You are on page 1of 49

ระบบจำนวนจริง

แผนผังแสดงความสั มพันธ์ ของจำนวนชนิดต่ างๆ


จำนวนเชิงซ้ อน(C)

จำนวนจริง(R) จำนวนจินตภาพ ( R')

จำนวนอตรรกยะ(Q') จำนวนตรรกยะ(Q)

เศษส่ วน, ทศนิยม จำนวนเต็ม(I)

จำนวนเต็มลบ (I-) ศูนย์ (I0) จำนวนเต็มบวก (I+)


1. จำนวนจริง
จากแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนข้างต้น จะพบว่าระบบ
จำนวนจริ งจะประกอบไปด้วย
1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่
ในรู ปเศษส่ วนของจำนวนเต็ม หรื อทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น
2, 5,  2,  5 หรื อ  ซึ่ งมีค่า 3.14159265…

2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ป


เศษส่ วนของจำนวนเต็ม หรื อ ทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น
1
2 เขียนแทนด้วย
0.5000...

1
เขียนแทนด้วย 0.3333...  0.3
3
 จำนวนตรรกยะ
, จำนวนตรรกยะ ยังสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
คือ
1. จำนวนตรรกยะทีไ่ ม่ ใช่ จำนวนเต็ม(เศษส่ วน) หมายถึง
จำนวนที่สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่1วน1 หรื1อทศนิยมซ้ำได้
แต่ไม่เป็ นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 2 , 3 , 7
2. จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่เป็ นสมาชิกของเซต
I  ...,  3,  2,  1, 0, 1, 2, 3, ... เมื่อกำหนดให้ I เป็ น
สมาชิกของจำนวนเต็ม
 จำนวนเต็ม
จำนวนเต็มยังสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทด้วยกัน
1. จำนวนเต็มลบ หมายถึง จำนวนที่เป็ นสมาชิกของเซต

I
โดยที่ I 
  ...,  3,  2,  1 เมื่อ I 
เป็ นเซตของจำนวนเต็มลบ
2. ศูนย์ เมื่อ I 0
 0

3. จำนวนเต็มบวก หมายถึง จำนวนที่เป็ นสมาชิกของเซต I
โดยที่ I 
  1, 2, 3, ... เมื่อ เป็ นเซตของจำนวนเต็มบวก
I 

จำนวนเต็มบวก เรี ยกได้อีกอย่างว่า “จำนวนนับ” ซึ่ งเขียนแทน


N
เซตของจำนวนนับได้ดว้ ยสัญลักษณ์ โดยที่
N  I  
1, 2, 3, ...
 จำนวนเชิงซ้ อน
นอกจากระบบจำนวนจริ งที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีจ ำนวนอีก

ประเภทหนึ่งที่ได้จากการแก้สมการต่อไปนี้
x2   1  x  1  i

x2   2  x  2  2i

x2   3  x  3  3i
จะเห็นว่า “เราไม่สามารถจะหาจำนวนจริ งใดที่ยกกำลัง
สอง
แล้วมีค่าเป็ นลบ” เราเรี ยก หรื อจำนว
นอื่นๆ ใน 1, 2, 3

ลักษณะนี้วา่ “จำนวนจินตภาพ” และเรี ยก 1 ว่า “หนึ่ง


หน่ วย i
จินตภาพ” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
การนำเซตจำนวนจริ งมายูเนียนกับเซตจำนวนจินตภาพ จะ
ได้
“เซตจำนวนเชิงซ้ อน (Complex numbers)”
สิ่ งทีเ่ ป็ นจริงของจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ

1. จำนวนตรรกยะ + จำนวนตรรกยะ = จำนวนตรรกยะ


เช่น 2  3  5 เป็ นจำนวนตรรกยะ

2. จำนวนอตรรกยะ + จำนวนอตรรกยะ = จำนวนตรรกยะหรืออตรรกยะ


3   3   0
เช่น เป็ นจำนวนตรรกยะ
3  5
เป็ นจำนวนตรรกยะ
3. จำนวนตรรกยะ + จำนวนอตรรกยะ = จำนวนอตรรกยะ
เช่น 3  2 เป็ นจำนวนอตรรกยะ
4. จำนวนตรรกยะ × จำนวนตรรกยะ = จำนวนตรรกยะ
เช่น 3  5  15 เป็ นจำนวนตรรกยะ

