You are on page 1of 70

คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

ตอนที่ 59

แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 2)

โดย

อาจารย์ ดร.รตินันท์ บุญเคลือบ

สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2555
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน


สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 13 ตอน ซึ่ง
ประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน


2. เนื้อหาตอนที่ 1 ความสัมพันธ์
- แผนภาพรวมเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
- ผลคูณคาร์ทีเซียน
- ความสัมพันธ์
- การวาดกราฟของความสัมพันธ์
3. เนื้อหาตอนที่ 2 โดเมนและเรนจ์
- โดเมนและเรนจ์
- การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ
- การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ
4. เนื้อหาตอนที่ 3 อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และบทนิยามของฟังก์ชัน
- อินเวอร์สของความสัมพันธ์
- บทนิยามของฟังก์ชัน
5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันเบื้องตัน
- ฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต B
- ฟังก์ชันทั่วถึง
- ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
6. เนื้อหาตอนที่ 5 พีชคณิตของฟังก์ชัน
- พีชคณิตของฟังก์ชัน
- ตัวอย่างประเภทของฟังก์ชันพื้นฐาน
7. เนื้อหาตอนที่ 6 อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
- อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
- กราฟของฟังก์ชันอินเวอร์ส
8. เนื้อหาตอนที่ 7 ฟังก์ชันประกอบ
- ฟังก์ชันประกอบ
- โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ
- สมบัติของฟังก์ชันประกอบ

1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9. แบบฝึกหัดตอนที่ 1 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 1)


- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
10. แบบฝึกหัดตอนที่ 2 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 2)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
11. แบบฝึกหัดตอนที่ 3 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 3)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
12. แบบฝึกหัดตอนที่ 4 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 4)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
13. แบบฝึกหัดตอนที่ 5 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 5)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
สาหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆ ที่
คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชา
คณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้

2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
หมวด แบบฝึกหัด
ตอนที่ 2 (2/5)

หัวข้อย่อย 1. แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
2. แบบฝึกหัดขั้นสูง
3. แบบทดสอบ

จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียน
1. สามารถหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้
2. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้
3. สามารถร่างกราฟของอินเวอร์สของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้
4. นาความสัมพันธ์ระหว่างโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์กับโดเมนและเรนจ์ของอิน
เวอร์สของความสัมพันธ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้
5. สามารถร่างกราฟของอินเวอร์สของความสัมพันธ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให
ได้
6. สามารถตรวจสอบได้ว่าความสัมพันธ์ที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันหรือไม่ได้
7. สามารถคานวณค่าของฟังก์ชันได้
8. สามารถนับจานวนฟังก์ชันจากเงื่อนไขที่กาหนดให้ได้

3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน

แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน ใช้เพื่อวัดความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐานของผู้เรียน ประกอบด้วยข้อ


คาถามแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมเฉลย ครอบคลุมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่
กาหนด โดยผู้จัดทาได้ออกแบบให้โปรแกรมสามารถสุ่มข้อคาถาม เพื่อสร้างเป็นแบบฝึกหัดที่มีความ
แตกต่างกันได้มากถึง 310 แบบ

4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และ โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของ


ความสัมพันธ์
จุด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 1 คื อ ต้ องการทดสอบว่ า นั ก เรี ย นสามารถหาอิน เวอร์ ส ของ
ความสัมพันธ์จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่ ตลอดจนหาโดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์ส
ของความสัมพันธ์ได้หรือไม่
1.1 กาหนดให้ r {(1,1), (2,1), (2, 3), (3,2), (4,5)} แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. r r 1 2. Dr Dr 1

3. r r 1 4. n(r r 1) 4
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ r 1
{(1,1), (1,2), (3,2), (2, 3), (5, 4)} r และ
Dr {1, 2, 3, 4} {1, 2, 3, 5} Dr 1 นอกจากนี้เนื่องจาก (1,1) r r 1
ทาให้ได้ว่า
r r 1
สุดท้ายเนื่องจาก r r 1
{(2,1), (4, 5)} ทาให้ได้ว่า n(r r 1) 2

1.2 กาหนดให้ r {(3,2), (3,6), (5,2), (6, 3), (6,7), (7,7)} แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. n(r r 1 ) 3 2. n(r r 1) n(r 1
r)
3. Rr Rr 1 4. Dr Dr 1

เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ r 1 {(2, 3), (2, 5), (3, 6), (6, 3), (7, 6), (7, 7)} ดังนั้น
r r 1
{(3,6), (6, 3), (7,7)} จึงได้ว่า n(r r 1) 3

นอกจากนี้ r r 1
{(3,2), (5,2), (6,7)} และ r 1
r {(2, 3), (2,5), (7,6)} ทาให้ได้ว่า
n(r r 1) n(r 1
r) สุดท้ายจะได้ว่า Dr {3, 5, 6, 7} {2, 3, 6, 7} Dr 1 และ
Rr {2, 3, 6, 7} {3, 5, 6, 7} Rr 1

1.3 กาหนดให้ r {(0, 0), (0,1), (1, 0), (2, 4), (4, 2), (5,1)} แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. r r 1
2. n(r r 1) 3
3. Dr 1 Dr 4. n(r r 1) 5
เฉลย 2

5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากโจทย์จะได้ r 1
{( 2, 4), (0, 0), (0,1), (1, 0), (1, 5), (4,2)} r ดังนั้น
r r 1
{(2, 4), (4, 2), (5,1)} และ r r 1
{(0, 0), (0,1), (1, 0)} จึงได้ว่า n(r r 1) 3

และ n(r r 1) 3 สุดท้ายจะได้ว่า Dr 1 { 2, 0, 1, 4} {1, 0, 2, 4, 5} Dr

6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และ โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของ


ความสัมพันธ์
จุด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 2 คื อ ต้ องการทดสอบว่ า นั ก เรี ย นสามารถหาอิน เวอร์ ส ของ
ความสัมพันธ์จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่ ตลอดจนหาโดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์ส
ของความสัมพันธ์ได้หรือไม่

2.1 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 1 2x เมื่อ x 2} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


1 x
ก. r 1
(x, y ) y เมื่อ x 2 ข. Rr 1 ( , 3)
2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
1 x x
การหา r 1 จากโจทย์จะได้ x 1 2y เมื่อ y 2 นั่นคือ y เมื่อ 1 2 ทาให้ได้ว่า
2 2
1 x 1 x
y เมื่อ x 3 ดังนั้น r 1
(x, y ) | y เมื่อ x 3 และได้ว่า
2 2
Rr 1 Dr (2, )

2.2 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 3x 2 เมื่อ x 3} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


x 2
ก. r 1
(x, y ) y เมื่อ x 7 ข. Rr ( , 3)
3
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
x 2 x 2
การหา r 1 จากโจทย์จะได้ x 3y 2 เมื่อ y 3 นั่นคือ y เมื่อ 3 ทาให้ได้
3 3
x 2 x 2
ว่า y เมื่อ x 7 ดังนั้น r 1
(x, y ) | y เมื่อ x 7
3 3
การหาเรนจ์ของ r จาก y 3x 2 เมื่อ x 3 จะได้ว่า y 3x 2 3( 3) 2 7 ดังนั้น
Rr ( , 7)

7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.3 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 5 3x เมื่อ x 1} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


5 x
ก. r 1
(x, y ) y เมื่อ x 1 ข. Dr 1 (1, )
3
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
5 x 5 x
การหา r 1 จากโจทย์จะได้ x 5 3y เมื่อ y 1 นั่นคือ y เมื่อ 1 ทาให้ได้ว่า
3 3
5 x 5 x
y เมื่อ x 2 ดังนั้น r 1
(x, y ) | y เมื่อ x 2 และได้ว่า Dr 1 [2, )
3 3

8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : กราฟของอินเวอร์สของความสัมพันธ์ และ โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของ


ความสัมพันธ์
จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 3 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถเขียนกราฟของอินเวอร์ส
ของความสัมพันธ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่ ตลอดจนทราบความสัมพันธ์
ระหว่างโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์และอินเวอร์สของความสัมพันธ์หรือไม่

3.1 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังรูป


2.0

1.5

1.0

0.5

0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. กราฟของ r 1 คือ 2. กราฟของ r 1 คือ
5

