You are on page 1of 24

บทที่ 4 ทศนิ ยม และเศษส่วน

ทศนิยม หมายถึง การเขียนตัวเลขแสดงจานวนที่มีค่าน้อยกว่า 1 หรือการเขียนตัวเลขประเภทเศษส่วนที่มี


ตัวส่วนเป็น 10, 100, 1000 แต่เปลี่ยนรูปจากเศษส่วนมาเป็นรูปทศนิยม โดยใช้เครื่องหมาย . (จุด) แทน
เช่น 0.4, 0.25, 0.678
จานวนทศนิยม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นจานวนเต็ม และส่วนที่เป็นทศนิยม โดยมี (.) คั่น
เช่น 4.5, 975.24

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม
6
1) =
10
7
2) =
10
39
3) =
100
1
4) =
100
3
5) =
5

ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยมหนึ่งตาแหน่งเทียบได้กับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นสิบ และทศนิยมสองตาแหน่งเทียบได้


กับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นร้อย

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนจานวนที่กาหนดให้ในรูปทศนิยม
1) สระว่ายน้ายาว 5 เมตร 7 เซนติเมตร เขียนในรูปทศนิยม เมตร
2) ระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียน 470 เมตร เขียนในรูปทศนิยม กิโลเมตร
3) หนังสือเรียนหนา 8 มิลลิเมตร เขียนในรูปทศนิยม เซนติเมตร
4) กุ้งหนัก 30 กรัม เขียนในรูปทศนิยม กิโลกรัม
ค่าประจาหลักของทศนิ ยม

ตัวอย่างที่ 3 การกระจายทศนิยม
0.123 =
=
=

ตารางแสดงค่าประจาหลัก
ค่าประจาหลัก ( place value )
จานวนเต็ม ทศนิยม
… หลัก หลัก หลัก หลัก หลัก หลักส่วน หลักส่วน หลักส่วน หลักส่วน หลักส่วน …
หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย สิบ ร้อย พัน หมืน่ แสน
(ตาแหน่ง (ตาแหน่ง (ตาแหน่ง (ตาแหน่ง (ตาแหน่ง
ที่ 1) ที่ 2) ที่ 3) ที่ 4) ที่ 5)
… 1 1 1 1 1 1

10 4 10 3 10 2 10 1
101 10 2 10 3 104 10 5

ตัวอย่างที่ 4 ตาแหน่งและค่าประจาหลักของทศนิยม จงหาจานวน 128.457

หลัก ร้อย สิบ หน่วย ส่วนสิบ ส่วนร้อย ส่วนพัน


เลขโดด
เลขโดด 
ค่าประจาหลัก

1) เลขโดดประจาตาแหน่งทศนิยมตาแหน่งที่ 1 คือ
2) ค่าประจาหลักของ 5 เป็น
3) ค่าของเลขโดด 7 คือ
ค่าสัมบูรณ์
ถ้า a คือจานวนจริงใดๆ ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ a
a หมายถึง ระยะห่างระหว่างจุด 0 กับจุด a บนเส้นจานวน

เช่น
-1 -0.5 0 0.5 1
0.5 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ หน่วย กล่าวคือค่าสัมบูรณ์ของ 0.5 เท่ากับ
-0.5 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ หน่วย กล่าวคือค่าสัมบูรณ์ของ -0.5 เท่ากับ

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของจานวนต่อไปนี้
1) - 10 =
2) 100 =
3) 0.23 =
4) - 0.23 =

การเปรียบเทียบทศนิยม พิจารณาตัวเลขหน้าจุดทศนิยมว่าเหมือนหรือแตกต่างกัน ถ้าเหมือนกันให้พิจารณา


ทศนิยมทีละตาแหน่ง จนกระทั่งเจอตาแหน่งที่ไม่เหมือนกันแล้วนาตัวเลขมาเปรียบเทียบกัน เช่น
0. 1 2 5
0. 2 5 0

ตัวอย่างที่ 2 จงเติมเครื่องหมาย < , > หรือ = ลงในข้อความต่อไปนี้ให้ถูกต้อง


1. 2.5 ……. 3.5
2. 90.452 ……. -90.452
3. -4.5 ……. -4.7
4. - 4.5 ……. - 4.7
5. -0.99 ……. -0.92
6. - 0.99 ……. - 0.92
7. -0.001 ……. -0.0001
8. -2.01 ……. -2.010
9. -5.1 ……. 5.0
10. -0.012 ……. 0.021
หลักการเปรียบเทียบทศนิยม มีดังนี้
1) การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกทั้งสองจานวน พิจารณาเลขโดดคู่แรกในตาแหน่งเดียวกันที่ไม่เท่ากัน
จานวนที่มีเลขโดดในตาแหน่งนั้นมากกว่าจะเป็นจานวนที่มากกว่า
2) การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนลบทั้งสองจานวน พิจารณาเลขโดดคู่แรกในตาแหน่งจานวนที่มีค่า
สัมบูรณ์น้อยจะเป็นจานวนที่มีค่ามาก
3) การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกกับทศนิยมที่เป็นจานวนลบ ทศนิยมที่เป็นจานวนบวกย่อมมากกว่า
ทศนิยมที่เป็นจานวนลบ
การบวกทศนิ ยม