5. จำนวนตรรกยะ × จำนวนอตรรกยะ = จำนวนตรรกยะหรืออตรรกยะ


เช่น 1  3  3 เป็ นจำนวนตรรกยะ
0  5  0 เป็ นจำนวนตรรกยะ

6. จำนวนอตรรกยะ × จำนวนอตรรกยะ = จำนวนตรรกยะหรืออตรรกยะ


เช่น 3  3  3 เป็ นจำนวนตรรกยะ
3  2  6 เป็ นจำนวนตรรกยะ
2. สมบัตขิ องระบบจำนวนจริง
ให้ G เป็ นเซต และ a, b, c เป็ นสมาชิกใน ดังรู ป
และให้ เป็ นการกระทำ ซึ่งจะเป็ นการบวก หรื อคูณ
หรื ออย่างอื่นๆ แล้วแต่โจทย์ก ำหนดให้
1. สมบัตปิ ิ ด หมายถึง ถ้านำสมาชิกสองตัวใดๆ ในเซต G มากระทำกัน
ตามเครื่ องหมาย แล้วปรากฏว่าผลที่ได้ยงั คงเป็ นสมาชิกใน G แสดงว่าเซต G มี
สมบัติปิด ภายใต้การกระทำแบบ
นัน่ คือ  a  b   G
เช่ น - เซตของจำนวนนับ เซตของจำนวนคู่ เซตของจำนวนเต็ม เซตของ
จำนวนตรรกยะ และเซตของจำนวนจริ ง มีสมบัติปิดภายใต้การบวกและการคูณ
- เซตของจำนวนคี่ ไม่มีสมบัติปิดภายใต้การบวก
- เซตของจำนวนเต็มลบ ไม่มีสมบัติปิดภายใต้การคูณ
- เซตของจำนวนอตรรกยะ ไม่มีสมบัติปิดภายใต้การบวกและการคูณ
2. สมบัตกิ ารสลับที่ หมายถึง ถ้านำสมาชิก 2 ตัว มากระทำกันแบบ แล้ว
ปรากฏว่า ผลที่ได้จะมีค่าเหมือนกับเอาสมาชิก 2 ตัวเดิมมากระทำกันแบบ แต่
เปลี่ยนที่กนั
นัน่ คือ a  b  b  a
ถ้ามีลกั ษณะแบบนี้แล้ว แสดงว่า เซต G มีสมบัติการสลับที่ภายใต้การกระ
ทำแบบ

3. สมบัตกิ ารเปลีย่ นกลุ่ม หมายถึง ถ้ามีสมาชิกหลายๆ จำนวนกระทำกัน เรา


จะกระทำกับกลุ่มใดก่อนผลก็ยงั คงเดิม
นัน่ คือ  a  b   c  a  b  c 
ถ้ามีลกั ษณะแบบนี้แล้ว แสดงว่า เซต G มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ภายใต้
การกระทำแบบ
4. สมบัตกิ ารมีเอกลักษณ์ หมายถึง ในเซต G จะมีสมาชิกพิเศษอยู่ 1 ตัว
ซึ่งสมาชิกตัวนี้เมื่อไปกระทำกับสมาชิกตัวอื่นใดแล้ว ผลที่ได้ตอ้ งเป็ นสมาชิกตัวนั้น
เสมอ และเราเรี ยนสมาชิกพิเศษตัวนี้ วา่ เอกลักษณ์
นัน่ คือ ถ้า i เป็ นเอกลักษณ์ i  a  a  i  a

5. สมบัตกิ ารมีอนิ เวอร์ ส เวลาจะกล่าวถึงอินเวอร์ส ต้องกล่าวว่าอินเวอร์ส


ของอะไร เพราะสมาชิกแต่ละตัว อาจจะมีหรื อไม่มีอินเวอร์สก็ได้ และถ้ามี อินเวอร์ส
ของแต่ละตัวไม่จ ำเป็ นต้องเหมือนกัน
ดังนั้น สมบัติขอ้ นี้ หมายถึง ถ้า a  G จะมีอินเวอร์สการกระทำของ a
1 1
(เราใช้ ) โดยที่  i เอกลักษณ์
1
a a  a  a  a
 สมบัตขิ องจำนวนจริงเกีย่ วกับการบวกและการคูณ
กำหนดให้ a , b , c เป็ นจำนวนจริ งใดๆ
สมบัติ การบวก การคูณ
ปิ ด a bR ab  R

