You are on page 1of 75

ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์

บทที่ 4 ระบบสมการเชิ ง เส้น และเมทริ ก ซ์


4.1 ระบบสมการเชิงเส้ น
บทนิยาม ให้ a1 , a2 , ….. , an , b เป็ นจำนวนจริ งใดๆ ที่ a1 , a2 , ….. , an ไม่
เป็ นศูนย์พร้อมกัน เรี ยกสมกำร a1x1 + a2 x2 + …. + an xn = b ว่ำสมกำรเชิงเส้น n ตัวแปร
โดยที่ x1 , x2 , …. , xn เป็ นตัวแปร
บทนิยาม ระบบสมกำรเชิงเส้นที่มี x1 , x2 , …. , xn เป็ นตัวแปร หมำยถึงชุดของ
สมกำรเชิงเส้นที่ประกอบด้วยสมกำรเชิงเส้นที่มี x1 , x2 , …. , xn เป็ นตัวแปรจำนวน m
สมกำร โดยที่ m > 2
คำตอบของระบบสมกำรนี้ คือจำนวน n จำนวน ที่นำไปแทนตัวแปร x1 , x2 , …. , xn
ในทุกๆ สมกำรตำมลำดับ แล้วได้สมกำรที่เป็ นจริ งทั้งหมด
1. จำกระบบสมกำร x + 3y = 8
x – 2y = 3
ค่ำของ x y มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –3 2. – 1 3. 3 4. 5

1
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
2. จำกระบบสมกำร 2 x + 3y = 22
x – y = –4
ค่ำของ  x  + 2 y มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –14 2. – 12 3. 12 4. 14

3(แนว Pat1) จำกระบบสมกำร x+y+z = 6


x–y+z = 2
x+y–z = 0
y z
ค่ำของ x มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 6 3. 8 4. 12

2
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
4. จำกระบบสมกำร x + 2y – z = 3
3x + y = 6
2x + y = 1
ค่ำของ z มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. – 20 2. – 16 3. –12 4. –8

5. จำกระบบสมกำร x – y + 2 z = –3
y – 3z = 5
x + 4 y – 8 z = 17
ค่ำของ  xzy  มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 4 4. 8

3
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
6. จำกระบบสมกำร 2x –3y + z = 8
– x + 4 y + 2 z = –4
3x – y + 2z = 9
ค่ำของ  x y z  มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 4 4. 8

7. จำกระบบสมกำร 2x +2y +3z+2t = 11


x + y +3z +4t = 1
x + y +2z +2t = 6
2y +5z+2t = 5
ค่ำของ  z t  มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 4 4. หำค่ำไม่ได้

4
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
4.2 เมทริกซ์ ( Matrix )
เมทริกซ์ คือกลุ่มของจำนวนซึ่ งเรี ยงกันเป็ นแถว แถวละเท่ำๆ กัน ภำยในเครื่ องหมำย [ ]
1  5 4 3
เช่น A = 2 3 4 7
9 2 3 2 
ข้ อตกลงเบือ้ งต้ นเกี่ยวกับเมทริกซ์
1. เรำนิยมใช้อกั ษร A , B , C , … เป็ นชื่อของเมทริ กซ์
2. สิ่ งที่อยูใ่ นเมทริ กซ์ เรี ยกว่ำสมาชิกของเมทริกซ์
3. สมำชิกที่เรี ยงกันอยูใ่ นแนวนอนแต่ละแนว เรี ยกว่ำแถว (Row)
สมำชิกที่เรี ยงกันอยูใ่ นแนวตั้งแต่ละแนว เรี ยกว่ำหลัก (Column )
เช่น หลัก หลัก หลัก หลัก
ที่ 1 ที่2 ที่3 ที่4
 1  5 4 3 แถวที่ 1
A =  2 3 4 7 แถวที่ 2
 9 2 3 2  แถวที่ 3

4. เรำจะใช้ ai j แทนสมำชิกของเมทริ กซ์ A ซึ่ งอยูใ่ นแถวที่ i และหลักที่ j


เช่นจำกตัวอย่ำงเมทริ กซ์ A ข้ำงต้น จะได้วำ่
a12 = –5 , a24 = 7 , a31 = 9
5. รู ปกำรคูณของ แถว x หลัก เรี ยกว่ำมิติของเมทริกซ์
เช่นเมทริ กซ์ A ข้ำงต้น มี 3 แถว และ 4 หลัก
ดังนั้น มิติของ A = 3 x 4
6. เมทริ กซ์ ศูนย์ ( 0 ) คือ เมทริ กซ์ที่มีส มำชิ กทุกตัวเป็ นศูนย์หมด ไม่ว่ำจะมี กี่แถว
หรื อกี่หลักก็ตำม
7. เมทริกซ์ สลับเปลี่ยนของ A ( At อ่านว่าเอทรานส์ โพส ) คือเมทริ กซ์ที่เกิดจำกกำร
สลับสมำชิกของ A จำกหลักที่ i ไปเป็ นแถวที่ i
นัน่ คือ ถ้ำ A = [ aij ] m x n แล้ว At = [ aji ] n x m

5
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 1 2 9
1 5 4 3  
 5 3 2
เช่น ถ้ำ A = 2
 3 4 7  จะได้วำ่ At =  
9 2 3 2  4 4 3

3 7 2 
3 4 1 2
 
ฝึ กทา. กำหนดให้ A = 5 6 7 4
 
3 2 1 5
1) จงเขียนสมำชิกในแถวที่สอง 2) จงเขียนสมำชิกในหลักที่สำม
3) จงหำค่ำของ a12 , a23 และ a34 4) จงบอกมิติของเมทริ กซ์ A
5) จงเขียนทรำนส์โพสของ A

การเท่ากันของเมทริกซ์
บทนิยาม ให้ A = [ ai j ]m x n และ B = [ bi j ]m x n
A เท่ำกับ B ก็ต่อเมื่อ ai j = bi j สำหรับทุกๆ i  { 1 , 2 , … , m } และ
j  { 1 , 2 , … , m } และเขียน A = B แทน A เท่ำกับ B
นัน่ คือเมทริ กซ์ A และ B จะเท่ำกันก็ต่อเมื่อ A และ B มีมิติเดียวกัน และมีสมำชิก
ในตำแหน่งที่ตรงกันมีค่ำเท่ำกันโดยตลอด
2 1 7  2  1 7
เช่น 5 3 0  =  
  5 9 0

6
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
3 2   3 2
   
8. กำหนดให้ x y  = 2x  1 2y ค่ำของ x + y มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
  
4 0   4 0 
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

2 x 7  2 2y 7 
9. กำหนดให้ 5 = ค่ำของ x y มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 y 0  5 x  1 0 
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

7
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
a b 3  2
10. กำหนดให้   =   และ c = a – 2b + d แล้ว x มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
c d  2x 4 

การบวกเมทริกซ์
บทนิยาม ให้ A = [ai j]m x n และ B = [bi j]m x n
เมทริ กซ์ A บวกกับเมทริ กซ์ B คือเมทริ กซ์ [ci j]m x n เมื่อ ci j = ai j + bi j สำหรับ
ทุกๆ i  { 1 , 2 , … , m } และ j  { 1 , 2 , … , m } และเขียน A + B แทน A บวกกับ B
นัน่ คือ 1) เมทริ กซ์ A และ B จะบวกกันก็ต่อเมื่อ A และ B มีมิติเดียวกัน
2) ผลบวกเมทริ ก ซ์ A กับ เมทริ ก ซ์ B จะหำได้จ ำกกำรน ำสมำชิ ก ที่ อ ยู่ต รง
ตำแหน่งเดียวกันมำบวกกัน
ฝึ กทา. จงพิจำรณำว่ำเมทริ กซ์ที่กำหนดให้บวกกันได้หรื อไม่ ถ้ำบวกกันได้จงหำผลบวก
1 3 2 5 0 7 5  3 1 2
1. 5 2 , 3 4 2. 3 1 2 , 0 7 5 
   
1 2 3 5 0
3. 3 4 , 4 8 0 4.
 

5. 6.