2.0

1.5

1.0

0.5

11

3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5


3 2 1 0 1 2 3

3. Dr Dr 1 4. Rr Rr 1

เฉลย 1
จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ เมื่อพับตามแนวแกน y x จะได้ว่ากราฟของ r 1 คือกราฟใน
ข้อ 1 และจากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า Dr Rr 1 (0, ) [0, ) Dr 1 Rr

9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3.2 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังรูป

3 2 1 1 2 3

ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. กราฟของ r 1 คือ 2. กราฟของ r 1 คือ
4
4

2
2

3 2 1 1 2 3
3 2 1 1 2 3

2
2

4
4

3. r r 1 4. 0 Rr 1

เฉลย 2
จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ เมื่อพับตามแนวแกน y x จะได้ว่ากราฟของ r 1 คือกราฟใน
ข้อ 2 และจากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้และกราฟในข้อ 2 จะได้ว่า r r 1 สุดท้ายจาก
กราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า 0 Dr Rr 1

3.3 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังรูป


3.0

2.5

2.0

1.5

1.0

0.5

2 1 1 2

10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. กราฟของ r 1 คือ 2. กราฟของ r 1 คือ
3.0
2 1 1 2

2.5 0.5

2.0 1.0

1.5 1.5

1.0 2.0

0.5 2.5

3.0
2 1 1 2

3. n(Dr Dr ) 1 1 4. n(Rr Rr 1 ) 0
เฉลย 3
จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ เมื่อพับตามแนวแกน y x จะได้ว่ากราฟของ r 1 คือ
3

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

และจากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า Dr ( , 0] Rr 1 และ Rr [0, ) Dr 1

ทาให้ได้ว่า Dr Dr {0} และ n(Dr Dr ) 1 ในขณะที่ Rr


1 1 Rr 1 (0, ) แน่นอนว่า
n(Rr Rr 1 ) 0

11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์


จุ ด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 4 คื อ ต้ อ งการทดสอบว่ า นั ก เรี ย นเข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
ความสัม พั นธ์และอินเวอร์ส ของความสัม พันธ์หรือไม่ ตลอดจนเข้าใจความสัมพั นธ์ระหว่างโดเมน
และเรนจ์ของความสัมพันธ์และอินเวอร์สของความสัมพันธ์หรือไม่

4.1 ให้ A เป็นเซตจากัด และ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ บนเซต A ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. n(r ) n(r 1 ) 2. r r 1 A A
3. Dr Rr Dr Rr 1 1 4. Dr Rr Dr Rr 1 1

เฉลย 2
1 เป็นจริง เนื่องจาก r 1 เป็นเซตของคู่อันดับ (a, b) เมื่อ (b, a ) r ดังนั้น n(r 1 ) n(r )
2 เป็นเท็จ ในกรณีที่ r จะได้ว่า r 1 ดังนั้น r r 1 A A
3 เป็นจริง เนื่องจาก Dr Rr และ Rr Dr ทาให้ได้ว่า Dr Rr Dr Rr
1 1 1 1

4 เป็นจริง เนื่องจาก Dr Rr และ Rr Dr ทาให้ได้ว่า Dr Rr Dr Rr


1 1 1 1

4.2 ให้ A เป็นเซตจากัด และ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ บนเซต A ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. n(r r 1 ) n(r 1 r ) 2. r r 1 A A
3. Dr Rr Rr Dr 1 1 4. n(r ) n(r 1 ) n(A A)
เฉลย 4
1 เป็นจริง เนื่องจาก n(r 1 ) n(r ) และ
n(r r 1) n(r ) n(r r 1) n(r 1 ) n(r r 1) n(r 1
r)
2 เป็นจริง เนื่องจาก r, r 1
A A ดังนั้น r r 1
A A

3 เป็นจริง เนื่องจาก Dr Rr 1 และ Rr Dr 1 ทาให้ได้ว่า Dr Rr Rr 1 Dr 1

4 เป็นเท็จ ในกรณีที่ A {1, 2, 3} และ r {(1,1), (2,2), (3, 3)} r 1


จะได้ว่า
n(r ) n(r 1 ) 6 9 n(A A)

4.3 ให้ A เป็นเซตจากัด และ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ บนเซต A ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. n(r r 1 ) 2n(r ) 2. n(r 1 r ) n(r ) n(r 1 r )
3. Dr Rr Rr Dr 1 1 4. Dr Dr Rr 1 1

เฉลย 1
1 เป็นเท็จ เนื่องจาก n(r 1 ) n(r ) และ
n(r r 1 ) n(r ) n(r 1 ) n(r r 1 ) 2n(r ) n(r r 1 ) ซึ่งโดยทั่วไปไม่เท่ากับ 2n(r )

12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2 เป็นจริง เนื่องจาก n(r 1


) n(r ) และ n(r 1
r) n(r 1 ) n(r 1
r) n(r ) n(r 1
r)
3 เป็นจริง เนื่องจาก Dr Rr 1 และ Rr Dr 1 ทาให้ได้ว่า Dr Rr Rr 1 Dr 1

4 เป็นจริงเนื่องจาก Dr Rr 1 และ Rr Dr 1 ทาให้ได้ว่า Dr Dr 1 Rr 1

13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 5 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
กราฟของความสัม พันธ์และอินเวอร์ส ของความสัมพั นธ์หรือไม่ ตลอดจนเข้าใจความสัมพั นธ์
ระหว่างโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์และอินเวอร์สของความสัมพันธ์หรือไม่

5.1 ให้ r {(x, y) | y x 2} ข้อใดต่อนี้เป็นจริง


1. r r 1 2. Dr 1 Dr
3. Rr Rr 1 4. Rr 1 Dr 1 Rr 1

เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ
4

1
r
3

r
1

0 1 2 3 4

จากกราฟจะได้ว่า r r 1
และ Dr [2, ) Rr 1 และ Rr [0, ) Dr 1 ดังนั้น
Dr 1 Dr และ Rr Rr 1 นอกจากนี้ยังได้ว่า Rr 1 Dr 1 Rr 1

5.2 ให้ r {(x, y ) | x y 3} ข้อใดต่อนี้เป็นจริง


1. n(r r 1 ) 1 2. Dr Dr 1

3. Rr Rr 1 4. Dr 1 Rr 1

เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ
5

4
r
3

1
1
r

0 1 2 3 4 5

14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากกราฟจะได้ว่า r r 1 และ Dr [0, ) และ Rr [3,


Rr 1 ) Dr 1 ดังนั้น
n(r r 1 ) 0 และ Dr Dr และ Rr
1 Rr 1 นอกจากนี้ยังได้ว่า Dr 1 Rr 1 [0, )

5.3 ให้ r {(x, y) | y 4 x } ข้อใดต่อนี้เป็นจริง


1. r r 1 2. Dr Dr 1

3. Rr Rr [0, )
1 4. Dr 1 Rr 1 [0, 4)
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ
5

1
r
4

1
r
2 1 1 2 3 4 5

จากกราฟจะได้ว่า n(r r 1
) 1 และ Dr ( , 4] Rr และ Rr 1 [0, ) Dr 1 ดังนั้น
Dr Dr 1 และ Rr Rr 1 นอกจากนี้ยังได้ว่า Dr Rr 1 1 [0, 4]

15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์และฟังก์ชัน


จุดประสงค์ข องโจทย์ ข้อ 6 คือต้องการทดสอบว่า นักเรีย นเข้าใจบทนิยามของฟังก์ชัน
หรือไม่

6.1 ให้ r {(1,2), (2,1), (3, 4), (4,5), (5,1)} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. r เป็นฟังก์ชัน ข. r 1 เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อนีถ้ ูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
ข้อ ก ถูก เนื่องจากสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับที่เป็นสมาชิกของ r ไม่ซ้ากันเลย
ข้อ ข ผิด เนื่องจาก r 1 {(1,2), (1, 5), (2,1), (4, 3), (5, 4)} มี 1 เป็นสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน
r 1
ที่ถูกใช้ซ้า

6.2 ให้ r {(3,6), (5,7), (5,9), (6,6), (7,2)} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. r เป็นฟังก์ชัน ข. r 1 เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อนีถ้ ูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
ข้อ ก ผิด เนื่องจากมี 5 เป็นสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r ที่ถูกใช้ซ้า
ข้อ ข ผิด เนื่องจาก r 1 {(2, 7), (6, 3), (6, 6), (7, 5), (9, 5)} มี 6 เป็นสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน
r 1
ที่ถูกใช้ซ้า