การบวกจานวนทศนิยม สามารถทาได้โดย จัดเลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกัน หรือตาแหน่งเดียวกันให้ตรงกัน


แล้วบวกกัน
การบวกทศนิยมที่เป็นบวก
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลัพธ์ของ 40.1569 + 29.04

การบวกทศนิยมที่เป็นลบ
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์ของ ( - 32.47 ) + ( - 40.003 )

การบวกระหว่างทศนิยมที่เป็นบวกกับทศนิยมที่เป็นลบ
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์ของ 20.25 + ( - 38.50 )

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลัพธ์ของ ( -12.3 ) + 15.17


การบวกทศนิ ยม

สมบัติการสลับที่
การบวกทศนิยม สามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและตัวบวกได้ โดยที่ผลบวกยังเท่าเดิม
สมบัติการบวกด้วยศูนย์
การบวกทศนิยมใดๆด้วยศูนย์ จะได้ผลบวกเท่ากับทศนิยมจานวนนั้นเสมอ
สมบัติการเปลี่ยนหมู่
การบวกทศนิยมสามจานวน สามารถบวกทศนิยมคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้โดยที่ผลลัพธ์ยังเท่าเดิม

ตัวอย่างที่ 1 จงหาทศนิยมที่แทน a แล้วทาให้ได้ประโยคที่เป็นจริง


1) 7.3 + ( 2.1 ) = a + 7.3 (a= )
2) 0 + a = -6.538 (a= )
3) 5.68 + 0 = a (a= )
4) 1.1 + [1.2 + 1.3 ] = [ 1.1 + a ] + 1.3 = 3.6 (a= )
การลบของทศนิ ยม

ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ

จานวนตรงข้ ามทศนิ ยม

-1.25 0 1.25
จากรูป -1.25 และ 1.25 มีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน จะอยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะเท่ากัน แต่คนละข้างของ 0
นั่นคือ –1.25 เป็นจานวนตรงข้ามของ
และ 1.25 เป็นจานวนตรงข้ามของ

ถ้า a เป็นทศนิยมใดๆ จานวนตรงข้ามของ a มีเพียงจานวนเดียวเขียนแทนด้วย –a และ a + (-a) = (-a) + a = 0

เพราะฉะนั้นจากการหาผลลบของทศนิยม
เมื่อ a และ b แทนจานวนใด ๆ
a – b = a + จานวนตรงข้ามของ b
หรือ a – b = a + (-b)
ตัวอย่างเช่น 3.92 - 2.13 =
(-5.48) - 2.69 =
(-13.7) - (-15.912) =

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลบ 63.02 – (-86.38)


ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบ ( -125.17) – (-72.9)

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลบ ( -1.12) – 0.02

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลบ 1.01 - 10.02


การคูณทศนิ ยม

การคูณทศนิยมที่เป็นบวก มีวิธีการเช่นเดียวกับการคูณจานวนนับ และใส่จุดทศนิยมดังนี้


ถ้าตัวตั้งเป็นทศนิยมที่มี m ตาแหน่ง ตัวคูณเป็นทศนิยมที่มี n ตาแหน่ง ผลคูณจะเป็นทศนิยมที่มี
m+n ตาแหน่ง
การคูณทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นบวก ผลคูณเป็นทศนิยมที่เป็นบวก และมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผล
คูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจานวนนั้น
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณ
1) 1.2 x 0.8

2) 0.1 x 0.01

การคูณทศนิยมที่เป็นลบด้วยทศนิยมที่เป็นลบ ผลคูณเป็นทศนิยมที่เป็นบวก และมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณ


ของค่าสัมบูรณ์ของสองจานวนนั้น
3) (-1.5) x (-0.2)
การคูณทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นลบ หรือคูณทศนิยมที่เป็นลบด้วยทศนิยมที่เป็นบวก
ผลคูณเป็นทศนิยมที่เป็นลบ และมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจานวนนั้น
4) (-1.2) x 0.8

5) 0.8 x (-1.2)

6) (-11.1) x 0.001

7) 0.001 x (-11.1)

8) 0.8 x ( - 1.2 ) = (สมบัติการ…………………………)