8
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
การคูณเมทริกซ์ ด้วยจานวนจริง
บทนิยาม ถ้ำ A = [a i j]m x n และ c เป็ นจำนวนค่ำคงตัว
ผลคูณ ของ c กับเมทริ กซ์ A คือเมทริ กซ์ [b i j]m x n เมื่อ b i j = c ai j สำหรับทุกๆ
i  { 1 , 2 , … , m } และ j  { 1 , 2 , … , m } และเขียน cA แทนผลคูณ c กับเมทริ กซ์ A
นัน่ คือกำรคูณ c กับเมทริ กซ์ A ให้นำ c กระจำยคูณกับสมำชิกของ A ทุกตัว
 1 3 0 4
ฝึ กทา. กำหนดให้ A =   และ B =   จงหำเมทริ กซ์ต่อไปนี้
 4 5  2 1 
1. 4A 2. –3B 3. –A 4. 2B – 3A

 4 8 20 
11. กำหนดให้ A =   และ B = kA โดยที่ kR และ b23 = 8
12 4 32 
แล้ว b11 + b23 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

9
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 1 3 4 2 4
   
12. กำหนดให้ A = 2 4 6 , B= 0 1 2 และ C = 2A + 12 B แล้ว
   
4 2 5 6 4  1
 
C13 + C31 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

คุณสมบัติเกีย่ วกับการบวกเมทริกซ์
1. คุณสมบัติปิดของการบวก
ถ้ำ A และ B เป็ นเมทริ กซ์ m x n ใด ๆ แล้ว A + B เป็ นเมทริ กซ์ m x n เสมอ
2. คุณสมบัติการสลับทีส่ าหรับการบวก
ถ้ำ A และ B เป็ นเมทริ กซ์ m x n ใด ๆ แล้ว A + B = B + A เสมอ
3. คุณสมบัติการเปลีย่ นกลุ่มได้ ของการบวก
A + (B + C) = (A + B) + C
4. คุณสมบัติการมีเอกลักษณ์ การบวก
A+0 = 0+A = A
เรี ยก 0 ว่าเป็ นเอกลักษณ์การบวก
5. คุณสมบัติการมีอนิ เวอร์ สการบวก
A + (–A) = (–A) + A = 0
เรี ยก –A ว่าเป็ นอินเวอร์ การบวกของ A
คุณสมบัติเกีย่ วกับการคูณเมทริกซ์ ด้วยตัวเลข
1. c (A + B) = c A + c B เมื่อ c เป็ นค่ำคงตัว
2. (c + d) A = c A + d A เมื่อ c , d เป็ นค่ำคงตัว
3. ( c d ) A = c ( d A ) เมื่อ c , d เป็ นค่ำคงตัว
4. 1A = A และ 0 A = 0
10
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 0 2 1 1 3
13. กำหนดให้ A =   , B=  
 14 1 2 2 0 
ถ้ำ 3X + 2(A – B) = 2 ( X + 2A) แล้วเมตริ กซ์ X คือข้อใดต่อไปนี้
0 2 10  0 2 10 
1.   2.  
2 12 2  2 12 2 
5 1 15  0 2 10 
3.   4.  
 4 26 6 2 12 2 

การคูณเมทริกซ์ ด้วยเมทริ กซ์


บทนิยาม ถ้ำ A = [ai j]m x n และ B = [bi j] n x m
ผลคูณ A x B หรื อ AB คือเมทริ กซ์ C = [ci j]m x n
โดยที่ ci j = ai1 b1j + ai2 b2j + .... + ain bnj

ฝึ กทา. จงหำผลคูณต่อไปนี้
2 2  5
1. 4 3 1 5
0 
2. 
5  1 2  4
 
 3. 0  3  
 2 
  6

11
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ฝึ กทา. จงหำผลคูณต่อไปนี้
2 1 8  8  1  5 4 3 1 
      2
1.  1 0 4   3  2. 3. 2 3 4 2  3

5 7  2  3 2 3 2  4
3    

ฝึ กทา. จงหำผลคูณต่อไปนี้
1 0
1 2 0 3  
  5 4
1. 2 1 4 0   2. 3.
  4 3
3 2 1 0  
 3 4 

12
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 2  1
14. กาหนดเมทริ กซ์ A , B ดังนี้ A =   , B=  
3 2   3 4 
แล้วเมทริ กซ์ AB และ BA เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 4 7  1 2  4 7  4 7
1. AB =   , BA =   2. AB =   , BA =  
 0 5  9 2   0 5  0 5
 1 2   1 2   1 2   4 7
3. AB =   , BA =   4. AB =   , BA =  
 9 2   9 2   9 2   0 5

ผลคูณของเมทริ กซ์ A B จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่ อ จานวนหลักของ A ต้องเท่ากับจานวน


แถวของ B (เพื่อให้ลากไปซ้อนทับกันได้สนิ ทพอดี) และผลคูณที่ได้จะมีจานวนแถวเท่ากับ A
และมีจานวนหลักเท่ากับ B เสมอ
หลัก A ต้องเท่ากับแถว B
Am x n x Bn x p

ผลลัพธ์จะมีมิติเป็ น m x p
คือมีแถวเท่ากับ A มีหลักเท่ากับ B

13
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ฝึ กทา. ต่อไปนี้ขอ้ ใดสำมำรถหำผลคูณได้ ข้อที่หำผลคูณได้ให้บอกมิติของผลคูณนั้นด้วย

1 0
7  5
8 
2 1 2 4 5 4
1. 3 0 5 4 2.    3. 2 2 1 0
7 3  1 0   4 3
 3
 
3 4
5 2 1  0 0 3 1 5   x 
4. 4 3 6 1 2 5. 0 4  1 6. 4 2  y 
  

15. กาหนดเมทริ กซ์ A , B , C ดังนี้


 1 2 
1 3  1 3 2  
A=   , B=   , C= 0 1
2  1  1 3 0   
 3  2 
แล้วเมทริ กซ์ ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 12  2  3
 2 12 2  4 12     
1.   2.   3. 15  11 4. 12 3
 3 3 4  15  11    
 2 4   2 4 

14
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
16. กาหนดเมทริ กซ์ A , B , C ดังนี้
 1 2 
1 3  1
3 2  
A=   , B =   , C=  0 1
2  1  1
3 0   
 3  2 
แล้วเมทริ กซ์ A2 – 2 BC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
7 0  7  3  7 6  14  6
1.   2.   3.   4.  
0 7  1 5   2  3  2 10 

1 1 2
17. กาหนดให้ A =   เมทริ กซ์ X ที่ทาให้ A + X = 2A – X คือข้อใด
 1 1 3
1 1 2 2 2 4 1 1 2  1 1 2
1.   2.   3. 12   4. 13  
- 1 1 3 - 2 2 6  - 1 1 3 - 1 1 3

15
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1  1
18. กาหนดให้ A =   เมทริ กซ์ที่บวกกับ A แล้วได้เมทริ กซ์ 2At คือข้อใด
3 2 
1 7 1 1
  2 6  7 6
1.   2.   3.   4.  
 5 2 3 2   2 4   2  3

1  1
19. กาหนดให้ A =   เมทริ กซ์ที่บวกกับ A แล้วได้เมทริ กซ์ A2 คือข้อใดต่อไปนี้
3 2 
1 7 1  1 3 2  3  2
1.   2.   3.   4.  
 5 2 3 2   6 1   6  1 

16
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1  1 x y
20. ให้ A =   เมทริ กซ์ที่บวกกับ A แล้วได้เมทริ กซ์   เมื่อ x , y , z , t
3 2   z t 
เป็ นจานวนจริ ง คือข้อใดต่อไปนี้
x  3 y  2 x  1 y  1
1.   2.  
 z  1 t  1  z  3t  2 
 2x 3y  2x  1 y  1 
3.   4.  
z  3 t   z  1 3t  2 

0 a 1
 
21. กาหนดให้ a , b เป็ นจานวนจริ งซึ่ งไม่เท่ากับ 0 และ A = 0 0 b
 
0 0 0 
จานวนเต็มบวก n ที่นอ้ ยที่สุดที่ทาให้ An = 0 มีค่าเท่ากับเท่าใด

17
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
สมบัติทเี่ กีย่ วกับการคูณเมทริ กซ์ และเมทริกซ์ สลับเปลีย่ น ( transpose )
ถ้ำ A = [ai j] m x n , B = [bi j] n x p , C = [ci j] p x q
1. A(BC) = (AB)C
2. 0r x m Am x n = 0r x n และ Am x n 0n x p = 0 m x p
3. (cA)B = A(cB) = c(AB) เมื่อ c เป็ นค่ำคงตัว
4. A (B + D) = AB + AD เมื่อ D เป็ น n x p เมทริ กซ์
5. (A + E ) B = AB + EB เมื่อ E เป็ น m x n เมทริ กซ์
6. (A + F)t = At + Ft เมื่อ F เป็ น m x n เมทริ กซ์
7. ( A B )t = Bt At
8. ( At )t = A
9. (c A )t = c At เมื่อ c เป็ นค่ำคงตัว