6.3 ให้ r {(1,2), (1, 3), (2, 4), (3,5), (3,6)} พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. r เป็นฟังก์ชัน ข. r 1 เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อนีถ้ ูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
ข้อ ก ผิด เนื่องจากมี 1, 3 เป็นสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r ที่ถูกใช้ซ้า
ข้อ ข ถูก เนื่องจาก r 1
{(2,1), (3,1), (4,2), (5, 3), (6, 3)} จะเห็นว่าสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับที่เป็น

สมาชิกของ r 1 ไม่ซ้ากันเลย

16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชัน


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 7 คือต้องการทดสอบนักเรียนเข้าใจบทนิยามของฟังก์ชันหรือไม่
ตลอดจนสามารถตรวจสอบว่ากราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันหรือไม่

7.1 พิจารณากราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน


1. 2. 2
Y 6

4
1.5

2
1

0.5 2 1 1 2

X 2
-2 -1.5 -1 -0.5 0.5 1
-0.5 4

-1
6

3. 4.
1.0

2.0

0.5

1.5

1.0 0.5 0.5 1.0


1.0

0.5

0.5

1.0

3 2 1 1 2 3

เฉลย 3
เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของความสัมพันธ์ในข้อ 1, 2 และ 4 มากกว่า
หนึ่งจุด ดังนั้นความสัมพันธ์เหล่านั้นไม่เป็นฟังก์ชัน แต่เส้นตรงทุกเส้นที่ขนานกับแกน Y ตัดกราฟของ
ความสัมพันธ์ในข้อ 3 เพียงจุดเดียว ดังนั้นความสัมพันธ์นี้จึงเป็นฟังก์ชัน

17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7.2 พิจารณากราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน

1. 2.
1.0

0.8

0.6

2 1 1 2

0.4

0.2

1.0 0.5 0.5 1.0

3. 4.
3.0 4

2.5

2.0

1.5
4 2 2 4

1.0

0.5

2 1 1 2 4

เฉลย 3
เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของความสัมพันธ์ในข้อ 1, 2 และ 4 มากกว่า
หนึ่งจุด ดังนั้นความสัมพันธ์เหล่านั้นไม่เป็นฟังก์ชัน แต่เส้นตรงทุกเส้นที่ขนานกับแกน Y ตัดกราฟของ
ความสัมพันธ์ในข้อ 3 เพียงจุดเดียว ดังนั้นความสัมพันธ์นี้จึงเป็นฟังก์ชัน

7.3 พิจารณากราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน

1. 2.
4
6

4
3

2
3 2 1 1 2 3

6
2 1 1 2

18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. 4.
10

1.0

0.5

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0


1.0 0.5 0.5 1.0

5
0.5

10
1.0

เฉลย 2
เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของความสัมพันธ์ในข้อ 1, 3 และ 4 มากกว่า
หนึ่งจุด ดังนั้นความสัมพันธ์เหล่านั้นไม่เป็นฟังก์ชัน แต่เส้นตรงทุกเส้นที่ขนานกับแกน Y ตัดกราฟของ
ความสัมพันธ์ในข้อ 2 เพียงจุดเดียว ดังนั้นความสัมพันธ์นี้จึงเป็นฟังก์ชัน

19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : ค่าของฟังก์ชัน


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 8 คือต้องการทดสอบนักเรียนสามารถระบุค่าของฟังก์ชันที่จุด
ต่างๆ บนโดเมนของฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่

8.1 กาหนดให้ f {(0, 1), (1, 3), (2, 4), (3,5), (5,2)} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. f (0) f (1) 1 2. f (3) f (5) 2
f (2)
3. f (5)f (0) 0 4. 0.8
f (3)
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า f (0) f (1) 1 3 2 1 , f (3) f (5) 5 2 3 2,
f (2) 4
f (5)f (0) (2)( 1) 2 0 และ 0.8
f (3) 5

8.2 กาหนดให้ f {(3,2), (4,6), (5,10), (7,2), (8, 0)} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. f (3) f (4) 8 2. f (5) f (7) 2
f (5)
3. f (8)f (4) 6 4. ไม่เป็นจานวนจริง
f (7)
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า f (3) f (4) 2 6 8 , f (5) f (7) 10 2 8 2,
f (3) 10
f (8)f (4) (0)(6) 0 6 และ 5 ซึ่งเป็นจานวนจริง
f (7) 2
8.3 กาหนดให้ f {( 1, 3), (0,6), (3,2), (5, 0), (7, 2)} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. f (5) f (0) 6 2. f (7) f ( 1) 2
f (3) 3
3. f (3)f (0) 0 4.
f (7) 7
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า f (5) f (0) 0 6 6 , f (7) f ( 1) 2 3 5 2,
f (3) 2 3
f (3)f (0) (2)(6) 12 0 และ 1
f (7) 2 7

20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : ค่าของฟังก์ชัน


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 9 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถระบุค่าของฟังก์ชันที่
จุดต่างๆ บนโดเมนของกราฟของฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่

9.1 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป


f
2

2 1 1

f ( 2) f ( 1) f (1)
ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ
f (0)
1. 5 2. 4 3. 3 4. ไม่มีค่า
เฉลย 3
f ( 2) f ( 1) f (1) 1 0 2
จากกราฟจะได้ว่า 3
f (0) 1

9.2 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป


5

1 1 2 3

2 f (1) 3 f (0)
ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ
3 f (2) 2 f ( 1)
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
4 4 3 3

21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลย 4
2 f (1) 3 f (0) 2( 1) 3(0) 1
จากกราฟจะได้ว่า
3 f (2) 2 f ( 1) 3(0) 2(3) 3

9.3 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีกราฟดังรูป


5

1 1 2

f (2) 2 f (0) f (1)


ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ
f ( 1)
1. 8 2. 3 3. 3 4. 8
เฉลย 4
f (2) 2 f (0) f (1) 4 2(1) 2
จากกราฟจะได้ว่า 8
f ( 1) 1
2

22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชัน


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 10 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนเข้าใจบทนิยามของฟังก์ชัน
หรือไม่ ตลอดจนสามารถตรวจสอบว่าความสัมพันธ์ที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันหรือไม่จากกราฟของ
ความสัมพันธ์นั้นๆ ได้

10.1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. r {(x, y) | y | x |} ไม่เป็นฟังก์ชัน
ข. s {(x, y ) | x y 2 1 เมื่อ y 0} เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
ข้อ ก ผิด เนื่องจากกราฟของ r คือ
2.0

1.5

1.0

0.5

2 1 1 2

0.5

ซึ่งเห็นได้ชัดว่าเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้นจะตัดกราฟของความสัมพันธ์นี้เพียงจุดเดียว ดังนั้น r


เป็นฟังก์ชัน
ข้อ ข ถูก เนื่องจากกราฟของ s คือ
2.0

1.5

1.0

0.5

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

0.5

ซึ่งเห็นได้ชัดว่าเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้นจะตัดกราฟของความสัมพันธ์นี้เพียงจุดเดียว ดังนั้น s


เป็นฟังก์ชัน

23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.2 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. r {(x, y) || y | x } เป็นฟังก์ชัน
ข. s {(x, y ) | y | x |} ไม่เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
ข้อ ก ผิด เนื่องจากกราฟของ r คือ
2

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

ซึ่งเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของความสัมพันธ์นี้มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น r ไม่


เป็นฟังก์ชัน
ข้อ ข ผิด เนื่องจากกราฟของ s คือ
2.0

1.5

1.0

0.5

3 2 1 0 1 2 3

ซึ่งเห็นได้ชัดว่าเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้นจะตัดกราฟของความสัมพันธ์นี้เพียงจุดเดียว ดังนั้น s


เป็นฟังก์ชัน

10.3 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. r {(x, y ) || y | x} ไม่เป็นฟังก์ชัน
ข. s {(x, y) || xy | 1} เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2

24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ข้อ ก ถูก เนื่องจากกราฟของ r คือ


2

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

ซึ่งเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของความสัมพันธ์นี้มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น r ไม่


เป็นฟังก์ชัน
ข้อ ข ผิด เนื่องจาก | (1)( 1) | 1 | (1)(1) | ดังนั้น (1, 1), (1,1) s ทาให้ s ไม่เป็นฟังก์ชัน

