You are on page 1of 9

ตัวหารรวมมาก และ ตัวคูณรวมนอย

1. ตัวหารรวมมาก ( ห.ร.ม. )

ตัวหารรวม หรือ ตัวประกอบรวม คือ จํานวนที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหไดลงตัวทุก


จํานวน เชน
15 มีตวั หารคือ 1 , 3 , 5 , 15
45 มีตวั หารคือ 1 , 3 , 5 , 9 , 15 , 45
เราจะเรียก 1 , 3 , 5 , 15 เปนตัวหารรวมของ 15 และ 45 เพราะวา 1 , 3 , 5 , 15
ตางก็หาร 15 และ 45 ไดลงตัว

ตัวหารรวมมากที่สุด ( ห.ร.ม.) คือ ตัวหารรวมที่มีคามากที่สุดในตัวหารรวมทั้งหมด ซึ่ง


หารทุกจํานวนในกลุมจํานวนที่กําหนดใหไดลงตัวเชน

25 มีตวั หาร คือ 1 , 5 , 25


40 มีตวั หาร คือ 1 , 2 , 4 , 5 , 8 , 10 , 20 , 40

ตัวหารรวม ของ 25 และ 40 คือ 1 , 5 แตตัวหารรวมที่มากที่สุด คือ 5


ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 25 และ 40 คือ 5

เราสามารถหา ห.ร.ม. ได 2 วิธี คือ


1. โดยวิธีแยกตัวประกอบของจํานวนที่กําหนดให
ขั้นที่ 1. แยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่กําหนดให
ขั้นที่ 2. หาตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด โดยการนําตัวประกอบที่ซ้ํามาคูณกัน ผลคูณที่ไดจะ
เปน ห.ร.ม.
ตัวอยางเชน จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 36

วิธีทํา 24 = 2 x 2 x 2 x 3
36 = 2 x 2 x 3 x 3

ดังนัน้ ห.ร.ม. ของ 24 และ 36 คือ 2 x 2 x 3 = 12

2. โดยวิธีตั้งหารสั้น มีหลักดังนี้
ขั้นที่ 1. ใหจํานวนทุกจํานวนทีก่ ําหนดใหเปนตัวตั้ง
ขั้นที่ 2. นําจํานวนที่สามารถหารทุกจํานวนในขั้นที่ 1. ลงตัว มาเปนตัวหาร และทําการ
หารแบบหารสั้น
ขั้นที่ 3. ทําแบบขั้นที่ 2. ไปเรื่อยๆ จนกระทัง่ ไมมีจํานวนใดหารทุกจํานวนลงตัว ผลคูณ
ของตัวหารทุกตัว คือ ห.ร.ม.

วิธีนนี้ ิยมใชหา ห.ร.ม. เมื่อกําหนดจํานวนมาใหหลายจํานวน

ตัวอยาง เชน จงหา ห.ร.ม. ของ 234 , 288 , 270


วิธีทํา
2 ) 234 288 270

3 ) 117 144 135

3 ) 39 48 45

13 16 15 บรรทัดนี้ไมมีจํานวนใดหาร
ลงตัว นอกจาก 1

ดังนั้น ตัวหารทั้งหมด คือ 2 , 3 , 3


ผลคูณของตัวหารทั้งหมด คือ 2 x 3 x 3 = 18
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 234 , 288 , 270 คือ 18
เทคนิคและการแกโจทยปญ
 หา เรือ่ ง ห.ร.ม.

การนํา ห.ร.ม. ไปใชในการแกโจทยปญหา


โจทยปญหาที่ใช ห.ร.ม.
การแบงกลุมคน หรือ สิ่งของใหเทาๆกัน แตไดจํานวนมากที่สุด
การแบงเชือก หลายๆ เสน ออกเปนทอนๆ ที่ยาวเทากัน และมีความยาว
ที่สุด เชน...
ตัวอยางที่ 1
โรงเรียนแหงหนึ่งมีนักเรียนชั้น ม.1 = 240 คน
“ ม.2 = 225 คน
“ ม.3 = 210 คน
ถาจะแบงนักเรียนออกเปนกลุม ๆ ที่มีจํานวนนักเรียนมากที่สุด จะไดกี่กลุม แตละ
กลุมมีนักเรียนกี่คน
240 = 3 x 5 x 2 x 2 x 2 x 2
225 = 3 x 5 x 3 x 5
210 = 3 x 5 x 7 x 2

ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 3 x 5 = 15


ม.1 = 240
15
= 16 กลุม
ม.2 = 225
15
= 15 กลุม
ม.3 = 210
15
= 14 กลุม
รวม = 45 กลุม
นั่นคือ แบงนักเรียนเปนกลุมใหญที่สุดได 45 กลุม แตละกลุม มีนักเรียน 15 คน
ตัวอยางที่ 2
หองหนึ่งกวาง 7.50 เมตร ยาว 12.5 เมตร ถาขีดเสนใตเปนตารางที่ใหญที่สุด จะ
ไดกี่ตาราง แตละตารางมีขนาดเทาไร
ก. = 7.50 ม.. = 750 cm = 5 x 5 x 5 x 2 x 3
ข. = 12.50 ม. = 1250 cm = 5 x 5 x 5 x 2 x 5

ดังนั้น ห.ร.ม. = 5 x 5 x 5 x 2 = 250


ก. = 750 cm = 750
250
=3
ข. = 1250 cm = 1250
250
=5
รวม 15
นั่นคือ แบงออกเปนตารางใหญที่สุดได 15 ตาราง
แตละตาราง มีขนาดดานละ 250 cm หรือดานละ 2.5m

ตัวอยางที่ 3
นักเรียน ม.1/1 มี 56 คน
นักเรียน ม.1/2 มี 48 คน
นักเรียน ม.1/3 มี 48 คน
นักเรียน ม.1/4 มี 40 คน
จะแบงเปนหมูลูกเสือ ไดกี่หมู ถาใหแตละหมู มีจํานวนลูกเสือ มากที่สดุ และแตละหมูมี
ลูกเสือกี่นาย
นักเรียน ม.1/1 มี 56 คน = 2 x 2 x 2 x 7
นักเรียน ม.1/2 มี 48 คน = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
นักเรียน ม.1/3 มี 48 คน = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
นักเรียน ม.1/4 มี 40 คน = 2 x 2 x 2 x 5
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 2 = 8

ดังนั้น ม.1/1 = 568 = 7 หมู


ม.1/2 = 488 = 6 หมู
ม.1/3 = 488 = 6 หมู
ม.1/4 = 408 = 5 หมู
รวม 24 หมู
นั่นคือ แบงหมูลูกเสือได 24 หมู
แตละหมูม ีลูกเสือ 8 นาย

ตัวอยางที่ 4 มีเชือก 4 เสน ยาว 132,84,180 และ 240 ซม. ถาตองการแบงเชือกทั้ง 4


เสน ออกเปนทอนๆ ใหแตละทอนยาวเทากัน และใหยาวที่สุด จะไดกี่ทอน และแตละ
ทอนยาวเทาไร
132 = 12 x 11
84 = 12 x 7
180 = 12 x 15
240 = 12 x 20

ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 12


จํานวนทอน = 11 + 7 +15 + 20 = 53 ทอน
นั่นคือ แบงเชือกได 53 ทอน แตละทอนยาว 12 ซม.
ตัวอยางที่ 5 จงหาจํานวนที่มากที่สุด เมือ่ นําไปหาร 545 เหลือเศษ 1 แตเมื่อนําไปหาร
436 เหลือเศษ 11
นําไปหาร 545 เศษ = 1 ดังนั้น 545 – 1 = 544
นําไปหาร 436 เศษ = 11 ดังนั้น 436 – 11 = 425
544 = 17 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2
425 = 17 x 5 x 5
ห.ร.ม. = 17
นั่นคือ จํานวนที่มากที่สุดจํานวนนี้คือ 17

ตัวอยางที่ 6
ที่แปลงหนึ่งกวาง 50 m ยาว 150 m ถาลอมลวดหนามโดยรอบแลวจะตองปก
เสาอยาง
นอยกี่ตน
กวาง 50 m = 50 x 1
ยาว 150 m = 50 x 3
ดังนั้น ห.ร.ม. = 50 *
เสนรอบรูป = 2 ( ก + ย )
= 2( 50 + 150 )
= 40 m*
นั่นคือ จํานวนเสาที่นอยที่สุด = 4005
= 8 ตน
2. ตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น.)
ตัวคูณรวมนอย หมายถึง จํานวนที่มีคานอยที่สุด เมื่อนําจํานวนที่กําหนดใหทั้งหมดมาหารจํานวน
นั้นไดลงตัว เชน
จํานวนที่มี 6 เปนตัวประกอบ คือ 6 , 12 , 18 , 24 , 30 , 36 …
จํานวนที่มี 9 เปนตัวประกอบ คือ 9 , 18 , 27 , 36 , 45 …
จะเห็นวา ตัวคูณรวมของ 6 และ 9 ไดแก 18 , 36 และจํานวนอื่นๆ อีกหลายจํานวน
เนื่องจาก 18 เปนจํานวนที่นอยที่สุดทีน่ ํา 6 , 9 ไปหารแลวลงตัว ดังนั้น ตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น. )
ของ 6 , 9 คือ 18