4.3 เมทริกซ์ 2 x 2
1 2 
เมทริ กซ์ 2 x 2 คือเมทริ กซ์ที่มี 2 แถว และ 2 หลัก เช่น 3  1 เป็ นต้น
4.3.1 เอกลักษณ์ การคูณของเมทริกซ์ 2 x 2
เมทริ กซ์เอกลักษณ์กำรคูณ 2 x 2 คือเมทริ กซ์ เขียนแทนด้วยเมทริ กซ์ I
ซึ่งมีสมบัติ คือ I A = A และ A I = A เมื่อ A คือเมทริ กซ์ 2 x 2 ใดๆ
4.3.2 อินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ 2 x 2
บทนิยาม ให้ A เป็ น n x n เมทริ กซ์ ถ้า B เป็ น n x n เมทริ กซ์ที่มีสมบัติวา่
A B = B A = In
แล้วจะเรี ยก B ว่าเป็ นอินเวอร์ สการคูณ (inverse of a matrix) ของ A และเขียน
แทน B ด้วย A–1 อาจเรี ยกอินเวอร์ สการคูณสั้นๆ ว่าอินเวอร์ ส ก็ได้
สู ตรสาหรับหาอินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ 2 x 2
a b
ถ้ำ A = 
c d 
d  b
จะได้วำ่ A–1 = (ad 1 bc) 
 c a 
18
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
4  3
22. ถ้าเมทริ กซ์ A =  1 1 
แล้วเมทริ กซ์ A–1 คือข้อใดต่อไปนี้
1 4 1 1 1 3 1 1
1.   2.   3.   4.  
1 3  3 4  1 4  4 3

4 3 0  2 
23(แนว มช) กาหนดให้ A =  4  2  , B= 1 1  และ S = A+3B
จะได้ S–1 = …….. เมื่อ S–1 คืออินเวอร์สการคูณของเมทริ กซ์ S
1 3  1  3 1  3  1 3 
1. 1 4 2.  1 4  3. 1  4 4.  1  4

24. เมทริ กซ์ A ที่มีมิติ 2 x 2 ทั้งหมดซึ่ ง A2 = I2 คือข้อใดต่อไปนี้


1. A 2. A–1 3. A2 4. I

19
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
2 4 3 x 
25. ให้ A =   , B =   จงหาค่าของ x + y ที่ได้จากสมการ A–1   = B
 1 5  5  y 
1. 27 2. 54 3. 65 4. 88

2 1 1 3
26. ถ้า X เป็ นเมตริ กซ์ 2 x 2 โดยที่ X     แล้ว X เท่ำกับข้อใด
 3 2  1 2
 7 5  3 3   3 3   1 4
1.   2.   3.   4.  
  4 3  6  7    6 7   2  5

20
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
27(แนว En) กาหนดให้ A เป็ นเมทริ กซ์ และ I เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์มิติ 3 x 3
 1 2  1 0 2  3
ถ้า B=  3 0 1  และ C = 3  1 2  สอดคล้องกับสมการ
  0 2 1 
 2 1 0   
AB – AC – I = 0 แล้ว A–1 เมทริ กซ์ในข้อใดต่อไปนี้
1 0 2 2 0 4   1 0  2  2 0  4
1.  0 1  1 2.  0 2  2 3.  0 1 1  4.  0 2 2 
 2  1  1  4  2  2  2 1 1 4 2 2
       

28. กาหนดให้ A และ B เป็ น 2 x 2 เมทริ กซ์ โดยที่


3 1  1  1
A + B = 13   และ 3A – 3B =  
 1 2   1 0 
แล้ว A–1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 0  3 0  1 0  1 0 
1.   2. 13   3.   4. 13  
3 3 3 3 1 1  1 1 

21
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
สมบัติเกีย่ วกับอินเวอร์ ส
1) (A–1) –1 = A
2) (A–1) t = ( At ) –1
3) ( A .B ) –1 = B–1A–1
 2 1  3  5
29. กาหนดให้ A =   , B= แล้ว (A–1B) –1 ตรงกับข้อใด
 3  1  1 2 
 3  7 11  3 3 7  11  3
1.  2.  3. 4. 
 5 12  
7  2 

5 12  7 2

4.3.3 ดีเทอร์ มิแนนต์ ของเมทริกซ์ 2 x 2


a b  a b
ถ้ำ A =   แล้วดีเทอร์ มิแนนต์ A เขียนแทนด้วย det (A) หรื อ
c d  c d
คือจานวนจริง ad – bc
(4)(3)
 2 3
เช่น ถ้ำ A =  
4 6
(2)(6)
จะได้วำ่ det A = (2)(6) – (4)(3) = 12 – 12 = 0
เมทริ กซ์ที่มีดีเทอร์มิแนนท์เป็ นศูนย์ เรี ยกเมทริกซ์ เอกฐาน ( Singular Matrix )

22
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
5 6 5 7
30(แนว มช) กาหนดให้ x –6 = 0 แล้ว x มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
8 9 8 1

สมบัติของดีเทอร์ มิแนนต์ ของเมทริกซ์


1. ถ้ำ det(A) = det(B) ไม่จำเป็ นว่ำ A ≠ B
2. det (A B) = det(A) det(B)
3. det (A1) det(A) = 1 หรื อ det (A–1) = 1
det A
4. det ( kA) = kn (det A)
5. det At = det A
6. (det Ap) = (det A)p
7. det In = 1
8. det 0 = 0

ฝึ กทา. กำหนดให้ A 
 1 3  และ B 
3 4 จงหำค่ำของ
 0 2  1 2
1. det (A) 2. det (B) 3. det (AB ) 4. det (BA) 5. det (A + B)

23
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์

ฝึ กทา. กำหนดให้ A 
 1 3  และ B 
3 4  จงหาค่าของ
 0 2  1 2

1. det (A–1) 2. det (B–1) 3. det (2A) 4. det (–A)
5. det (B2 ) 6. det (At ) 7. det (Bt )

12 2  1  2 1  2 3 
31. กำหนดให้ A =   , B=   , C=   และ D =  
34 3 0 4 3 2 4 
แล้ว det ( ABCD ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –24 2. –10 3. 10 4. 24

24
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 1  3  2 1 –1 2 t
32. ก าหนดให้ A =  และ B =  แล้ว det ( 2A B ) มี ค่ า
 2 2  
1  4
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –58 2. –49 3. –30 4. –24

3 2 a b 5 3 2 3 a b
33. กาหนดให้     =   แล้ว เท่ากับข้อใด
 1 1   c d   2 2   1 4  c d
1. 43 2. 1 3. 45 4. 2

25
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์

34(แนว มช) กาหนดให้ AB =  1 4 


 7 12 และ B = แล้ว det (A2) เท่ากับเท่าใด

 2 0 2 –1
35. กาหนดให้ A =   และ A = B A ค่าของ det (2B) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1  1
1. 12 2. 1 3. 23 4. 2

26
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
a 1 2 1
36. กาหนดให้ A =   , B=   ค่าของ a ที่ทาให้ AB–1 เป็ นซิ งกูลาร์ -
2 3  5 3 
เมทริ กซ์ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 2. 1 3. 23 4. 2

c 1  2 23 –1 t
37. ให้ A =   และ det (2A ) + (1 – c ) det(A ) = 45 ข้อใดเป็ นเซตของค่า c
 1  c 
1. { –3 , –2 , 5 } 2. { 2 , 3 , – 5 }
3. { – 2 , 2 , 3 } 4. { 2 , –2 }

27
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
4.4 เมทริกซ์ n x n
4.4.1 เอกลักษณ์ การคูณของเมทริกซ์ n x n
บทนิยาม สำหรับจำนวนเต็มบวก n ใดๆ จะให้ In = [ ij k ] n x n ซึ่ งมีสมำชิกดังนี้
 1 เมื่อ j  k
i j k  
 0 เมื่อ j  k

เรี ยก In ว่ำเมทริกซ์ เอกลักษณ์ (identity matrix) มิติ n x n ( In อำจเขียนเป็ น I ก็ได้)
1 0 0 0
1 0 0  0
  1 0 0
เช่น I1 = [ 1 ] , I2 = , I3 = 0 1 0 , I4 =  
  0 0 1 0
0 0 1  0 0 0 1 
( สังเกตว่ำสมำชิกที่อยูใ่ นแนวเส้นทแยงมุมลงขวำจะเป็ น 1 ทุกตัว ส่วนสมำชิกอื่นจะมีค่ำเป็ น 0 หมด )
สมบัติของเมทริ กซ์เอกลักษณ์เหล่ำนี้คือ I A = A และ A I = A
4.4.2 การหาดีเทอร์ มิแนนต์ ของเมทริกซ์ n x n
3 4 2
 
ตัวอย่าง จงหำค่ำดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริ กซ์ A = 1 1 0
 