25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. แบบฝึกหัดขั้นสูง

แบบฝึกหัดขั้นสูง ใช้เพื่อวัดความรู้ความสามารถขั้นสูงของผู้เรียน ครอบคลุมตามจุดประสงค์การ


เรียนรู้ที่กาหนด ประกอบด้วยข้อคาถามแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 14 ข้อ พร้อมเฉลยที่ผู้ใช้สื่อ
สามารถเลือกดูคาอธิบายได้จากสื่อการสอน

26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ มีจุดประสงค์ให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกราฟของความสัมพันธ์และกราฟ
ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์ ซึ่งกราฟทั้งสองจะสมมาตรกันเมื่อเทียบกับเส้นตรง y x แต่ไม่ได้
หมายความว่ากราฟทั้งสองนี้จะตัดกันหรือไม่ตัดกัน หรือหากตัดกันก็ไม่จาเป็นจะต้องตัดกันบนแนว
เส้นตรง y x

27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ คือตรวจสอบว่านักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างโดเมนและเรนจ์
ของความสัมพันธ์และอินเวอร์สของความสัมพันธ์หรือไม่ กล่าวคือ Dr Rr และ Rr Dr 1 1

28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ คือตรวจสอบว่านักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างโดเมนและเรนจ์
ของความสัมพันธ์และอินเวอร์สของความสัมพันธ์หรือไม่ กล่าวคือ Dr Rr และ Rr Dr ตลอดจน 1 1

ตรวจสอบว่านักเรียนสามารถหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่

29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ นี้ คือ ต้องการตรวจสอบว่านักเรีย นเข้าใจความสัมพั นธ์ระหว่างโดเมน


และเรนจ์ของความสัมพันธ์และอินเวอร์สของความสัมพันธ์หรือไม่ กล่าวคือ Dr Rr และ Rr Dr 1 1

30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ ข้ อ นี้ มี จุ ด ประสงค์ ที่ จ ะทดสอบนั ก เรี ย นเรื่ อ งการหาอิ น เวอร์ ส ของความสั ม พั น ธ์ จ าก
ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ ตลอดจนทดสอบว่านักเรียนสามารถวาดกราฟของอินเวอร์สของความสัมพันธ์
พื้นฐานได้หรือไม่

31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุดประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ ต้องการฝึกฝนผู้เรียนในการร่างกราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน
ตลอดจนตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ และ
อินเวอร์สของความสัมพันธ์ กล่าวคือ Dr Rr และ Rr Dr1 1

32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ ต้องการทดสอบความรู้ นักเรียนในเรื่องการร่างกราฟของความสัมพันธ์ และอินเวอร์ส


ของความสั ม พั น ธ์ พื้ น ฐาน นอกจากนี้ ยั ง ตรวจสอบความเข้ าใจเกี่ ย วกั บ บทนิ ย ามของฟั ง ก์ ชัน และการ
ตรวจสอบว่าความสัม พันธ์ที่ก าหนดให้เป็นฟั งก์ชันหรือไม่โดยใช้กราฟของความสัมพันธ์นั้นๆ ในการ
ตรวจสอบ กล่า วคื อ ถ้ า มี เ ส้น ตรงที่ ข นานกั บ แกน Y ตั ดกราฟของความสัมพั นธ์ม ากกว่า หนึ่ งจุด แล้ ว
ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้นี้จะไม่เป็นฟังก์ชัน

33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุ ด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ นี้ ต้ อ งการฝึ ก ฝนผู้ เ รี ย นในการหาอิ น เวอร์ ส ของความสั ม พั น ธ์ จ าก


ความสัม พั นธ์ที่ ก าหนดให้ ตลอดจนตรวจสอบความเข้ าใจเกี่ ย วกั บ บทนิย ามของฟั งก์ ชัน กล่ าวคื อ ถ้ า
ความสัมพันธ์ r เป็นฟังก์ชันและ (x, y), (x, z ) r แล้ว y z นอกจากนี้ยังทดสอบความเข้าใจเรื่อง
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งโดเมนและเรนจ์ ข องความสั ม พั น ธ์ แ ละอิ น เวอร์ ส ของความสั ม พั น ธ์ กล่ า วคื อ
Dr Rr และ Rr Dr
1 1

34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ ผู้เรียนจะต้องคานวณหาค่าของฟังก์ชันที่จุดต่างๆ ในโดเมนของฟังก์ชันที่กาหนดให้

35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้คือ ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจบทนิยามของฟังก์ชัน กล่าวคือ ถ้า


ความสัมพันธ์ r เป็นฟังก์ชันและ (x, y), (x, z ) r แล้ว y z ตลอดจนสามารถใช้หลักการนับเบื้องต้น
มานับจานวนฟังก์ชันทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่กาหนด

36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์นี้คือ ต้องการทดสอบว่า ผู้เรียนสามารถหาค่าของฟังก์ชันที่จุดในโดเมนของ


ฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้ อย่างไรก็ดีโจทย์ข้อนี้ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับหลักการนับเบื้องต้นในการแก้ปัญหา
ด้วย

37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ นี้ คื อ ต้ อ งการให้ ผู้ เ รี ย นเข้ า ใจบทนิ ย ามของฟั ง ก์ ชั น กล่ า วคื อ ถ้ า
ความสัมพันธ์ r เป็นฟังก์ชันและ (x, y), (x, z ) r แล้ว y z

38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ มีจุดประสงค์ ให้ผู้เรียนเข้าใจบทนิยามของฟังก์ชัน กล่าวคือ ถ้าความสัมพันธ์ r เป็น


ฟังก์ชันและ (x, y), (x, z ) r แล้ว y z สาหรับในสื่อนั้นได้ทิ้งตัวเลือกที่ 3 และ 4 ไว้เป็นแบบฝึกหัด
สาหรับผู้เรียน อย่างไรก็ดี หากกาหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน สมมติว่า (x, y1 ), (x, y2 ) f g ดังนั้น
(x , y1 ), (x , y2 ) f แต่ (x , y1 ), (x , y2 ) g และเนื่ อ งจาก f เป็ น ฟั ง ก์ ชั น จึ ง ท าให้ ไ ด้ ว่ า y1 y2
นอกจากนี้ หากสมมติว่า (x, y1 ), (x, y2 ) g f ดังนั้น (x, y1 ), (x, y2 ) g แต่ (x, y1 ), (x, y2 ) f

อย่างไรก็ดีเนื่องจาก g เป็นฟังก์ชันจึงทาให้ได้ว่า y1 y2 เช่นเดียวกัน จึงทาให้ได้ว่าตัวเลือกที่ 3 และ 4


เป็นจริง

39
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ มีจุดประสงค์ให้ผู้เรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความสัมพันธ์และอินเวอร์สของ
ความสั ม พั น ธ์ ตลอดจนบทนิ ย ามของฟั ง ก์ ชั น กล่ า วคื อ ถ้ า ความสั ม พั น ธ์ r เป็ น ฟั ง ก์ ชั น และ
(x, y), (x, z ) r แล้ว y z

40
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. แบบทดสอบ

แบบทดสอบ ใช้เพื่อทดสอบความรู้ความสามารถขั้นสูงของผู้เรียน ประกอบด้วยข้อคาถามแบบ


ปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมเฉลย ครอบคลุมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนด โดย
ผู้จัดทาได้ออกแบบให้โปรแกรมสามารถสุ่มข้อคาถาม เพื่อสร้างเป็นแบบฝึกหัดที่มีความแตกต่างกัน
ได้มากถึง 310 แบบ

41
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์

1.1 ให้ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ บนเซตของจานวนจริง แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. ถ้ากราฟของ r ตัดกับเส้นตรง y x แล้ว r r 1
2. ถ้า r {(cos , sin ) | } แล้ว r r 1
3. สาหรับจานวนจริงบวก a, b ใดๆ ถ้า (a, b) r แล้ว (a 1,b 1 ) r 1 เสมอ
4. ถ้า r เป็นเซตจากัดแล้ว n(r ) n(r 1 ) n(r r 1 )
เฉลย 3
1. เป็นจริง สมมติว่ากราฟของความสัมพันธ์ r ตัดเส้นตรง y x ดังนั้นจะมี a Dr ที่ (a, a ) r ทาให้
1
(a, a ) r
2. เป็นจริง เนื่องจาก cos2 sin2 1 ดังนั้น
r {(cos , sin ) | } {(x, y ) | x 2 y2 1} r 1