การสลับที่ ab  ba ab  ba

การเปลี่ยนกลุ่ม (a  b)  c  a  (b  c) (ab)c  a (bc)

การมีเอกลักษณ์ a0  a  0a a  1  a  1 a

การมีอินเวอร์ส a  (a)  0  (a)  a aa 1  1  a 1 a

การแจกแจง a (b  c)  ab  ac (a  b)cหรือac  bc
 สมบัตกิ ารเท่ ากันของจำนวนจริง

กำหนดให้ a, b, c เป็ นจำนวนจริ งใดๆ

1. สมบัติการสะท้อน aa
2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a  b แล้ว b  a
3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a  b แล้ว b  c แล้ว a  c
4. สมบัติการเพิ่มด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a  b แล้ว a  c  b  c
ถ้า a  b แล้ว ac  bc
5. สมบัติการตัดออกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a  c  b  c แล้ว a  b
ถ้า ac  bc แล้ว a  b
จากสมบัติของระบบจำนวนจริ งที่ได้กล่าวไปแล้ว สามารถนำมาพิสูจน์เป็ น
ทฤษฎีบทต่างๆ ได้ดงั นี้ กำหนดให้ a, b, c เป็ นจำนวนจริ งใดๆ
ตัวอย่ างที่ 1 ข้อความในแต่ละข้อต่อไปนี้ ข้อความใดถูก ข้อความใดผิด
3. การแก้ สมการตัวแปรเดียว
ตัวอย่ างที่ 2 จงหาเซตคำตอบของสมการ 3 x3  2 x 2  12 x  8  0

วิธีทำ 3 x 3  2 x 2  12 x  8  0

(3 x 3  2 x 2 )  ( 12 x  8)  0

x 2 (3x  2)  4(3x  2)  0

(3 x  2)( x 2  4)  0

(3 x  2)( x  2)( x  2)  0

2
จะได้ x   หรื อ x  2 หรื อ x  2
3
 2 
  2,  , 2
ดังนั้น เซตคำตอบของสมการคือ  3 
 ทฤษฎีบทเศษเหลือ (remainder theorem)

n n 1 n2
เมื่อ p ( x )  an x  an 1 x  an  2 x  ...  a1 x  a0 โดยที่ n  I 

และ an , an 1 , an 2 , ..., a1 , a0 เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของพหุนามที่เป็ นจำนวนจริ ง ซึ่ง an  0


ถ้าหารพหุนาม p( x) ด้วยพหุนาม x  c เมื่อ c เป็ นจำนวนจริ งแล้ว แล้วเศษจะ
เท่ากับ p(c)

p( x)
นัน่ คือ เศษของ xc คือ p (c )
ตัวอย่ างที่ 3 จงหาเศษจากการหาร 3 x 4  4 x 3  2 x  12 ด้วย x2

วิธีทำ p( x)  3 x 4  4 x 3  2 x  12

p (2)  3( 2) 4  4( 2)3  2(2)  12

 48  32  4  12
 8
ดังนั้น เศษคือ 8
 ทฤษฎีบทตัวประกอบ (Factor theorem)

n n 1 n2
เมื่อ p ( x )  an x  an 1 x  an  2 x  ...  a1 x  a0 โดยที่ n  I 

และ an , an 1 , an 2 , ..., a1 , a0 เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของพหุนามที่เป็ นจำนวนจริ ง ซึ่ง an  0


พหุนาม p( x) จะมี x  c เป็ นตัวประกอบก็ต่อเมื่อ p(c)  0
p( x)
ถ้า p(c)  0 แล้วเศษของ คือ 0
xc
แสดงว่า x  c หาร p( x) ได้ลงตัว
นัน่ คือ x  c เป็ นตัวประกอบของ p( x)
ตัวอย่ างที่ 4 จงหาค่า k ซึ่งทำให้ x  1 เป็ นตัวประกอบของพหุนาม
7 x3  kx 2  4 x  3