5 2 0 
แนวคิด วิธีที่ 1 คูณทะแยง ( วิธีน้ ีใช้สำหรับเมทริ กซ์ 3 x 3 เท่ำนั้น )
ขั้นที่ 1 นำสมำชิกหลักที่ 1 และหลักที่ 2 มำเขียนเพิ่มต่อท้ำยเมทริ กซ์
ขั้นที่ 2 นำสมำชิกที่อยูใ่ นแนวเส้นทะแยงมุมตำมแผนภำพ คูณเฉี ยงลงไป 3 รอบ
แล้วนำผลลัพธ์มำรวมกันไว้ดำ้ นล่ำง ตำมด้วยคูณเฉี ยงขึ้นอีก 3 รอบแล้วนำ
ผลลัพธ์มำรวมกันไว้ดำ้ นบน
ขั้นที่ 3 นำผลรวมจำกกำรคูณเฉี ยงลงด้ำนล่ำง มำลบด้วยผลลัพธ์จำกกำรคูณเฉียง
ขึ้นด้ำนบน จะได้คำตอบเป็ นดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริ กซ์ทนั ที

28
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
10 + 0 + 0 = 10
3 4 2 3 4
det ( A ) = 1 1 0 1 1
5 2 0 5 2

0+0 + 4 = 4
det ( A ) = 4 – 10
det ( A ) = –6
วิธีที่ 2 ใช้ ตัวประกอบร่ วมเกี่ยว (cofactor)
หลักการ
dat (A) = a11 C11(A) + a12 C12(A) + …… + a1n C1n(A)
เมื่อ Cij(A) เรี ยกตัวประกอบร่ วมเกี่ยว (cofactor) ของ aij
คือผลคูณของ (–1)i + j กับ Mij(A)
Mij(A) เรี ยกไมเนอร์ (minor) ของ aij
คือดีเทอร์มิแนนท์ของเมทริ กซ์ที่ได้จำกกำรตัดแถวที่ i และ
หลักที่ j ของ A ออก
ขั้นที่ 1 เลือกแถวหรื อหลักที่มี 0 มำกที่สุดมำ 1 แถวหรื อ เลือก
3 4 2
1 หลัก เช่นข้อนี้ เลือกหลักที่ 3  
1 1 0
 
5 2 0 
ขั้นที่ 2 คิดเฉพำะสมำชิกที่ไม่เป็ น 0 ข้อนี้คือแลข 2 (a13) 3 4 2
หำไมเนอร์ (minor) ของ a13 โดยตัดสมำชิกแถว  
1 1 0
และหลักที่อยูต่ รงกับเลข 2 ออก ( ตัดสมำชิกที่อยูต่ รง  
5 2 0 
กับเลข 2 ทั้งแนวดิ่งและแนวนอน ) แล้วนำสมำชิกที่
เหลือมำดีเทอร์มิแนนต์
จะได้วำ่ M13(A) = 1 1
5 2
= (1)(2) – (5)(1) = –3

29
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ตำมด้วยหำตัวประกอบร่ วมเกี่ยว (cofactor) ของ a13
จำก Ci j(A) = (–1)i + j Mij(A)
จะได้ C13(A) = (–1)1+3 M13(A) = (–1)4 (–3) = –3
ขั้นที่ 3 หำ det (A)
จำก det (A) = a13 C13(A) = ( 2 ) (–3) = –6

2 3 0
 
38. กำหนดให้ A = 0 6 1  แล้ว det ( A ) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
 3 15 0 
1. –39 2. –36 3. 36 4. 39

30
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 5 2 
 
2 0 1 2
39. กำหนดให้ A =  แล้ว det ( A ) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1 0 8 0 
1 0 2  1

1. –27 2. –54 3. 27 4. 54

31
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 1  1  1 3 
 
2 1 1  1
40. กำหนดให้ A =   แล้ว det (A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
  1  1 2 1 
1 1 2  1

1. –8 2. –6 3. 6 4. 8

32
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 5 4 6
41. ถ้ำ A =  2 0 7  แล้วค่ำของ C13(A) และ C23(A) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 1 2 0
 
1. –4 , –6 2. –4 , 6 3. 4 , –6 4. 4 , 6

x 1 6
 
42(แนว En) ก ำหนดให้ A = 2 5 7 ถ้ำไมเนอร์ ของ a32 เท่ ำกับ 37 และโค-
 
4 2y 9

แฟกเตอร์ของ a23 เท่ำกับ –32 แล้ว x – y มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

33
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
43. กำหนดให้ det A = 1 , det B = 2 , det C = –3 ค่ำของ det (A2 B Ct B–1) มีค่ำ
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –5 2. –3 3. 3 4. 5

สมบัติดีเทอร์ มิแนนท์ ( เพิม่ เติม )


1. ถ้ำสมำชิกในแถวหรื อหลักอันใดอันหนึ่งเป็ นศูนย์หมด ดีเทอร์มิแนนต์น้ นั จะมีค่ำ
เท่ำกับ 0 เสมอ เช่น
1 3 9 
1 0
det 3 0 =0 , det 0 0 0 =0
2 7 8
 
2. ถ้ำสมำชิกใน 2 แถว หรื อ 2 หลัก เหมือนกันตำมลำดับโดยตลอด ดีเทอร์มิแนนต์
จะมีค่ำเท่ำกับ 0 เช่น
1 3 9 
1 1
det 3 3 =0 , det 2 7 8 =0
2 7 8
 
3. ถ้ำนำสมำชิกของ 2 แถว หรื อ 2 หลักใดสลับที่กนั ตำมลำดับ ดีเทอร์มิแนนต์ของ
เมทริ กซ์ใหม่จะมีค่ำเท่ำกับจำนวนตรงข้ำมกับดีเทอร์มิแนนต์เดิม เช่น
1 3 9  2 7 0
det 2 7 0 = det 1 3 9 
6 4 8  6 4 8 
   
4. ถ้ำสมำชิกที่อยูใ่ ต้เส้นทแยงมุมหลัก หรื ออยูเ่ หนือเส้นทแยงมุมหลักมีค่ำเท่ำกับศูนย์
หมด ดีเทอร์ มิแนนต์จะมีค่ำเท่ำกับผลคูณของสมำชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลัก เช่น
1 0 0  1 2 9 
det 2 7 0 = (1)(7)(8) = 56 , det 0 2 7  = (1)(2)(5) = 10
6 4 8  0 0 5 
   
34
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
5. ถ้ำนำค่ำคงตัวคูณกับสมำชิกทุกตัวในแถวใดแถวหนึ่ง หรื อในหลักใดหลักหนึ่งดี-
เทอร์มิแนนต์เมทริ กซ์ใหม่จะเท่ำกับค่ำคงตัว k คูณดีเทอร์ มิแนนต์เดิม เช่น
3 4 2 
 
det 1 1 0  = –6
 
5 2 0 
3 x2 4 x2 2 x2 R1x2 6 8 4
   
จะได้ det  1 1 0  = det 1 1 0  = (–6)(2)
   
 5 2 0  5 2 0 

6. ถ้ำนำค่ำคงตัวคู ณกับสมำชิ กทุ กตัวในแถวใดแถวหนึ่ ง หรื อในหลักใดหลักหนึ่ ง


แล้ว น ำไปบวกกับ แถวอื่ น หรื อหลัก อื่ น ดี เทอร์ มิ แนนต์เมทริ ก ซ์ ที่ เกิ ดใหม่ จะเท่ ำกับ ดี เทอร์ -
มิแนนต์เดิม เช่น
1 3 9   2  1 7  3 0  9  R1 + R2
det 2 7 0 = det  1 3 9 
6 4 8   6 
   4 8 

0 1 0 0
1 1 0
44. 0 0
+ 3 5 0 + 1 0 0 0
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 2 0 0 0 1
2 7 0
0 0 0 1

1. 0 2. 5 3. 15 4. 27

35
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
a b c
 
45. กาหนดให้ A = 1 2 3 แล้ว det (A) มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
 
1 2 3

2 2 4
 
46. ถ้ำ A = 0 1 0  แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
1 1 2 
1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

36
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
5 2 6
 
47. ถ้ำ A = 0 2 6 แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
1 3 9
1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

2 0 0 3 1 2
48. 0 1 0 – 0 2 1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
0 0 3 0 0 5
1. 0 2. 6 3. 16 4. 36

37
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 0 0 0
 
2 2 0 0
49. ถ้ำ A =   แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
8 5 5 0
 