วิธีหาตัวคูณรวมนอย ( ค.ร.น. )
1. วิธีแยกตัวประกอบ มีหลักดังนี้
1.1 ใหแยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่กาํ หนดให
1.2 ตัวประกอบใดที่ซ้ํากับตัวประกอบของจํานวนอื่นๆ ใหนํามาใชเพียงตัวเดียว และตัว
ประกอบใดที่ไมซ้ํากันใหนํามาใชใหหมด
1.3 ค.ร.น. เทากับผลคูณของทุกๆ จํานวนทีน่ ํามาใช
ตัวอยางที่ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 18 , 45 , 84
วิธีทํา 18 = 3 x 3 x 2
45 = 3 x 3 x 5
84 = 3 x 2 x 2 x 7
ค.ร.น. ของ 18 , 45 , 84 คือ 3 x 3 x 2 x 2 x 5 x 7 = 1,260

ตัวอยางที่ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 12 , 24


วิธีทํา 12 = 2 x 2 x 3
24 = 2 x 2 x 2 x 3
ค.ร.น. ของ 12 , 24 คือ 2 x 2 x 2 x 3 = 24

ถาจํานวนที่กําหนดใหทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ การหา ค.ร.น. ใหนําจํานวนที่


ขอสังเกต
กําหนดใหทั้งหมดมาคูณกับ ผลคูณที่ได คือ ค.ร.น. เชน
- ค.ร.น. ของ 2 กับ 7 คือ 2 x 7 = 14
- ค.ร.น. ของ 5 กับ 19 คือ 5 x 19 = 95
2. วิธีตั้งหาร มีหลักดังนี้
2.1 ใหจํานวนทุกจํานวนที่กําหนดใหเปนตัวตั้ง
2.2 นําจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหอยางนอย 1 จํานวนลงตัวมาเปน
ตัวหารและทําการหารแบบหารสั้น
2.3 จํานวนที่หารไมลงตัวใหคงไวตามเดิม และใหนําลงมาเปนตัวตั้งของการหารครั้งตอไป
2.4 ทําไปเรือ่ ยๆ จนไดผลหารของทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะที่ไมเหมือนกันหรือเปน 1
2.5 ค.ร.น. คือ ผลคูณของจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารทุกตัวกับผลหารที่ไดในบรรทัดสุดทาย
ทุกตัว

ตัวอยางที่ 3 จงหา ค.ร.น. ของ 12 , 20 , 24


วิธีทํา 2) 12 20 24
2) 6 10 12
3) 3 5 6
1 5 2
ค.ร.น. ของ 12 , 20 , 24 = 2 x 2 x 3 x 1 x 5 x 2 = 120

การนํา ค.ร.น. ไปใชในการแกโจทยปญหา

โจทยปญหา ที่ใช ค.ร.น.


การหาวา ระฆังจะกลับมาตีพรอมกัน
การหาวา นาฬิกาจะเดินมาพรอมกัน
การหาวา นักกีฬา จะวิ่งกลับมาพรอมกันอีก ที่จุดๆ หนึ่ง
ตัวอยางที่ 1. จงหาจํานวนที่นอยที่สุด เมื่อหารดวย 25 และ 35 แลว
เหลือเศษ 2 เทากัน
วิธีทํา 25 = 5x5
35 = 5x7
ดังนั้น ค.ร.น. = 5x5x7 =175
นั่นคือ จํานวนๆ นัน้ คือ 175+2 = 177

ตัวอยางที่ 2. มีระฆัง 3 ใบ ใบที่ 1 ตีทุกๆ 5 นาที ใบที่2 ตีทกุ ๆ 9 นาที


ใบที่ 3 ตีทุกๆ 15 นาที เมื่อเริ่มตีพรอมกัน อีกนานเทาไร
จึงจะกลับมาตีพรอมกันอีก
วิธีทํา 5 = 5
9 = 3x3
15 = 5x3
ดังนั้น ค.ร.น. คือ 5x3x3 = 45
นัน่ คือ อีก 45 นาที จะกลับมาตีพรอมกันอีก

ความสัมพันธ ของจํานวนสองจํานวน กับ ค.ร.น. , ห.ร.ม.


ผลคูณของจํานวนสองจํานวน จะเทากับ ผลคูณของ ค.ร.น. และ ห.ร.ม.
ของสองจํานวนนั้น หรือ AB = HO
ถา A และ B คือ จํานวนสองจํานวน , H คือ ห.ร.ม. , O คือ ค.ร.น.

You might also like