3. เป็นเท็จ เช่น r {(2, 3)} จะได้ว่า r 1


{(3, 2)} และ 2 1, 3 1
r 1

4. เป็นจริง ให้ r เป็นเซตจากัดจะได้ว่า n(r ) n(r 1 ) ดังนั้น n(r ) n(r 1 ) 0 n(r r 1)

1.2 ให้ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ บนเซตของจานวนจริง แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. ถ้า r เป็นเซตอนันต์แล้ว r r 1
2. ถ้า r เป็นเซตจากัดแล้ว r r 1
3. ถ้า r เป็นเซตจากัดแล้ว n(r 1 ) n(Dr ) 1

4. ถ้า r เป็นเซตจากัดแล้ว n(r ) n(r 1 ) n(Dr ) n(Dr ) 1

เฉลย 4
1. เป็นเท็จ เช่น r {(x, x ) | x } เป็นเซตอนันต์ที่ r r 1 และ (1,2) แต่
1
(1, 2) r r
2. เป็นเท็จ เช่น r {(1,1)} เป็นเซตจากัดที่ r r 1
และ r r 1

3. เป็นเท็จ เช่น r {(1,1), ( 1,1)} จะได้ว่า r 1


{(1,1), (1, 1)} และ
n(r 1 ) 2 1 n(Dr 1 )
4. เป็นจริง ให้ r เป็นเซตจากัดจะได้ว่า n(r ) n(Dr ) และ n(r 1 ) n(Dr 1 )

42
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1.3 ให้ r เป็นความสัมพันธ์ใดๆ บนเซตของจานวนจริง แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. ถ้า (x, y ) r r 1 แล้ว x y
2. ถ้า r เป็นเซตจากัดและ r r 1 แล้ว r r 1
3. ถ้า r เป็นเซตจากัดแล้ว n(r ) n(r 1 )
4. ถ้า r เป็นเซตจากัดแล้ว n(r 1 ) n(Rr ) 1

เฉลย 2
1. เป็นเท็จ เช่น r {(1,2), (2,1)} r 1 จะได้ว่า (1, 2) r r 1 แต่ 1 2

2. เป็นจริง สมมติว่า r เป็นเซตจากัดและ r r 1 ให้ (x, y ) r 1 จะได้ว่า (y, x ) r r 1 ดังนั้น


(y, x ) r 1 และทาให้ได้ว่า (x , y ) r นั่นคือ r r 1
3. เป็นเท็จ สมมติว่า r เป็นเซตจากัด เนื่องจาก r 1 คือเซตของคู่อันดับที่เกิดจากการสลับสมาชิกตัวหน้า
และสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r ดังนั้น n(r ) n(r 1 )
4. เป็นเท็จ เช่น r {(1,1), (1, 1)} จะได้ว่า r 1 {(1,1), ( 1,1)} และ
n(r 1 ) 2 1 n(Rr 1 )

43
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์

2.1 กาหนดให้ r {(x, y) | x 2 |y | 9} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. Dr 1 Rr 1 ข. r 1
{(x, y) | y 9 | x |}

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
ก. ผิด การหา Dr 1 Rr จากโจทย์จะได้ว่า x 2 9 |y | ดังนั้น 9 |y | 0 นั่นคือ
Dr 1 Rr [ 9, 9]
การหา Rr 1 Dr จากโจทย์จะได้ว่า | y | 9 x2 ดังนั้น 9 x2 0 นั่นคือ Rr 1 Dr [ 3, 3]

ข.ถูก การหา r 1 จากโจทย์จะได้ว่า y 2 |x | 9 นั่นคือ y 9 |x | ดังนั้น


1
r {(x, y) | y 9 | x |}

|x |
2.2 กาหนดให้ r (x, y ) y 2 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
|x | 4

ก. Rr ( , 4)
1 (4, ) ข. Dr 1 ( 1,1)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
|x | |x |
ก. ถูก การหา Rr 1 Dr จากโจทย์จะได้ว่า y 2 ดังนั้น 0 เนื่องจาก | x | 0
|x | 4 |x | 4
และ | x | 4 0 ดังนั้น | x | 4 0 นั่นคือ Rr 1 Dr ( , 4) (4, )
4y 2
ข. ผิด การหา Dr 1 Rr จากโจทย์จะได้ว่า | x | y 2 4y 2 |x | นั่นคือ | x | ดังนั้น
y2 1
4y 2
2
0 เนื่องจาก 4y 2 0 และ y 2 1 0 ทาให้ได้ว่า y 2 1 0 ดังนั้น
y 1
Dr 1 Rr ( 1) (1, )

x2 4
2.3 กาหนดให้ r (x , y ) 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
2 |y |

ก. Dr Rr 1 1 ข. Dr 1 Rr 1

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
44
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
x2 4 |y | 4 |y | 4
การหา Dr 1 Rr จากโจทย์จะได้ว่า 1 นั่นคือ 0 และ y 0
2 |y | |y | |y |
เนื่องจาก | y | 0 ดังนั้น | y | 4 0 และ y 0 ทาให้ได้ว่า Dr 1 Rr ( , 4] [4, )
4 x2 2 x2 4
การหา Rr 1 Dr จากโจทย์จะได้ว่า 1 เนื่องจาก 0 ดังนั้น
|y | 2 2 |y |
2 x2 0 นั่นคือ Rr 1 Dr ( 2, 2)

ก. ถูก เนื่องจาก Dr 1 Rr 1

ข. ผิด เนื่องจาก Dr 1 Rr 1 ( , 4] ( 2, 2) [4, )

45
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และ โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของ


ความสัมพันธ์

1
3.1 กาหนดให้ r {(x, y ) | y x2 3|x | 2} และ s (x, y) | y | 1 ข้อใดต่อไปนี้ไม่
x
เป็นสับเซตของ Dr Rs 1

1. ( , 3) 2. [ 1,2]
3. [2, 3] 4. (3, )
เฉลย 2
การหา Dr จากโจทย์จะได้ y x2 3|x | 2 ดังนั้น
(| x | 2)(| x | 1) | x |2 3|x | 2 x2 3|x | 2 0

ทาให้ได้ว่า | x | 1 หรือ | x | 2 ดังนั้น Dr ( 2] [ 1,1] [2, )


1 1 x x
การหา Rs 1 Ds จากโจทย์จะได้ | y | 1 ดังนั้น 1 0 ทาให้ได้ว่า
x x x
Rs 1 Ds (0,1]
ดังนั้น Dr Rs 1 ( , 2] [ 1, 0] [2, )

3.2 กาหนดให้ r {(x, y) | y |x | 2} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. r 1
{(x, y) || y | x2 2} ข. Dr 1 Rr 1

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
ก. ผิด การหา r 1 จากโจทย์จะได้ว่า x |y | 2 และ x 0 นั่นคือ x 2 |y | 2 และ x 0

หรือ |y | x2 2 และ x 0 ทาให้ r 1


{(x, y) || y | x2 2 และ x 0}

ข. ผิด การหา Dr 1 Rr จากโจทย์จะได้ว่า y |x | 2 ดังนั้น y 2 |x | 2 และ y 0 ทาให้


ได้ว่า | x | y2 2 และ y 0 เนื่องจาก y 2 2 0 จึงได้ว่า Dr 1 Rr [0, )

การหา Rr 1 Dr จากโจทย์จะได้ y |x | 2 ดังนั้น | x | 2 0 ทาให้ได้ว่า


Rr 1 Dr ( , 2] [2, )
จึงสรุปได้ว่า Dr 1 Rr 1

46
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4 x2 x 2 (x 3)
3.3 กาหนดให้ r (x , y ) y และ s (x , y ) y 2 ข้อใดต่อไปนี้เป็นสับเซต
2 |x | x 1

ของ Dr Rs 1

1. ( , 1) 2. [ 1, 2)
3. (0,1) 4. (2, 4)
เฉลย 3
4 x2 (2 | x |)(2 | x |) 4 x2
การหา Dr จากโจทย์จะได้ y ดังนั้น 0 และ
2 |x | 2 |x | 2 |x |

x 2 และ x 2 เนื่องจาก 2 |x | 0 จึงได้ว่า Dr ( 2) ( 2,2) (2, )


x 2 (x 3) x 2 (x 3)
การหา Rs 1 Ds จากโจทย์จะได้ y 2 ดังนั้น 0 ทาให้ได้ว่า
x 1 x 1
Rs 1 Ds ( , 1) {0} [3, )
ดังนั้น Dr Rs 1 [ 1, 0) (0,2) (2, 3)