7 1 2  1
1. –10 2. –6 3. 6 4. 10

sin 2 A 1 cos 2 A 
 
50. กาหนดให้ A =  sin 2 B 2
1 cos B  แล้ว det (A2) มีค่าเท่ากับเท่าใด

 sin 2 C 1 cos 2 C 

1. 0 2. 1 3. 4 4. (sinA . sinB . sinC)2

38
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
a b c x y z
   
51. กาหนดให้ A = p q r และ B = p q r  ถ้า det (A) = 2 แล้ว
   
x y z   a b c 

det (B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

x y z  p q r 
52(แนว มช) กาหนดให้ A = p q r  , B   3 x  3y  3 z  และ det (A) = 2
 s t u   2 s 2t 2u  
แล้ว det (B–1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 121 2. – 23 3. 13 4. 23

39
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
a b c  4x 4y 4z 
   
53. กาหนดให้ให้ A = p q r , B=  2a 2b 2c  และ det(A) = 3 แล้ว
   
x y z   p  q  r 
det (3B–1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 118 2. – 89 3. 89 4. 118

4.4.3 การหาอินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ n x n


ทฤษฏีบท ให้ A เป็ นเมทริ กซ์ n x n เมื่อ n > 2 จะได้วา่
A มีอินเวอร์สการคูณก็ต่อเมื่อ A ไม่เป็ นเมทริ กซ์เอกฐาน
และ A–1 = det1(A) adj(A)
เมื่อ adj(A) หมายถึงเมทริ กซ์ผกู พัน (adjoint matrix ) ของ A คือ [ ci j(A) ]t
เพิม่ เติม 1) A adj(A) = adj(A) A = det(A) I
2) adj(A) = det(A) . A–1
3) det [ adj (A)] = [det (A)] n–1
 1 C ji (A) (1)i  j . M ji (A)
4) a ij = det(A) = det(A)

40
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 4
 
54. กาหนดให้ A =  3 8 0  แล้ว A–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
 1 2  1
 8 10  32  8  10 32 
   
1.  3 5  12  2. 3 5 12 
   
 14 0 14  14 0  14 

 8 10  32  8  10 32 
   
3. 1  3
– 70 5  12  4. – 701 3 5 12  .
   
 14 0 14  14 0  14 

41
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 4
 
55(แนว Pat1) กาหนดให้ A =  3 8 0  แล้วสมาชิ กในแถวที่ 3 หลักที่ 1 ของ A–1
 
 1 2  1
มีค่าเท่ากับเท่าใด

 2 2 3
 
56(แนว PAT1) ถ้า At =  1 1 0  ค่าสมาชิ กในแถวที่ 2 และหลักที่ 3 ของ A–1
 
 0 1 4 

เท่ากับ ข้อใดต่อไปนี้
1. – 23 2. –2 3. 23 4. 2

42
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
57(แนว มช) กาหนดให้ A เป็ นเมทริ กซ์ขนาด 3 x 3 และ det(A) = –4 แล้ว det (adj A) มี
ค่าเท่ากับเท่าใด

1 0 2
 
58(แนว En) กาหนดให้ a เป็ นจานวนจริ ง และ A = 0 3 0  ถ้า a < 8 และ
 
4 0 a 

det (adj A) = 36 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –5 2. –6 3. 5 4. 6

43
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1  1
59(แนว En) ก าหนดให้ A =   ถ้า B เป็ นเมตริ ก ซ์ ที่ B = 3 A–1 แล้ว ข้อ ใด
2 1 
ต่อไปนี้เป็ นค่าของ det (2 adj B)
1. 6 2. 9 3. 12 4. 18

60(แนว En) ให้ A , B เป็ นเมตริ กซ์ มิติ 3 x 3 ถ้า AB = 2 I โดยที่ I เป็ นเมตริ กซ์ เอกลักษณ์
และ adj B = 12 A แล้ว det (A) มีค่าเท่ากับเท่าใด

44
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
61(แนว En) ให้ A , B เป็ นเมตริ กซ์จตั ุรัสมิติ 3 x 3 และ I เป็ นเมตริ กซ์เอกลักษณ์มิติ 3 x 3
1 1  1
 
ถ้า AB = BA = I และ A = 2 1 3  แล้ว adj (B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1 0 1 

1. 13 B 2. –3 B 3. 13 B–1 4. –3 Bt

4.5 การใช้ เมทริกซ์ แก้ ระบบสมการเชิงเส้ น


การใช้เมทริ กซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น สามารถทาได้หลายวิธีดงั นี้
วิธีที่ 1 ใช้ กฎของคราเมอร์ ( Cramer'S rule )
เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี n สมการ และ n ตัวแปร โดย AX = B เป็ น
สมการเมทริ กซ์ที่สัมพันธ์กบั ระบบสมการนี้
 x1   b1 
   
 x1   b1 
ให้ X=   และ B=   ถ้า det(A)  0 แล้ว
 ..   .. 
   
x n   b n 
det(A ) det(A ) det(A )
x1 = det(A)1 , x2 = det(A)1 , ......... , xn = det(A)1
เมื่อ Ai คือเมทริ กซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของ B ทุกๆ i  { 1, 2 ,… , n }

45
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
62. จากระบบสมการเชิงเส้น x+y+z=6
x–y+z =2
x+y–z =0
ค่าของ 2x + y – 2z มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 4 2. – 2 3. 2 4. 4

63(แนว En) จากระบบสมการเชิงเส้น 2x1 + 4x2 + x3 = 1


x1 + 2x2 = –2
–x1 – 3 x2 + 2x3 = 3
ค่าของ x1 ที่เป็ นคาตอบของสมการนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 20 2. 9 3. –9 4. –20

46
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
วิธีที่ 2 ใช้ การดาเนินการตามแถว
การดาเนิ นการตามแถวเป็ นอีกวิธีหนึ่ งที่ สามารถแก้แก้ระบบสมการเชิ งเส้ นได้ ซึ่ ง
สามารถทาได้ดงั โจทย์ต่อไปนี้
64. จากระบบสมการเชิงเส้น x+y + z = 3
x –z = 1
y + 2z = 2
ค่าของ 2x + y – 2z มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 4 2. – 2 3. 2 4. 4

65. จากระบบสมการเชิงเส้น x+y+z=6


x–y+z=2
x+y–z=0
ค่าของ 2x + y – 2z มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 4 2. – 2 3. 2 4. 4

ÕÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÖ

47
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์

เฉลยบทที่ 4 ระบบสมการเชิ ง เส้น และเมทริ ก ซ์


.
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบ 5.5 11. ตอบ 9 12. ตอบ 19
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบ 3 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบ 102 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบ 25 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบ 9 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบ 0 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบ 0 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบ 0.2 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบ 16 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบ 8
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2.

ÕÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÕÖÖ

48
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์

ตะลุยโจทย์ทวั ่ ไป บทที่ 4 ระบบสมการเชิ งเส้นและเมทริกซ์


4.1 ระบบสมการเชิงเส้ น
1(แนว Pat1) จำกระบบสมกำร
x+y+z=2
x+y–z=4
x + 2y + z = 4
ค่ำของ  xzy  มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 4 4. 8

2. จำกระบบสมกำร x + 2y – z = 3
3x + y = 6
2x + y = 1
ค่ำของ x12y z มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 48 2. 60 3. 120 4. 240

3. จำกระบบสมกำร 2 x1 – 3 x2 + x3 = 8
– x1 + 4 x2 + 2 x3 = –4
3 x1 – x2 + 2 x3 = 9
ค่ำของ  x1 x2 x3  มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 4 3. 8 4. 24

4.2 เมทริกซ์ ( Matrix )


x  2 3 y  1 3 5
4. กำหนดให้  4 = แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
 5 6  4 5 z 
1. x = 1 , y = 5 , z = 6 2. x = 3 , y = 5 , z = 6
3. x = 3 , y = 5 , z = –6 4. x = 3 , y = –5 , z = –6

49
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 xy  3
5. กำหนดให้   =   แล้ว  x y  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2x  3y  6 
1. 0 2. 6 3. 12 4. 18

 2x  y   2 
6. กำหนดให้   =   แล้ว  x y  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 x  2y   11
1. 0 2. 6 3. 12 4. 18

x 2  1 x2  x  1 x2 
7. กำหนดให้   = 
2
 แล้ว x เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 0 x  10   0 x  8
  
1. x = 2 , –1 2. x = 4 , –4 3. x = 5 , –4 4. 

x 2 x  x2  4  2
8. กำหนดให้   =   แล้ว x เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 2x x  4  x 
 

1. x = –2 2. x = 2 3. x = 5 , y = –4 4. 

x 2  3 4 1   2x 4 1
   
9. กำหนดให้  6 2 4y  3 =  6 2
2 y  เมื่อ  x   2
  
 1 5 x  y   1 5 0 
  
แล้ว  x y  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 4 4. 16

z 1 z 1 
10. กำหนดให้   =   แล้ว z เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
3 2 3 4 
1. 0 2. R 3.  4. 

