You are on page 1of 3

เลขยกกำลัง

การคูณและการหารเลขยกกําลัง
1. สมบัติการคูณเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็มบวก เมื่อ a เป็นจํานวนใด ๆ และ m, n เป็นจํานวน
เต็มบวก a m × a n = a m+n เช่น 2 3 × 2 7 × 2 9 = 2 (3 + 7 + 9) = 2 19

( 3 2n-1) (3 2n+1) = ………………………….. = …………..

5 n+1 × 52n-2 = …………………………. = …………..

( a 2 b 8 )(2a 5 b 6 ) = …………………………. = ……………

2. สมบัติการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็มบวก เมื่อ a เป็นจํานวนจริงใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์และ


m, n เป็นจํานวนเต็มบวก ที่ m > n am ÷ a n = a m–n
34 ÷ 32 = …………………………. = …………..

1 5 1 3
(2) ÷ (2) = …………………………. = …………..

56a4 b2
= …………………………. = …………..
7ab

𝑥𝑛
= …………………………. = …………..
𝑥 𝑛−1

7−4 𝑥 9−2 𝑥 𝑚−5


= ……………………………… = ………………….. = …………..
9−5 𝑥 76 𝑥 𝑚2

am + n
a2m − 3n = ……………………………… = ………………….. = …………..

3. ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ a0 =1

( y −4 x 2 ) 0
2−2 = …………………………. = …………..
x5y6
( xy ) 4 = …………………………. = …………..

492 − n
72 − n = …………………………. = …………..

สมบัติอื่นๆ ของเลขยกกําลัง

1. เลขยกกําลังที่มีฐานเป็นเลขยกกําลัง (𝑎𝑚 )𝑛 = 𝑎𝑚𝑛 เมือ่ a ≥ 0 และ m, n เป็นจํานวนเต็ม

2. เลขยกกําลังที่มฐี านอยู่ในรูปการคูณ หรือการหารของจํานวนหลาย ๆจำนวน เมื่อ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ n


𝑎𝑚 𝑑 𝑎𝑚𝑑
เป็นจํานวนเต็ม (𝑎𝑚 𝑛 )𝑑
𝑏 = 𝑎 𝑚𝑑
𝑏 𝑛𝑑
หรือ ( 𝑏𝑛 ) =
𝑏𝑛𝑑

(34 )−2 = …………………….. = …………….


5
𝑛4
(𝑛−1 ) = ………………….. = ……………
−1 3
𝑥 −2 𝑥7
( 𝑥6 ) (𝑥 −2 ) = …………………………. = ………………. = …………….

(2x 4 y 8 ) 2 = …………………… = ……………..

2 3n  8 n −1 = ……………………… = ………………

2 4 2 2
(3) (3) = …………………………

( - 11 ) 2 ( - 11 ) 4 ( - 11 ) = ………………………

( - 11 ) 12 ÷ ( - 11 ) 4 = ………………………
3 2n − 3  81 2n = ………………………. = ……………

( 2x 4 y ) 0 ( x 0 y 2 )
2x = ………………………

( 4 a 2 b) 0 a −5
c4 = ………………………
7 x 3y −1z−2
7 −1 x − 2 y − 3z− 4 = ………………………

(x 2 y 5 )(x 3 y 2 ) 2 = …………………………………. = ……………………. = …………….

32 + 3 4
35 = …………………………………. = …………………….

22 + 25
22 = …………………………………. = …………………….

สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือรูปแบบของการเขียนตัวเลขอย่างหนึ่ง มักใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ หรือ


วิศวกร เพื่อให้สามารถเขียนหรือนำเสนอจำนวนที่มีขนาดใหญ่มากหรือเล็กมาก ให้ง่ายและสะดวกขึ้น

𝑎 × 10𝑏
โดยเลขชี้กำลัง b เป็นจำนวนเต็ม และ 1 ≤ a < 10

1. รูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของจํานวน 0.0000000275 เท่ากับจํานวนในข้อใด

1) 2.75 × 1010 2) 2.75 × 10−10

3) 2.75 × 10−8 4) 2.75 × 10−7

2. รูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของจํานวน 762.567 × 103 เท่ากับจํานวนในข้อใด

1) 7.62567 × 108 2) 7.62567 × 107

3) 7.62567 × 106 4) 7.62567 × 105

3. รูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของจํานวน 1030 เท่ากับจํานวนในข้อใด

1) 1.03 × 103 2) 1.03 × 102 3) 1.03 × 101 4) 1.03 × 10−2

4. จํานวน 24 พันล้านบาท เท่ากับจํานวนในข้อใด

1) 2.4 × 1011 บาท 2) 2.4 × 1010 บาท 3) 2.4 × 109 บาท 4) 2.4 × 108 บาท

You might also like