47
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และ กราฟของอินเวอร์สของความสัมพันธ์

4.1 กาหนดให้ r {(x, y ) | x y2 1 เมื่อ x ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


2}
1. r 1 {(x, y ) | y x 2 1 เมื่อ (x 1 หรือ x 1)}
2. กราฟของ r 1 คือ
5

2 1 0 1 2

3. r 1
{(x , y ) | y x 2
1 เมื่อ x 2}
4. กราฟของ r 1 คือ
5

2 1 0 1 2

เฉลย 1
การหา r 1 จากโจทย์จะได้ว่า r 1
{(x , y ) | y เมื่อ y 2} ดังนั้นเงื่อนไขจะกลายเป็น
x2 1
x 2 1 y 2 นั่นคือ x 1 หรือ x 1 ทาให้ได้ว่า ข้อ 1 จริง และ ข้อ 3 เท็จ นอกจากนี้ยังได้ว่า
กราฟของ r 1 คือ
5

2 1 0 1 2

ทาให้ข้อ 2 และ ข้อ 4 เป็นเท็จ

48
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4.2 กาหนดให้ r {(x, y ) | y x 2} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. r 1 {(x, y ) | y x 2 เมื่อ y 0}
ข. กราฟของ r 1 คือ
2

1 2 3 4

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
ก. ผิด การหา r 1 จากโจทย์จะได้ว่า x y 2 เมื่อ x 0 และ y 2 ดังนั้น y x 2 เมื่อ
x 0 ดังนั้น r 1 {(x , y ) | y x 2 เมื่อ x 0}
ข. ถูก จากข้อ ก ทาให้ได้ว่ากราฟของ r 1 คือ

1 2 3 4

49
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4.3 กาหนดให้ r {(x, y) | y x 3} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. r 1 {(x, y ) | y (3 x )2 เมื่อ x 3}
2. r 1 {(x, y ) | y (3 x )2 เมื่อ x 0}
3. กราฟของ r 1 คือ
7

4 2 2 4 6 8 10

4. กราฟของ r 1 คือ
2 2 4

10

15

20

25

30

35

เฉลย 1
การหา r 1 จากโจทย์จะได้ว่า r 1 {(x, y ) | x y 3} {(x , y ) | y 3 x} ดังนั้นหากเพิ่ม
เงื่อนไข 3 x 0 จะได้ว่า r 1 {(x, y ) | y (3 x )2 เมื่อ x 3} ทาให้ได้ว่า ข้อ 1 จริง และ
ข้อ 2 เท็จ นอกจากนี้ยังได้ว่ากราฟของ r 1 คือ
15

10

1 1 2 3

ทาให้ข้อ 3 และ ข้อ 4 เป็นเท็จ

50
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และ ฟังก์ชัน

5.1 กาหนดให้ r {(x, y) || y | x 2} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. r r 1 เป็นฟังก์ชัน 2. r r 1
ไม่เป็นฟังก์ชัน
3. r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน 4. r 1
r ไม่เป็นฟังก์ชัน
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ
4
r

1
r
2 1 1 2

1. เป็นเท็จ เนื่องจาก r r 1
{( 1, 1), ( 1,1), (0, 0), (1, 1), (1,1)} ไม่เป็นฟังก์ชัน
2. เป็นจริง เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น
r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน
3. เป็นจริง เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y และไม่ผ่านจุด
( 1, 1), ( 1,1), (0, 0), (1, 1), (1,1) ที่ตัดกราฟของ r มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น r r 1 ไม่เป็น
ฟังก์ชัน
4. เป็นจริง เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y และไม่ผ่านจุด
( 1, 1), ( 1,1), (0, 0), (1, 1), (1,1) ที่ตัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น r 1
r ไม่เป็น
ฟังก์ชัน

5.2 กาหนดให้ r {(x, y) | y || x | 2 |} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. r r 1 เป็นฟังก์ชัน 2. r r 1
เป็นฟังก์ชัน
3. r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน 4. r 1
r เป็นฟังก์ชัน
เฉลย 2

51
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ


6

r
4

4 2 2 4

1
6
r

1. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น


r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน
2. เป็นจริง เนื่องจากกราฟของ r r 1 คือ
2.0

1.5

1.0

0.5

0.5 1.0 1.5 2.0

ซึ่งเส้นตรงทุกเส้นที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของ r r 1
เพียงหนึ่งจุดเท่านั้น
3. เป็นเท็จ เนื่องจากกราฟของ r r 1 คือ
3.0

2.5

2.0

1.5

1.0

0.5

4 2 2 4

ซึ่งเส้นตรงทุกเส้นที่ขนานกับแกน Y ตัดกราฟของ r r เพียงหนึ่งจุดเท่านั้น 1

4. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรง x a เมื่อ a 2 ทีต่ ัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น


r 1 r ไม่เป็นฟังก์ชัน

5.3 กาหนดให้ r {(x, y) | y x 2} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน 2. r r 1
ไม่เป็นฟังก์ชัน
3. r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน 4. r 1
r เป็นฟังก์ชัน
เฉลย 2

52
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ


4

r
3

1
r
1

2 1 1 2

1. เป็นจริง เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น


r r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน
2. เป็นเท็จ เนื่องจาก r r 1 {(0, 0), (1,1)} เป็นฟังก์ชัน
3. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่าเส้นตรงทุกเส้นที่ขนานกับแกน Y และไม่ผ่านจุด (0, 0), (1,1) ตัดกราฟ
ของ r เพียงหนึ่งจุดเท่านั้น ดังนั้น r r 1 เป็นฟังก์ชัน
4. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y และไม่ผ่านจุด (0, 0), (1,1) ที่ตัดกราฟของ
r 1
มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น r 1
r ไม่เป็นฟังก์ชัน

53
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์

6.1 กาหนดให้ r {(x, y) | y |x | 1} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. r 1 เป็นฟังก์ชัน 2. r r 1

3. Dr 1 Rr 1 4. (0,1) Dr 1 Rr 1

เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ
1
4
r

r
2

r
3 2 1 1 2 3

1
4
r
1. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น
r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน
2. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดจากกราฟว่า r r 1
3. เป็นเท็จ จากกราฟจะได้ว่า Dr [0, ) และ Rr 1 ( , 1] [1, ) 1

4. เป็นจริง เนื่องจาก (0,1) [0,1) Dr Rr 1 1

3 |x | 3 x
6.2 กาหนดให้ r (x, y ) 1 และ s (x, y ) y ข้อใดต่อไปนี้เป็นสับเซตของ
|y | 2 x 2
Dr 1 Rs 1

1. (0,1) 2. ( 2, 2) 3. (1, 3) 4. ( , 3)
เฉลย 1
|x | 3 3 |y | 3 |y |
การหา Dr 1 Rr จากโจทย์จะได้ว่า 1 ทาให้ได้ว่า 0 และ
2 |y | |y | |y |
y 0 เนื่องจาก | y | 0 ดังนั้น 3 |y | 0 และ y 0 นั่นคือ Dr 1 Rr [ 3, 0) (0, 3]

3 x 3 x
การหา Rs 1 Ds จากโจทย์จะได้ว่า y ทาให้ได้ว่า 0 นั่นคือ
x 2 x 2
Rs 1 Ds (2, 3]
ดังนั้น Dr 1 Rs 1 [ 3, 0) (0,2]

54
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6.3 กาหนดให้ r {(x, y) | x 1 | y |} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. r 1 เป็นฟังก์ชัน 2. r r 1

3. Dr 1 Rr 1 4. Rr 1 Dr 1

เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่ากราฟของ r และ r 1 คือ

4 r 1.5
1
r
2

1.0

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

0.5
2

2 1 1 2

1. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ที่ตัดกราฟของ r 1 มากกว่าหนึ่งจุด ดังนั้น


r 1 ไม่เป็นฟังก์ชัน
2. เป็นเท็จ เนื่องจากเห็นได้ชัดจากกราฟว่า {(0,1), (1, 0)} r r 1
3. เป็นเท็จ จากกราฟจะได้ว่า Dr 1 และ Rr 1 [0, )
4. เป็นจริง เนื่องจาก Rr [0, 1 ) Dr 1