50
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2
11. กำหนดให้ A =   แล้ว 5A เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 0 
 5 10  4 6 5 6   0  2
1.   2.   3.   4.  
10 0  6 0 6 0   2  6 

0 1
12. กำหนดให้ B =   แล้ว –3 B เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1 3
1 1 4 6  1  2  0  3
1.   2.   3.   4.  
1  3 6 0   2  6   3  9

1 2 0 1
13. กำหนดให้ A =   , B=   แล้ว 3 A – 2 B เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 0  1 3
1 1 3 4 1  2 0  2
1.   2.   3.   4.  
1  3 4  6  2  6   2  6 

1 2 0
1
14. กำหนดให้ A =   , B=   แล้ว –B + A เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 0  1
3
1 1 3 4 1  2 0  2
1.   2.   3.   4.  
1  3 4  6  2  6   2  6 

x 1 x2  1 0 2
   
15. ถ้ำ A = y 2 1 3  , B= 0 1 2 และ A + At = 2 B แล้ว
   
3
 x2 y 

2
 2 1 
x + y เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

51
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
41 3 1 1 2 3 2 1
16. กำหนดให้ A =   , B =   , C=   แล้ว
2
3 5 3 1 4  1 4 1
ผลลัพธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นเมทริ กซ์ศูนย์ ( 0 )
1. A + B + C 2. A + B – C 3. A – B – C 4. A – B + C

1
17. [2 3]   เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 4 
1. [ 14 ] 2. [ 15 ] 3. [ 16 ] 4. [ 17 ]

 3
 
18. [2 1 3]   1  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
 0 

1. [ 4 ] 2. [ 5 ] 3. [ 6 ] 4. [ 7 ]

3
 
19.  1 0 3   0  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
5
1. [ 1 ] 2. [ 9 ] 3. [ 10 ] 4. [ 15 ]

3
1 2 3  
20. 4  2  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 5 6  
1 
10  12 
1. [ 10 28 ] 2. [ 12 6 ] 3.   4.  
 28   6 

52
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 3 2 
   
21. 3 2 1   1  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
   
1 3 2 3
4  13
   
1. [ 4 8 6 ] 2. [ 13 11 11 ] 3. 8  4. 11
   
 6  11
 

1 4
1 2 3   
22. 4 5 6  0 1  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
   
2 3

 4 5 11   22 28 
7 15  8 5    
1.   2.   3.  4 8 20  4. 14 20 
16 39 18 11    20
 20 2  6  26 

1 2 3 1 2
   
23. 3 2 1   3 4  เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
  
1 3 2 5 6 
 4 5 11   22 28 
7 15  8 5    
1.   2.   3.  4 8 20  4. 14 20 
16 39 18 11    20
 20 2  6  26 

1 2 2 1
24.      เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
3 4  3 2
 4 5 11   22 28 
7 15  8 5    
1.   2.   3.  4 8 20  4. 14 20 
16 39 18 11    20
 20 2  6  26 

53
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 0 4
25.    เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 3 0   2 5 
6 14  4 14  3 14  5 14 
1.   2.   3.   4.  
0 12  0 12  0 12  0 12 

2 1 3 0
26.    เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 34   0 3 
6 3  5 3  8 3  9 3
1.   2.   3.   4.  
9 12  9 12  9 12  9 12 

 1 0 2  2 1 5
   
27.  2 1 3    3 0 1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
   
  4 5 3  5 2 3
 4 5 11   22 28 
7 15  8 5    
1.   2.   3.  4 8 20  4. 14 20 
16 39 18 11    20
 20 2  6  26 

1 0 0 1 2 3
   
28. 0 1 0   4 5 6 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
   
0 0 1  7 8 9

 22 28   1 2 3 1 5 11  1 0
       
1. 14 20  2. 4 5 6 3. 0 8 20 4. 0 1
 20    
 26  7 8 9 0 2 6 

1 0 

54
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 3 1 0 0
   
29. 4 5 6   0 1 0 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
   
7 8 9  0 0 1

 22 28  1 2 3 1 5 11  1 0
       
1. 14 20  2. 4 5 6 3. 0 8 20 4. 0 1
 20    
 26  7 8 9 0 2 6 

1 0 

 2
 
30.  1  [4 3 2] เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
 0 

8 6 4 1 6 4 2 6 4 3 6 4
       
1. 4 3 2 2. 4 3 2 3. 4 3 2 4. 4 3 2
       
0 0 0  0 0 0  0 0 0  0 0 0 

1 0 4 1 0 4
31.      เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 3 1  2 3 1 
1. [ 4] 2. [ 5] 3. [ 6] 4. หำค่ำไม่ได้

1  2 2 1  2 1
32. กาหนดให้ A =   , B=   และ C =   และ (AB)C
3 1   3 5  3 1
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 7 15  8 5   19  13 1 0
1.   2.   3.   4.  
16 39  18 11  6 17  0 1

55
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 1 2 3 2 4 
33. กำหนดให้ A =   , B=   แล้ว Bt At เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
  1 3  5 3 1 
 13 12   11 12  9 11   22 23 
       
1.  4 11  2.  4 11  3. 2 2 4.  2 13 
       
 2  1   2  1  3  12    5  5

 1 2 1 2 3
34. กำหนดให้ X =   ,Y=   แล้ว Yt Xt เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
  1 3  4 0 3
 13 12   11 12  9 11   22 23 
       
1.  4 11  2.  4 11  3. 2 2 4.  2 13 
       
 2  1   2  1  3  12    5  5

2x  y 
35. กำหนดให้ A = 4x  3y  ข้อใดไม่ถูกต้อง
 
2 1 y 1 2y
1. A เกิดจำก    2. A เกิดจำก   
 4 3   x   3 4   x 
 2x   y  4 3 x
3. A เกิดจำก     4. A เกิดจำก   
 3y   4x   1 2   y 

1 0 1 0 1 5 2
   
36. กำหนดให้ A = 2 0 3 , B= 1 2 0 2 เมื่อ AB = C แล้ว
   
3 2 1 2 4 1 2
 
C23 + C34 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 25 2. 30 3. 35 4. 40

56
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 1 0 1 0 1 0 0 b 2
37. X =   , Y=  , Z=
   เมทริ ก ซ์   เท่ำกับ
 0 1   1
0   0 1   b 0 
เมทริ กซ์ในข้อใดต่อไปนี้
1. b2 X 2. b2 Y 3. b2 Z 4. b2 (X + Y + Z)

1 3  1 
38. กำหนดให้ A =   , B=   ถ้ำ A B = 3 B แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
 4  3   y 
1. 0 < y < 1 2. 1 < y < 2 3. 2 < y < 3 4. y > 3

a b  1 1
39. กำหนดให้ A =   , B=   แล้วเงื่ อนไขในตัวเลื อกใดต่อไปนี้ ที่ท ำ
 c d    1 1 
ให้ A B = B A
1. d = a = 1 , c = b = 0 2. c = b , d = –a
3. c = d , d2 = a 4. c2 = b2 , d = 9

x 1   1 0  6 0
40. ถ้ำ A =   , B=   , AB =   แล้ว ค่ ำ ของ x1 + 1y
 0  x    y 0    3 0 
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. –2 4. 3

4.3 เมทริกซ์ 2 x 2
4.3.1 เอกลักษณ์ การคูณของเมทริกซ์ 2 x 2
4.3.2 อินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ 2 x 2
4 3
41. กำหนด A =   แล้ว A–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 1 2 
2 3  2 3 
1. 12   2. 13  
1  4  1 4 
2 3 
3. 15   4. หำค่ำไม่ได้
 1 4 
57
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 2 2
42. กำหนด A =   แล้ว A–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
  3 2 

1. 1  2  3   2
2. 13 
2 

2 1 4   3 2 
  
 2 2 
3. – 12   4. หำค่ำไม่ได้
  3 2 

1 2
43. กำหนดให้ A =   แล้ว A–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 3 6 
2 3   2 3 
1. 12   1
2. 3  
1  4   1 4 
2 3 
1
3. 4   4. หำค่ำไม่ได้
 1 4 

44. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1 6 1 2 
1. ถ้ำ A =  –1
แล้ว A = 
 0 3 

 0
1 
3 
1 0  1 0 
2. ถ้ำ A =   แล้ว A–1 = 2 1 
 2  3   3 3 
2 4
3. ถ้ำ A =   แล้วหำ A–1 ไม่ได้
 0 3 
 1 1 
4. ถ้ำ A =   แล้วหำ A–1 ไม่ได้
 2  2 

