
1.   2.   3.   4. ข้อ 2. และข้อ 3.
 6  3  3 

62. ถ้า  u  = 10 ,  v  = 6 ,  u + v  = 14 แล้ว u . v มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 30 2. 60 3. 80 4. 90

63. ถ้า  u  = 7 ,  v  = 5 และ  u – v  = 4 แล้ว u . v มีค่าเท่าใด

64. กาหนดให้  u  = 6 ,  v  = 8 และ  u – v  = 2 37 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง


u และ v แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1.  = 90o 2.  = 120o 3.  = 135o 4.  = 150o

65. กาหนดให้  u  = 4 ,  v  = 3 และ  u + v  = 25  12 3 ถ้า  เป็ นมุม


ระหว่าง u กับ v แล้ว  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 120o

44
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
66. ถ้า u + v + w = 0 และ  u  = 5 ,  v  = 12 และ  w  = 13 แล้วมุ ม
ระหว่าง u กับ v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 120o

67. กาหนดให้ u – v – w = 0 และ  u  = 10 ,  v  = 6 ,  w  = 14


มุมระหว่างเวกเตอร์ u และ v คือข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 4 3. 3 4. 23

68. ถ้า  u + v  = 4 แล้ว  u – v  = 1 แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 19 2. 15 3. 194 4. 154

69. ถ้า  u  = 3 ,  v  = 5 และ  u + v  = 4 แล้ว  u – v  เท่ากับข้อใด


1. 1 2. 3 3. 2 3 4. 10

70. ถ้า a และ b เป็ นเวกเตอร์ ที่มี  a  = 10 ,  b  = 7 และ  a + b  = 13 แล้ว


 a – b 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 119 2. 129 3. 139 4. 149

71. กาหนดให้ u = a i + b j โดยที่ a , b > 0 และ u  (5 i – 2 j ) = 14 ถ้า u ทา


มุม  กับ i และ cos  = 35 แล้ว a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 14 3. 21 4. 28

9.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
72. กาหนดให้ u = 2 i + 3 k และ v = i + 5 k แล้ว u x v มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 i 2. –7 i 3. –7 j 4. –7 k

45
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
  1 1 
   
73. กาหนดให้ u = 0 , v = 3 แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
   
3 4 
   
1. –9 i + 7 j – 3 k 2. 9 i – 7 j + 3 k
3. i – k 4. i + 5 j

74. ถ้า u = 2 i – j –3 k , v = i – 2 j + 4 k แล้ว ( u + v ) x ( u – v ) เท่ากับข้อใด


1. –20 i + 22 j – 6 k 2. 20 i + 22 j + 6 k
3. 20 i + 6 k 4. 22 i + 20 j

75. ให้ u = 2 i + j –3 k , v = –2 i + j – 2 k , w = 2 i – k แล้ว w . ( u x v ) มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 0 4. 2

76. กาหนดให้ u = 4 i –3 j + k และ v = 2 i + j –3 k เป็ นด้านประกอบของสี่ เหลี่ยม


ด้านขนาน แล้วพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 10 2. 6 10 3. 15 4. 30

77. กาหนดให้ u = 4 i – j +3 k และ v = –2 i + j –2 k เป็ นเส้นทะแยงมุมของสี่ เหลี่ยม


ด้านขนาน แล้วพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 2. 25 3. 3 4. 5

78. พื้ นที่ สามเหลี่ ยมที่ มีจุดยอดเป็ น P (–1 , 1 , 1) , Q (1 , 2 , 3) , R (1 , –1 , –1) จะมี พื้ นที่
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 2. 26 3. 2 13 4. 13

79. กาหนดให้ a = 2 i – 6 j + 2 k , b = 4 j – 2 k , c = 2 i + 2 j – 4 k ปริ มาตร


ของรู ปทรงสี่ เหลี่ยมด้านขนานที่มี a , b , c เป็ นด้านของรู ป มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 16 3. 36 4. 64
46
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
80. ปริ มาตรของกล่องสี่ เหลี่ยมด้านขนานที่มี AB , AC , AD เป็ นด้านขอบ และมีพิกดั คือ
A (1 , –1 , 1) , B (3 , –1 , 2) , C (2 , –2 , 2) , D (4 , –2 , 1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 16 2. 8 3. 4 4. 2


เฉลยตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ

1. ตอบข้ อ 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4.
8. ตอบ 1. DC 2. BA 3. 0 4. BC 9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2.
11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4. 13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2.
15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2. 17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 4.
19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2. 21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4.
23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2. 25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1.
27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 2.
31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 1. 33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบ 6
35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4. 37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2.
39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 4. 41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 4.
43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 1. 45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3.
47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบ ข้ อ 4.
51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 1. 53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 3.
55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบ 90 57. ตอบ 7 58. ตอบข้ อ 1.
59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1.
63. ตอบ 29 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบ 30o 66. ตอบข้ อ 3.
67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 4. 69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 2.
71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 2.
75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 2. 77. ตอบข้ อ 1. 78. ตอบข้ อ 2.
79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.


47

You might also like