55
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : จานวนฟังก์ชัน

7.1 กาหนดให้ A {1, 2, 3, 4, 5} และ f A A โดยที่ f เป็นฟังก์ชัน ถ้า f {(1, a), (b,2), (3, c)}
แล้วข้อใดต่อไปนี้เท่ากับจานวนฟังก์ชัน f ดังกล่าวที่เป็นไปได้ทั้งหมด
1. 25 2. 75 3. 125 4. 150
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า a, c A โดยไม่มีเงื่อนไขใด ดังนั้นเลือกมาสร้างเป็นสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน f

ได้ 5 5 วิธี แต่ b {2, 4, 5} ทาให้จานวนฟังก์ชัน f ดังกล่าวที่เป็นไปได้ทั้งหมดมีอยู่


5 5 3 75 ฟังก์ชัน

7.2 กาหนดให้ A { 2, 1, 0, 1, 2} และ f A A โดยที่ f เป็นฟังก์ชัน ถ้า


f {(a,b), (2, c), (d, 2)} แล้วข้อใดต่อไปนี้เท่ากับจานวนฟังก์ชัน f ดังกล่าวที่เป็นไปได้ทั้งหมด
1. 25 2. 150 3. 300 4. 400
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า b, c A โดยไม่มีเงื่อนไขใด ดังนั้นเลือกมาสร้างเป็นสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน f

ได้ 5 5 วิธี แต่ a, d { 2, 1, 0, 1} และ a d ทาให้จานวนฟังก์ชัน f ดังกล่าวที่เป็นไปได้


ทั้งหมดมีอยู่ 5 5 4 3 300 ฟังก์ชัน

7.3 กาหนดให้ A {1, 2, 3, 4, 5} และ f A A โดยที่ f เป็นฟังก์ชัน ถ้า f {(a,1), (b,2), (1, c)}
แล้วข้อใดต่อไปนี้เท่ากับจานวนฟังก์ชัน f ดังกล่าวที่เป็นไปได้ทั้งหมด
1. 24 2. 60 3. 64 4. 125
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า c A โดยไม่มีเงื่อนไขใด ดังนั้นเลือกมาสร้างเป็นสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน f ได้
5 วิธี แต่ a, b {2, 3, 4, 5} และ a b ทาให้จานวนฟังก์ชัน f ดังกล่าวที่เป็นไปได้ทั้งหมดมีอยู่

5 4 3 60 ฟังก์ชัน

56
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชัน

8.1 สาหรับจานวนจริง k ให้ r {(x, y ) | x 2 kx y2 ky} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ถ้า k 1 แล้ว r เป็นฟังก์ชัน ข. ถ้า k 1 แล้ว r เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
ก. ผิด ให้ k 1 จากโจทย์จะได้ว่า x 2 x y2 y นั่นคือ
2 2
1 1 1 1
x x2 x y2 y y
2 4 4 2
จะเห็นว่าในกรณีนี้ (0, 0), (0,1) r ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน
ข. ผิด ให้ k 1 จากโจทย์จะได้ว่า x 2 x y2 y นั่นคือ
2 2
1 2 1 2 1 1
x x x y y y
2 4 4 2
จะเห็นว่าในกรณีนี้ (0, 0), (0, 1) r ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน

8.2 สาหรับจานวนจริง k ให้ r {(x, y) | x 2 k |x | y2 k | y |} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ถ้า k 2 แล้ว r เป็นฟังก์ชัน ข. ถ้า k 2 แล้ว r ไม่เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
ก. ผิด ให้ k 2 จากโจทย์จะได้ว่า | x |2 2 | x | x 2 2 | x | y 2 2 | y | | y |2 2 | y |
นั่นคือ (| x | 1)2 | x |2 2|x | 1 | y |2 2|y | 1 (| y | 1)2

จะเห็นว่าในกรณีนี้ (0, 0), (0,2) r ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน


ข. ถูก ให้ k 2 จากโจทย์จะได้ว่า | x |2 2|x | x2 2|x | y2 2|y | | y |2 2|y |

นั่นคือ (| x | 1)2 | x |2 2|x | 1 | y |2 2|y | 1 (| y | 1)2

จะเห็นว่าในกรณีนี้ (1,1), (1, 1) r ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน

57
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1 k 1 k
8.3 สาหรับจานวนจริง k ให้ r (x, y) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
x2 x y2 y
ก. ถ้า k 1 แล้ว r เป็นฟังก์ชัน ข. ถ้า k 1 แล้ว r ไม่เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
ก. ผิด ให้ k 1 จากโจทย์จะได้ว่า x 2 x 1
y 2
y 1
นั่นคือ
2 2
1 1 2 1 1 2 1 1 1 1
x x x y y y
2 4 4 2
2 2 2
จะเห็นว่าในกรณีนี้ , , , 2 r ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน
3 3 3
ข. ถูก ให้ k 1 จากโจทย์จะได้ว่า x 2
x 1
y 2
y 1
นั่นคือ
2 2
1 1 2 1 1 2 1 1 1 1
x x x y y y
2 4 4 2
2
จะเห็นว่าในกรณีนี้ (2,2), 2, r ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน
3

58
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : ค่าของฟังก์ชัน

9.1 กาหนดให้ f (x ) 1 x 2 ให้ A {a | f( a) } ข้อใดต่อนี้เป็นจริง


1. A เป็นเซตอนันต์ 2. A เป็นเซตจากัด
3. A เป็นเซตว่าง 4. A A
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า f ( a ) 1 ( a )2 1 a จะได้ว่า f( a) เมื่อ a 0 และ
1 a 0 ทาให้ได้ว่า A [0,1] ซึ่ง A {0, 1}

9.2 กาหนดให้ f (x ) x 2 2x 1 และ a เป็นจานวนจริงใดๆ ข้อใดต่อนี้เป็นจริง


1. f (a 1) f (a ) 1 2. f (a 1) (a 2)2
3. f (| a | 1) (a 2)2 4. f (a 1) (f (a ))2 2 f (a ) 1

เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า f (x ) x 2 2x 1 (x 1)2
1. เป็นเท็จ เนื่องจากถ้า a 0 จะได้ f (a 1) f (1) 4 2 f (0) 1 f (a ) 1
2. เป็นจริง ให้ a เป็นจานวนจริงใดๆ จะได้ว่า f (a 1) ((a 1) 1)2 (a 2)2
3. เป็นเท็จ เนื่องจากถ้า a 1 จะได้ f (| a | 1) f (2) 9 1 ( 1 2)2 (a 2)2

4. เป็นเท็จ เนื่องจากถ้า a 1 จะได้


f (a 1) f (2) 9 25 42 2(4) 1 (f (1))2 2f (1) 1 (f (a))2 2f (a) 1

9.3 กาหนดให้ f (x ) x2 และ a เป็นจานวนจริงใดๆ ข้อใดต่อนี้เป็นจริง


1. f (a | a |) 4 f (a) 2. f (a | a |) 2(f (a) a | a |)
3. f (a | a |) 0 4. f (a | a |) f (a | a |)
เฉลย 2
1. เป็นเท็จ เนื่องจากถ้า a 1 จะได้ f (a | a |) f (0) 0 4 4 f ( 1)
2. เป็นจริง ให้ a เป็นจานวนจริงใดๆ จะได้ว่า
f (a | a |) (a | a |)2 a2 2a | a | | a |2 a2 2a | a | a 2 2(a 2 a | a |)
2(f (a ) a | a |)
3. เป็นเท็จ เนื่องจากถ้า a 1 จะได้ f (a | a |) f ( 2) 4 0
4. เป็นเท็จ เนื่องจากถ้า a 1 จะได้ f (a | a |) f (0) 0 4 f ( 2) f (a | a |)

59
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : ค่าของฟังก์ชัน

10.1 กาหนดให้ A { 5, 4, 3, 2, 1, 0, 1, 2, 3, 4, 5} และ f (x ) x2 ax b เมื่อ


a, b A ถ้า f (1) 0 แล้วจานวนคู่อันดับ (a, b) ที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับข้อใดต่อนี้
1. 1 2. 5 3. 10 4. 12
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า 0 f (1) 1 a b ดังนั้น
(a,b) {( 5, 4), ( 4, 3), ( 3,2), ( 2,1), ( 1, 0), (0, 1), (1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5)}
ทาให้จานวนคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมดที่ต้องการ คือ 10 คู่