5 3 2 3
45. กาหนดให้ A =   และ B =   แล้ว (AB)–1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 2 1 2
 2 5  2 5  13  21 1 2 
1.   2.   3.   4.  
  1 3   1 3   8 13   3  5 
58
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
6 1
46. กาหนดให้ A–1 =   แล้ว A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
11 2
 13  21  2  1
1.   2.  
 8 13    11 6
 2  1  1 2 
3.   4.  
  11 6  3  5 

3 2 1 2
47. ถ้า X เป็ นเมตริ กซ์ 2 x 2 โดยที่  X    แล้ว X เท่ำกับเมตริ กซ์ขอ้ ใด
4 3 2 1 
 7 5  3 3 
1.   2.  
  4 3  6  7 
 3 3   1 4
3.   4.  
  6 7   2  5

3 2 3 0
48. ถ้ำ A และ B เป็ นเมตริ กซ์ 2 x 2 ซึ่งทำให้  A =   และ
 2 1   0 2 
 1 1   0 3
B  =   แล้ว A + B เท่ำกับเมตริ กซ์ในข้อใดต่อไปนี้
 1  2    3 0 
 3 3  3 3 
1.   2.  
 6 7   6  7 
 3 3   3 3 
3.   4.  
  6 7   6  7 

 14  11  1 2
–1
49. ถ้ำ (AB) =   และ A =   แล้ว B คือเมทริ กซ์ในข้อใดต่อไปนี้
  5 4   1 3 
 2 5  2 5 1 3 1 2 
1.   2.   3.   4.  
  1 3   1 3   2 5   3  5 

59
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 4 16   4 0 
50. กาหนดให้ A   =   แล้ว A–1 คือข้อใดต่อไปนี้
 36 64   0 4 
1 2 1 4  2 4 2 8
1.   2.   3.   4.  
 3 4   9 16   6 8   1 1 

 1 3  3 0 3 –1 –1 –1
51. ให้ A =   , B=  ถ้า 2 X = A B แล้ว X เท่ากับข้อใด
 2 0  2  2
2 3 2 3
1. – 181   2. 181  
2  1 2  1
9  27  9  27 
3. 12   4. 23  
 18 18  18 18

52. กาหนดให้ A และ B เป็ น 2 x 2 เมทริ กซ์ โดยที่


2 2 1 1
A–1 + B–1 =   และ 2A–1 – B–1 =  
 1 3 4 3
แล้ว A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 0  3 0  2  1 2  1
1.   2. 12   3.   4. 12  
3 3 3 3  1 1   1 1 

4.3.3 ดีเทอร์ มิแนนต์ ของเมทริกซ์ 2 x 2


5 3
53. ดีเทอร์มินนั ต์ของเมทริ กซ์   เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 0 2 
1. 10 2. 13 3. 15 4. 30

1 2 5 0
54. + เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 3 1 3
1. 16 2. 15 3. 14 4. 13

60
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
0 1 0 0
55. + เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 1 200 100
1. –2 2. –1 3. 1 4. 2

x 4
56. กาหนดให้ A =   และ det (A) = 0 แล้วผลรวมของค่า x เท่ากับข้อใด
 4 x 
1. –4 2. 0 3. 4 4. 2

x 2 4 3  4
57. กาหนดให้ A =   , B=   และ det (A) = det (B) แล้ว
x 1   2  1 

ผลรวมของค่า x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. 0 3. 4 4. 2

1 2 a b  4 0
58. กาหนดให้ A =   , X =   และ C =   ถ้า AX = B
1 4   c d   5 1 
a b
แล้ว มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
c d
1. –4 2. 0 3. 4 4. 2

1 2 3 6
59. กาหนดให้ A =   และ B =   พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3 4  1 3
ก. det (AB) = –6 ข. det (At) = –2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

61
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
3  1 20 33   2 3
60. กำหนดให้ A =   , B=  , C =  แล้วค่ำของ
2  1  3 5   4 7
det (A3 B Ct ) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

1 2 3 6 
61. กาหนดให้ A =   และ B =   แล้ว det (A–1) + det B เท่ากับข้อใด
3 4  1 3
1. – 12 2. 0 3. 12 4. 2

1 2 3 6 
62. กาหนดให้ A =   และ B =   แล้ว det (B3) + det (2A) เท่ากับข้อใด
3 4  1 3
1. 15 2. 19 3. 20 4. 25

2 1
63. กาหนดให้ A2 =   แล้ว det (A) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
0 8
1. 4 2. 0 3. 2 4. 3

 9x 100 
64. ถ้ำ A =  3  แล้ว det (A–1) . detA เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 25 8b 
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

65. ข้อควำมต่อไปนี้ มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้


x 1 15 5
ก. ถ้ำ 5 = แล้ว x = 3
2 2  10 10

3 2 0 0
ข. ถ้ำ A   =   แล้ว det (A) = 0
 6 4   0 0 

62
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
5 1  1 2 
ค. ถ้ำ A   , B =   แล้ว det (–AB)t = 24
 4 8   1 0 
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

5 8 1 0
66. ถ้ำ A =   , kR , I =   และ B = A–1 + k I และ det B = 8
 2 3   0 1 
แล้วค่ำ k เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 , 1 2. 9 , –1 3. 9 , 2 4. 9 , 0

2 1  1 1 
67. กำหนดให้ A =  , B =  และ C = 2AB–1 + B–1 แล้วค่ำ a
 a
3   2 1 
ที่ทำให้ det C = 1 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

x 0
68. ถ้ำ A =   และ det (A + At) = –9 แล้ว det (2A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1  x 
1. 0 2. 1 3. –7 4. –8

 2 a
69. ถ้ำ A =  จำนวนเต็ม a ที่มีค่ำมำกที่สุด ที่ทำให้ det (2A) < 12 คือข้อใด
 a a 
1. –2 2. –1 3. 0 4. 3

1 2
70. กำหนด A และ B เป็ นเมตริ กซ์จตั ุรัสโดยที่ A =   และ (AB)t = (AB)–1
 2 5 
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. det (A) = det (B) 2. det (A) . det (B) > 0
3. det (A) . det (B) < 0 4. det (A2) = det (B2)

63
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
2 5 32  25
71. ให้ A =   ; X เป็ นเมตริ กซ์ 2 x 2 ถ้ำ A X =   แล้วค่ำของ
3 8 51  41
det Xt เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –24 2. –28 3. –37 4. –48

4.4 เมทริกซ์ n x n
4.4.1 เอกลักษณ์ การคูณของเมทริกซ์ n x n
4.4.2 การหาดีเทอร์ มิแนนต์ ของเมทริกซ์ n x n
 2 2 3
 
72. กำหนดให้ A =  1 1 0  แล้ว det ( A ) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
 0 1 4 
1. –6 2. –3 3. 3 4. 6

2 3 1
 
73. กำหนดให้ A = 0 5  2 แล้ว det ( A ) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
0 0  2 
1. –20 2. –10 3. 10 4. 20
2 1 2 1 0 2
74. 1 2 2 + 0 1 2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2 2 1 0 0 3
1. –2 2. –1 3. 1 4. 2

x 3 2 
  2x  x
75. ถ้ำ A = 2 1 2x  ,B=   แล้ว
   3 1 
0 3  2 
ค่ำของ x ที่ทำให้ det (A) = 4 det (B) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 , 1 2. –4 , 3 3. 5 , 2 4. 5 , 1
64
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 3 5 2
 
2 0 1 2
76. กำหนดให้ A =  แล้ว det (A) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1 0 8 0 
1 0 2 1

1. –81 2. –54 3. 54 4. 81

2 1 3 2
 
4 0 1 5
77. กาหนดให้ A =   แล้ว det (A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 4 2 3
 
 3 0 4 2 
1. –25 2. –27 3. –29 4. –30

2 1 2 0
 
0 2 1 6
78. ถ้า A =   แล้วค่าของ M34 – C43 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
6 0 0 1
 
4 3 4 2 
1. 30 2. –50 3. 50 4. –30

x 3 2 
 
79. ถ้ำ A = 2 1 2x  แล้ว M13 + M32 + M11 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
0 3  2 
1. 19 2.18 3.16 4.15

x y 4
 
80(แนว En) ก ำหนดให้ A =  3 8 0 โดยที่ โคเฟกเตอร์ ของ a21 = –6 และ
 
 x  y  1
โคแฟกเตอร์ของ a23 = 0 แล้วโคแฟกเตอร์ของ a33 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –14 2. –6 3. 6 4. 14
65
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 1
 