9) (-11.1) x 0.001 =
10) (-0.1) x [1.1 x 0.2] = (สมบัติการ…………………….….)
11) (-7.8) x 0 = (สมบัติการ…………………….….)
12) 0 x (-10.9) =
13) ( -6.8) x 1 = (สมบัติการ…………………….….)
14) 1 x (-10.9) =
15) ( -0.3) x ( 5.4 + 8.2 ) = (สมบัติการ…………………….….)
16) (1.2) x ( 1.1 + 1.3 ) =
17) [0.7 x (-4.5)] + [ 0.7 x (4.5)] =
การหารทศนิ ยม

ในกรณีที่ทศนิยมที่เป็นบวกหารด้วยจานวนนับ ตาแหน่งของจุดทศนิยมของผลหารจะอยู่ตรงกับตาแหน่งจุด
ทศนิยมของตัวตั้งเสมอ
ในกรณีที่ทศนิยมที่เป็นบวกหารด้วยทศนิยมที่เป็นบวก ให้ทาตัวหารเป็นจานวนนับโดยนา 10 หรือ 100
หรือ 1000 หรือ... คูณทั้งตัวตั้งและตัวหารตามจานวนตาแหน่งของทศนิยมตัวหารและวิธีการตรวจสอบผลหาร คือ
ตัวหาร x ผลหาร = ตัวตั้ง
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหาร
1) 4.2  6

2) 1.4605  2.3

3) (-0.0084)  0.006
4) (-6.74)  (-10)

หลักเกณฑ์การหารทศนิยม
1. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นทศนิยมที่เป็นบวกทั้งคู่และลบทั้งคู่ จะได้ผลหารเป็นจานวนบวก
2. ถ้าตัวตั้งเป็นทศนิยมที่เป็นบวกและตัวหารเป็นทศนิยมที่เป็นลบ หรือตัวตั้งเป็นทศนิยมที่เป็นลบและตัวหาร
เป็นทศนิยมที่เป็นบวก จะได้ผลหารเป็นจานวนลบ

5) 28.721  (-0.35)
่ วกับทศนิ ยม
โจทย์ปัญหาเกีย
ตัวอย่างที่ 1 บ้านหลังหนึ่งใช้กระแสไฟฟ้า 146 หน่วย เสียค่าไฟฟ้า 159.14 บาท ค่ากระแสไฟฟ้าเฉลี่ยหน่วยละเท่าไร

ตัวอย่างที่ 2 เบญจามีเงิน 40 บาท ใช้เงินซื้อกระเป๋าดินสอที่ลดราคา 19.50 บาท เบญจาเหลือเงินกี่บาท

ตัวอย่างที่ 3 เมลิคมีเงิน 99.50 บาท คุณแม่ให้เพิ่ม 50.25 บาท คุณพ่อให้เพิ่มอีก 50.25 บาท จากนั้นเมลิคนาเงินที่มี
ทั้งหมด แบ่งกับฮานะคนละครึ่ง จะได้เงินคนละเท่าไหร่

ตัวอย่างที่ 4 เนื้อหมูราคากิโลกรัมละ 85.5 บาท ถ้าต้องการซื้อหมู 1.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินกี่บาท


เศษส่วน
a
คือ จานวนที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแทนปริมาณที่ไม่ใช่จานวนเต็ม โดยใช้สัญลักษณ์เศษส่วนที่เขียนในรูป
b
เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็ม ที่ b  0 เรียก a ว่า เศษ (numerator) และเรียก b ว่า ส่วน(denominator)

เศษส่วนบนเส้นจานวน เศษส่วนสามารถแสดงได้ด้วยจุดบนเส้นจานวน โดยใน 1 หน่วย ความยาวบนเส้นจานวน ให้


แบ่งความยาวออกเป็นส่วนๆเท่าๆกัน โดยพิจารณาจากตัวเลข “ส่วน” ของเศษส่วนที่กาหนด เช่น
4
ตัวเลขส่วนคือ 5 ให้แบ่งความยาว 1หน่วย ออกเป็น 5 ส่วนเท่าๆกัน ดังนี้
5

-2 -1 0 1 2

เศษส่วนแท้ (proper fraction) คือ เศษส่วนที่มีเศษน้อยกว่าส่วน เช่น

เศษเกิน (improper fraction) คือ เศษส่วนที่มีเศษมากกว่าส่วน เช่น

จานวนคละ (mixed number) คือ เศษส่วนที่มีส่วนหนึ่งเป็นจานวนเต็ม และอีกส่วนหนึ่งเป็นเศษส่วนแท้


เช่น

เศษซ้อน ( complex fractions ) เศษส่วนที่เศษหรือส่วนมีค่าเป็นเศษส่วน เช่น


ตัวอย่างที่ 1 จงทาจานวนคละต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษเกิน
3
1) 1 =
5
9
2) 10 =
11
1
3) 7 =
2
1
4) 5 =
13
3
5) 4 =
7

ตัวอย่างที่ 2 จงทาเศษเกินต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจานวนคละ
52
1) =
5
52
2)  =
5
41
3) =
2