วิธีทำ ให้ p( x)  7 x 3  kx 2  4 x  3

p ( x) p (1)  0
x 1 เป็ นตัวประกอบของ จะได้
p(1)  7(1)3  k (1) 2  4( 1)  3
0  7 k  43

0  k 6
k  6

ดังนั้น ค่า k คือ 6


 ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ

n n 1 n2
เมื่อ p ( x )  an x  an 1 x  an  2 x  ...  a1 x  a0 โดยที่ n  I 

และ an , an 1 , an 2 , ..., a1 , a0 เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของพหุนามที่เป็ นจำนวนเต็ม ซึ่ง an  0


k
ถ้า x เป็ นตัวประกอบของพหุนาม p( x)โดยที่ m และ k เป็ นจำนวนเต็มซึ่ง
m
m  0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว m หาร an ลงตัว และ k หาร a0 ลงตัว
4. สมบัตกิ ารไม่ เท่ ากัน
 การไม่ เท่ ากัน
กำหนดให้ a, b, c เป็ นจำนวนจริ งใดๆ
a b หมายถึง a มากกว่า b
a b หมายถึง a น้อยกว่า b
ab หมายถึง a น้อยกว่าหรื อเท่ากับ b
a b หมายถึง a มากกว่าหรื อเท่ากับ b
a  b  c หมายถึง a  b และ b  c
a b c หมายถึง a  b และ b  c
 สมบัตไิ ตรวิภาค (Trichotomy property)

ถ้า a และ b เป็ นจำนวนจริ ง ความสัมพันธ์ระหว่าง a และ b


เป็ นไปได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 อย่างต่อไปนี้เท่านั้น
1. a  b
2. a  b
3. a  b

โดยที่ a  b ก็ต่อเมื่อ a  b  0
a  b ก็ต่อเมื่อ a  b  0
 สมบัตขิ องการไม่ เท่ ากัน
กำหนดให้ a, b, c เป็ นจำนวนจริ งใดๆ
1. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a  b และ b  c แล้ว a  c
2. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a  b แล้ว a  c  b  c
3. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากันที่ไม่ - ถ้า a  b และ c  0 แล้ว ac  bc
เท่ากับศูนย์ - ถ้า a  b และ c  0 แล้ว ac  bc
4. สมบัติการตัดออกสำหรับการบวก ถ้า a  c  b  c แล้ว a  b
5. สมบัติการตัดออกสำหรับการคูณ - ถ้า ac  bc และ c  0 แล้ว a  b
- ถ้า ac  bc และ c  0 แล้ว a  b
6. จำนวนจริ งบวกและจำนวนจริ งลบ a เป็ นจำนวนจริ งบวก ก็ต่อเมื่อ a  0
a เป็ นจำนวนจริ งลบ ก็ต่อเมื่อ a  0
5. ช่ วงและการแก้ อสมการ
 ช่ วง(Interval)
การเขียนช่ วงบนเส้ นจำนวน
1. ช่วงเปิ ด  a, b  หมายถึง x / a  x  b

2. ช่วงปิ ด a, b  หมายถึง x / a  x  b

3. ช่วงครึ่ งปิ ดครึ่ งเปิ ด a, b  หมายถึง x / a  x  b


4. ช่วงครึ่ งเปิ ดครึ่ งปิ ด  a, b หมายถึง x / a  x  b

5. ช่วง  a,   หมายถึง x / x  a

6. ช่วง a,   หมายถึง x / x  a


7. ช่วง  , a  หมายถึง x / x  a

8. ช่วง  , a  หมายถึง x / x  a

9. ช่วง  ,   หมายถึง x / x  R


 การแก้ อสมการ
1. การแก้ อสมการทีม่ ตี วั แปรกำลังสู งสุ ดเป็ นหนึ่ง
ตัวอย่ างที่ 6 จงหาเซตคำตอบของอสมการ 3  5 x  2 x  11
3  5 x  2 x  11

5 x  2 x  14

7 x   14

14
x 
7
x  2

2,  
*หมายเหตุ ถ้าคูณหรื อหารด้วยค่าลบ(จำนวนจริ งลบ) เครื่ องหมายของอสมการ
ต้องเปลี่ยนเป็ นตรงข้ามเสมอ