81(แนว PAT1) กำหนดให้ A = 2 x 2  โดยที่ x และ y เป็ นจำนวนจริ ง
 
1 y 2 
 
ถ้ำ C21(A) = 9 และ C11(A) = 18 แล้ว det (2A) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –84 2. –216 3. 84 4. 216

1 0 0
 
82. กำหนดให้ A = 2 1 0  แล้วค่ำของ det [(M13 + C13) A] เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
0 1 1
1. 63 2. 64 3.65 4.66

83. กำหนดให้ A , B และ C เป็ น n x n เมทริ กซ์ เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็มที่มำกกว่ำ 2 และ
det A = 1 , det B = 2 และ det C = –3 แล้ว จงหำ det ( B C–1A B–1Ct)
1. 2 2. 1 3. 0 4. –1

0 0 0 0
 
1 2 3 4
84. ถ้ำ A =   แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
5 6 7 8
 
9 10 11 12 
1. 0 2. 1 3. 3 4. 13

1 0 2 1
 
2 0 1 1
85. ถ้ำ A =   แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1 0 1 2
 
 2 0 1 1 
1. 0 2. 1 3. 3 4. 13

66
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
3 4 9
 
86. กาหนดให้ A = 3 4 9 แล้ว det (A) มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
 
1 2 3

0 1 0
 
87. ถ้ำ A = 1 2 1  แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
2 1 2

1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

a b c a  b b c
   
88. กาหนดให้ A = p q r และ B = p  q q r ถ้า det(A) = 3
   
x y z  x  y y z 
 
แล้ว det (B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

1 2 1
 
89. ถ้ำ A = 0 1 0 แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
2 4 2

1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

2 1 3
 
90. ถ้ำ A = 0 2 6 แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
1 1 3

1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

67
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 a b  c
 
91. ถ้ำ A = 1 b a  c  แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
1 c a  b 
1. 0 2. 1 3. abc 4. a+b+c

a 2 ab 1
 
92. ถ้ำ A =  ab

b2 2 แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 ac bc 3

1. ab 2. 1 3. bc – ab 4. 0

1 0 2
 
93. ถ้ำ A = 0 1 2 แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
0 0 3

1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

2 0 0
 
94. ถ้ำ A = 1 3 0 แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
3 1 3

1. 0 2. 3 3. 5 4. 18

2 0 0 0
 
0 2 0 0
95. ถ้ำ A =   แล้ว det (A) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
0 0 2 0
 
0 0 0 2
1. 0 2. 6 3. 16 4. 36

68
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
x 0 0 0 
 
0 x 1 0 0 
96. ถ้ำ det   = 0 แล้วผลบวกของค่ำ x เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
0 0 x2 0 
 
0 0 0 x  3
1. 4 2. 6 3. 8 4. 12

a b c p q r
   
97. กาหนดให้ A = p q r และ B = a b c ถ้า det (A) = 2 แล้ว
   
yx z  x y z 
 
det (B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

a b c  2x 2y 2x 
   
98. กาหนดให้ A = p q r และ B = p q r ถ้า det (A) = 2
   
yx z  a b c 
 
แล้ว det (B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

a b c  4x 4y 4z 
   
99. กาหนดให้ A = p q r และ B =  a b  c ถ้า det (A) = 3
   
yx z   2p 2q 2r 
 
แล้ว det (B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –48 2. –24 3. 24 4. 48
x y z 3x 3y 3z
100. กำหนดให้ p q r = –1 ดังนั้น 2p  s 2q  t 2r  u มีค่ำเท่ำกับข้อใด
s t u  2s  2t  2u
1. –12 2. –6 3. 6 4. 12
69
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
a b c p ax x
   
101. ให้ A = p q r  , C = q  b  y y  และ det(A) = 3 แล้ว det(2C–1)
   
x y z   r cz z 
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 83 2. 85 3. 87 4. 89

4.4.3 การหาอินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ n x n


 2 2 3
 
102. กาหนดให้ A =  1 1 0  แล้ว A–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
 0 1 4 
 4 5 3 4 5  3
   
1.  4 8 3 2. 4 8  3
   
 1 2 0  1 2 0 
 4 5 3 4 5  3
   
3. 13  4 8 3 4. 13 4 8  3
   
 1 2 0  1 2 0 

2 1 0 3 0 0
   
103. ถ้ำ A 4 3 5 = 0 3 0 แล้ว A–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
   
2 6 8  0 0 3
2 1 0 2 1 0
1. 1 4 3 5

2. 13

4 3 5

2   
2 6 8  2 6 8 
2 1 0 2 1 0
3. 1 4 3 5

4. 15

4 3 5

4   
2 6 8  2 6 8 

70
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
1 2 3
 
104. ค่าของ x ที่ทาให้ 0 2 1 มีอินเวอร์ สการคูณ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1 1 x 

1. x = 2 2. x = 25 3. x  2 4. x  5
2

 2 1 0
 
105. ค่าของ x ที่ทาให้  0 x 3 มีอินเวอร์ สการคูณ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
 2 1 3

1. x = 2 2. x = 25 3. x  2 4. x  5
2

2 3 4
 
106. ถ้ำ A = 4 3 1  แล้ว det (adj A) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 
1 2 4 
1. –5 2. 25 3. –125 4. 5

1 1 2 1 1 1
   
107. กาหนดให้ A = 1 2 1 , B= 0 1 2
   
1 2 3 5  3 0
จงหาค่าของ det (2A–1B) + det (At adj (B) ) – det ( BAt adj (A) )

108. ให้ A เป็ นเมตริ ก ซ์ 4 x 4 และไม่ เป็ นเมตริ ก ซ์ เอกฐำน ค่ ำ ของ det (adj A) – det (A3)
มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. –2

109. ถ้ำ An x n เป็ นนอนซิ งกูลำร์เมตริ กซ์แล้ว det (adj (adj A)) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
2 2 2 2
1. A n 2n 2. A n 2n 3. A (n  1) 4. A (n  1)

71
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
4.5 การใช้ เมทริกซ์ แก้ ระบบสมการเชิงเส้ น
110. จากระบบสมการเชิงเส้น x+y– z = 5
2x – y + 2 z = –4
y – 2z = 6
ค่ำของ x เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 0 4. 3

111. จากระบบสมการเชิงเส้น x – y + z = 0
2x – y + z = 1
–x + y + 2z = 0
ค่ำของ y เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 0 4. 3

112. จากระบบสมการเชิงเส้น x + y + 2z = 9
2y – 8z = –18
3x + 5y – 3z = 0
y
ค่ำของ z เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 0 4. 3

113. จากระบบสมการเชิงเส้น x + y + 3 z + 7 t = 0
x + y + 5 z + 11 t = –2
2 x + 2 y + 4 z + 11 t = 2
ค่ำของ t เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 0 4. 3

72
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
4 8 0 x  12 
     
114. ให้ A = 6 12 2 ,X= y ,B= 20 
     
0
5 7  z  12 
ถ้ำ AX = B แล้ว x y z มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 0 4. 3

115. จากระบบสมการเชิงเส้น x– y + z + 2t = 1
2x – 3y + 2z + 5t = 3
3x + 2y + 2z + t = 0
x+ y – 3z – t =0
ค่ำของ z เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 1 3. 0 4. 3

116. จากระบบสมการเชิงเส้น x – 2y = 1
x – y + k z = –2
ky + 4z = 6
ค่ำ k เป็ นเท่ำไร ทำให้ระบบสมกำรนี้ไม่มีคำตอบ
1.  1 2.  2 3.  3 4.  4

73
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
เฉลยตะลุยโจทย์ทวั ่ ไป บทที่ 4 ระบบสมการเชิ งเส้นและเมทริ กซ์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 3.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 4.
69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 3.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 1.
85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบ 0 87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 2.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 1. 92. ตอบข้ อ 4.
93. ตอบข้ อ 2. 94. ตอบข้ อ 4. 95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 2.
97. ตอบข้ อ 2. 98. ตอบข้ อ 1. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 4.

74
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
101. ตอบข้ อ 1. 102. ตอบข้ อ 3. 103. ตอบข้ อ 2. 104. ตอบข้ อ 4.
105. ตอบข้ อ 3. 106. ตอบข้ อ 2. 107. ตอบ 182 108. ตอบข้ อ 1.
109. ตอบข้ อ 3. 110. ตอบข้ อ 2. 111. ตอบข้ อ 2. 112. ตอบข้ อ 4.
113. ตอบข้ อ 3. 114. ตอบข้ อ 2. 115. ตอบข้ อ 1. 116. ตอบข้ อ 2.



75

You might also like