ตัวอย่างที่ 3 จงทาเศษส่วนต่อไปนี้เป็นเศษส่วนอย่างต่า
55
1) =
15
16
2) =
64
32
3) =
20
การเปรียบเทียบเศษส่วน
1. การเปรียบเทียบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนเท่ากัน
คือ ให้พิจารณาตัวเศษ ถ้าเศษส่วนใดมีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า
7 4 12 14
ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ กับ และ กับ
9 9 13 13

2. การเปรียบเทียบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนไม่เท่ากัน
คือ จะต้องทาตัวส่วนให้เท่ากันก่อน โดยนาจานวนเดียวกันที่ไม่เท่ากับ 0 มาคูณหรือหารทั้งตัวเศษและ
ตัวส่วน (เรียกว่าการหา ค.ร.น. ของตัวส่วน) แล้วจึงเปรียบเทียบตัวเศษ
7 3 21 30
ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ กับ และ กับ
4 5 33 55

5 6 8 7
ตัวอย่างที่ 4 จงเปรียบเทียบ  กับ  และ  กับ 
7 7 3 4
3. วิธีคูณไขว้เศษส่วน
ถ้าพิจารณาเศษส่วน 2 จานวน คือ กับ จากการคูณไขว้
จะได้ว่า ถ้า ad bc แล้ว
ถ้า ad bc แล้ว

4 5
ตัวอย่างที่ 3 จงเปรียบเทียบ กับ
5 6
การบวกเศษส่วนและการลบเศษส่วน
1. การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ให้นาตัวเศษมาบวกกัน โดยมีตัวส่วนคงเดิม
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลัพธ์ของ
8 3
1) (  )  (  )
10 10

2) - -

2. การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทาตัวส่วนให้เท่ากันก่อน แล้วจึงบวกกัน (ทาตัวส่วนให้เท่ากับ


ค.ร.น. ของตัวส่วนทุกตัว)
9 1
3) (  ) 
4 6
4) - (- )

3. การบวกเศษส่วนในกรณีที่ตัวตั้งหรือตัวบวกเป็นจานวนคละ อาจทาให้เป็นเป็นเศษเกินก่อน หรือใช้วิธีนา


จานวนเต็มมาบวกกัน และนาเศษส่วนมาบวกกันก็ได้
1 1
( 3 )  ( 5 )
5) 5 3

6) (- ) - (- )
การคูณเศษส่วน
หลักการ ให้นาตัวเศษคูณกับตัวเศษ และตัวส่วนคูณกับตัวส่วน
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์

1)

2) -

3) (- )
การหารเศษส่วน
เมื่อ และ เป็นเศษส่วนใดๆ หารด้วย เขียนแทนด้วย หาได้ตามข้อตกลง ÷

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์

1)

2) (- )

3) (- )

4) (- ) (- )
่ นรู ปทศนิ ยม
การเขี ยนเศษส่ วนให้ อยูใ

1. ทาส่วนของเศษส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ ... โดยนาจานวนนับคูณทั้งเศษและส่วน

ตัวอย่างที่ 1 -

2. ใช้วิธีตั้งหารโดยนาตัวส่วนไปหารตัวเศษ

ตัวอย่างที่ 2 (หารลงตัว)

-
(หารไม่สิ้นสุด) อ่านว่า

- อ่านว่า

ทศนิยมซ้า
1) ทศนิยมรู้จบ เป็นทศนิยมซ้าด้วยศูนย์
2) ทศนิยมไม่รู้จบ เป็นทศนิยมแบบซ้าแบบมีระบบที่มีตัวเลขต่างๆกัน

ทศนิยมไม่ซ้า เป็นทศนิยมไม่รู้จบแบบไม่มีระบบ และไม่สามารถเปลี่ยนให้เป็นเศษส่วนของจานวนเต็มได้


่ นรู ปเศษส่ วน
การเขี ยนทศนิ ยมให้ อยูใ

1. การเขียนทศนิยมรู้จบ (แบบซ้าศูนย์) ให้อยู่ในรูปเศษส่วน ให้นาจานวนทั้งหมดที่เป็นทศนิยมมาเขียนเป็นตัว


เศษและเขียนตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ ... ขึ้นอยู่กับจานวนตาแหน่งของทศนิยมที่จะเปลี่ยน
นั้น
ตัวอย่างที่ 3 2.13 =

0.037 =

2. การเขียนทศนิยมไม่รู้จบ (ทศนิยมซ้าทั้งหมด แบบมีระบบ) ให้อยู่ในรูปเศษส่วน ให้นาส่วนที่เป็นทศนิยมซ้า


เป็นตัวเศษ และนา , , , … มาเป็นตัวส่วนตามจานวนตาแหน่งของทศนิยมซ้า
ตัวอย่างที่ 4 .̇
.̇̇
.̇ ̇

You might also like