10.2 กาหนดให้ A { 5, 4, 3, 2, 1, 0, 1, 2, 3, 4, 5} และ f (x ) x2 ax b เมื่อ


a, b A ถ้า f (x ) 0 ทุก x แล้วจานวนคู่อันดับ (a, b) ที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับข้อใดต่อนี้
1. 14 2. 15 3. 31 4. 36
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า f (x ) 0 ทุก x ก็ต่อเมื่อ a 2 4b 0
กรณี a 5 จะไม่มี b A ทีท ่ าให้ a 2 4b 0
กรณี a 4 จะได้ว่า b 5 ทาให้ a 2 4b 0 ดังนั้นในกรณีนี้สร้างคู่อันดับ (a, b ) ได้ 2 แบบ
กรณี a 3 จะได้ว่า b {3, 4, 5} ทาให้ a 2 4b 0 ดังนั้นในกรณีนี้สร้างคู่อันดับ (a, b ) ได้ 6

แบบ
กรณี a 2 จะได้ว่า b {2, 3, 4, 5} ทาให้ a 2 4b 0 ดังนั้นในกรณีนี้สร้างคู่อันดับ (a, b) ได้ 8
แบบ
กรณี a 1 จะได้ว่า b {1, 2, 3, 4, 5} ทาให้ a 2 4b 0 ดังนั้นในกรณีนี้สร้างคู่อันดับ (a, b) ได้
10 แบบ
กรณี a 0 จะได้ว่า b {1, 2, 3, 4, 5} ทาให้ a 2 4b 0 ดังนั้นในกรณีนี้สร้างคู่อันดับ (a, b) ได้ 5
แบบ
ดังนั้นจานวนคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมดที่ต้องการ คือ 2 6 8 10 5 31 คู่

x a
10.3 กาหนดให้ A { 5, 4, 3, 2, 1, 0, 1, 2, 3, 4, 5} และ f (x ) เมื่อ
x2 b
a, b A ถ้า f (2) 1 แล้วจานวนคู่อันดับ (a, b) ที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับข้อใดต่อนี้
1. 8 2. 11 3. 22 4. 121

60
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลย 1
2 a
จากโจทย์จะได้ว่า 1 f (2) ดังนั้น a b 2 โดยที่ a 2 และ b 4 ทาให้ได้ว่า
4 b
(a,b) {( 5, 3), ( 4, 2), ( 3, 1), ( 2, 0), ( 1,1), (0,2), (1, 3), (3,5)}
นั่นคือจานวนคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมดที่ต้องการ เท่ากับ 8 คู่

61
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
ประจําปงบประมาณ 2555

ผ-1
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
(ประจําปงบประมาณ 2555)

เรื่อง ตอน
คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ บทนําเรื่องคณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
ทฤษฎีจํานวน แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
จํานวนจริง แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 6)
เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย บทนําเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จุดและสวนของเสนตรง
ความชันและเสนตรง
ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
วงกลม
พาราโบลา
วงรี
ไฮเพอรโบลา
การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย
ความสัมพันธและฟงกชัน แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5)
เมทริกซ บทนําเรื่องเมทริกซ
ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซขนาด 2x2
ดีเทอรมิแนนต
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน

ผ-2
เรื่อง ตอน
เวกเตอร บทนําเรื่องเวกเตอร
เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร
จํานวนเชิงซอน บทนําเรื่องจํานวนเชิงซอน
จํานวนเชิงซอน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน
พิกัดเชิงขั้ว
รากของจํานวนเชิงซอน
ตรีโกณมิติ แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน ภาษีและเครดิต
ดอกเบี้ยและคางวด
ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน
ลําดับและอนุกรม แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5)
แคลคูลสั บทนําเรื่องแคลคูลัส
ลิมิต
ความตอเนื่อง
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ
อนุพันธ
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด
ปริพันธ 1
ปริพันธ 2
หลักคณิตศาสตร หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

ผ-3
เรื่อง ตอน
สถิติ แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 4)

ผ-4
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน
ปงบประมาณ 2554-2555

ผ-5
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน

คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง
บทนํา คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ แบบฝกหัด ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต
บทนํา เซต การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เนื้อหา ความหมายของเซต บทนํา การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เนื้อหา การใหเหตุผล
เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและ ประพจนและการสมมูล
แผนภาพเวนน-ออยเลอร สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
แบบฝกหัด เซต (ตอนที่ 1) ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
เซต (ตอนที่ 2) แบบฝกหัด การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
สื่อปฏิสัมพันธ แผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
จํานวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ หอคอยฮานอย
บทนํา จํานวนจริง ตารางคาความจริง
เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง
การแยกตัวประกอบ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
ทฤษฎีบทตัวประกอบ บทนํา ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
สมการพหุนาม เนื้อหา การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
อสมการ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
เทคนิคการแกอสมการ แบบฝกหัด ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
คาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
การแกอสมการคาสัมบูรณ
กราฟคาสัมบูรณ เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
แบบฝกหัด จํานวนจริง (ตอนที่ 1) บทนํา เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จํานวนจริง (ตอนที่ 2) เนื้อห จุดและสวนของเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 3) ความขันและเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 4) ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 5) วงกลม
จํานวนจริง (ตอนที่ 6) พาราโบลา
สื่อปฏิสัมพันธ ชวงบนเสนจํานวน วงรี
สมการและอสมการพหุนาม ไฮเพอรโบลา
กราฟคาสัมบูรณ การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย

ผ-6
ความสัมพันธและฟงกชัน ฟงกชันเลขชี้กาํ ลังและฟงกชันลอการิทึม
บทนํา ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา ฟงกชันเลขชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
เนื้อหา ความสัมพันธ เนื้อหา เลขยกกําลัง
โดเมนและเรนจ ฟงกชันเลขชี้กําลัง
อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของ ฟงกชันลอการิทึม
ฟงกชัน อสมการเลขชี้กาํ ลัง
ฟงกชันเบื้องตน อสมการลอการิทึม
พีชคณิตของฟงกชัน
อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ตรีโกณมิติ
ฟงกชันประกอบ บทนํา ตรีโกณมิติ
แบบฝกหัด ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1) เนื้อหา อัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2) เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3) และวงกลมหนึ่งหนวย
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4) ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5) ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
เมทริกซ กฎของไซนและโคไซน
บทนํา เมทริกซ กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซ แบบฝกหัด ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
ขนาด 2×2 ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
ดีเทอรมิแนนต ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
เวกเตอร สื่อปฏิสัมพันธ มุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
บทนํา เวกเตอร กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต กฎของไซนและกฎของโคไซน
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร กําหนดการเชิงเสน
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร บทนํา กําหนดการเชิงเสน
เนื้อหา การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
จํานวนเชิงซอน การหาคาสุดขีด
บทนํา จํานวนเชิงซอน
เนื้อหา จํานวนเชิงซอน คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน สารคดี ภาษีและเครดิต
พิกัดเชิงขั้ว ดอกเบี้ยและคางวด
รากของจํานวนเชิงซอน ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน

ผ-7
ลําดับและอนุกรม สถิติและการวิเคราะหขอมูล
บทนํา ลําดับและอนุกรม บทนํา สถิติและการวิเคราะหขอมูล
เนื้อหา ลําดับ เนื้อหา บทนํา เนื้อหา
การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
ลิมิตของลําดับ แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
ผลบวกยอย แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
อนุกรม การกระจายของขอมูล
ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม การกระจายสัมบูรณ 1
แบบฝกหัด ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1) การกระจายสัมบูรณ 2
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2) การกระจายสัมบูรณ 3
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3) การกระจายสัมพัทธ
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4) คะแนนมาตรฐาน
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5) ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
บทนํา แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
เนื้อหา ลิมิต แบบฝกหัด สถิติ (ตอนที่ 1)
ความตอเนื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 3)
อนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 4)
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด แบบจําลองทางคณิตศาสตร
ปริพันธ 1 สารคดี แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ปริพันธ 2 ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

การนับและความนาจะเปน โครงงานทางคณิตศาสตร
บทนํา การนับและความนาจะเปน วิจัย การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
เนื้อหา การนับเบื้องตน ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
การเรียงสับเปลี่ยน การถอดรากที่สาม
การจัดหมู เสนตรงลอมเสนโคง
ทฤษฎีบททวีนาม กระเบื้องที่ยืดหดได
การทดลองสุม
ความนาจะเปน 1
ความนาจะเปน 2

หลักคณิตศาสตร
เนื้อหา หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร

ผ-8

You might also like