2. การแก้ อสมการทีม่ ตี วั แปรกำลังมากกว่ าหนึ่ง ในกรณี ที่อสมการไม่อยูใ่ น


รู ปค่าสัมบูรณ์ เรามีหลักการวิธีการแก้ง่ายๆ ดังนี้
1) คำตอบที่ได้จากอสมการจะอยูใ่ นรู ปช่วง
2) ทำข้างหนึ่งของอสมการให้เป็ น 0
3) แยกตัวประกอบ สมมติแยกได้ในรู ป ( x  a)( x  b)  0
4) หาค่า x ที่ท ำให้แต่ละวงเล็บเป็ นศูนย์ ในที่นี่ได้ x  a และ x  b
5) เขียนเส้นจำนวน นำค่าที่ได้ใส่ ลงในเส้นจำนวนโดยเรี ยงจากน้อยไป
มาก กำหนดให้ช่วงทางขวามือสุ ดเป็ นค่าบวก และถัดมาเป็ นค่าลบ บวก ลบ… สลับ
ไปเรื่ อยๆ ตามจำนวนของช่วงที่มีอยู่ (ในที่น้ ีสมมติให้ a  b )
6) ถ้าโจทย์เป็ นเครื่ องหมายน้อยกว่าศูนย์ ให้ตอบช่วงที่เป็ นลบ a  x  b
ถ้าโจทย์เป็ นเครื่ องหมายมากกว่าศูนย์ให้ตอบช่วงที่เป็ นบวก ( x  a หรื อ x  b) แต่
ถ้าโจทย์มีเครื่ องหมายเท่ากับรวมอยูด่ ว้ ย คำตอบจะมีเครื่ องหมายเท่ากับรวมอยูด่ ว้ ย
เช่นกัน [ a  x  b หรื อ ( x  a หรื อ x  b ) ]
ตัวอย่ างที่ 7 จงหาเซตคำตอบของอสมการ x2  2x  3
x2  2x  3
x2  2x  3  0
( x  3)( x  1)  0
ตัวอย่ างที่ 8 จงหาเซตคำตอบของอสมการ x3  2 x 2  x  2  0
x3  2 x 2  x  2  0
x 2 ( x  2)  ( x  2)  0

( x 2  1)( x  2)  0

( x  1)( x  1)( x  2)  0

 , 1  1, 2


1
 1
ตัวอย่ างที่ 9 จงหาเซตคำตอบของอสมการ x3

1
 1
x3
1
1  0
x3
x4
 0
x3

( x  4)( x  3)  0 x  3

 , 4    3,  
6. ค่ าสั มบูรณ์
a
คือ “ค่ าสั มบูรณ์ (absolute value)” ของจำนวนจริ ง a หมายถึง ระยะห่าง
จาก 0 ถึงจุด a บนเส้นจำนวน โดย
 สมบัตขิ องค่ าสั มบูรณ์
 การแก้ อสมการค่ าสั มบูรณ์

ตัวอย่ างที่ 10 จงหาเซตคำตอบของอสมการ 3x  5  4


วิธีทำ จาก 3x  5  4
จะได้ 4  3x  5  4
1  3x  9
1
 x  3
3
1 
ดังนั้น เซตคำตอบคือ  3 , 3
ตัวอย่ างที่ 11 จงหาเซตคำตอบของอสมการ 2 x  7  11
วิธีทำ จาก 2 x  7  11

จะได้ 2 x  7   11 หรื อ 2 x  7  11
2 x   18 หรื อ 2x  4
x   9 หรื อ x  2

ดังนั้น เซตคำตอบคือ  , 9    2,  


ตัวอย่ างที่ 12 จงหาเซตคำตอบของอสมการ 3x  1  x  3
วิธีทำ จาก 3x  1  x  3
ทั้งสองข้างต่างก็เป็ นบวก จึงยกกำลังสองทั้ง 2 ข้างได้
3x  1   x  3
2 2

3x  1   x  3  0
2 2

3 x  1   x  3 3 x  1   x  3  0

 2 x  4  4 x  2   0

  1
ดังนั้น เซตคำตอบคือ   , 2   2 ,  
 
7. สมบัตคิ วามบริบูรณ์ ( The Axiom of Completeness)
 ขอบเขตบน (Upper Bound)
 ขอบเขตล่ าง (Bounded Below)

You might also like