You are on page 1of 47

เรื่องที่ 11 ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

11.1 การหา ห.ร.ม.


ตัวหารรวม
เราทราบมาแลววาตัวประกอบของจํานวนใด ๆ สามารถนําไปหารจํานวนนั้นไดลงตัว เชน
ตัวประกอบของ 12 คือ 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 ทุกตัวสามารถนําไปหาร 12 ไดลงตัว ดังนั้นเราอาจเรียกตัว
ประกอบของ 12 แตละตัวนี้วา เปนตัวหาร ของ 12
ลองพิจารณาตัวหารของ 8 และ 12
ตัวหารของ 8 คือ 1, 2, 4, 8
ตัวหารของ 12 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 12
ตัวหารของ 8 และ 12 ที่เหมือนกันคือ 1, 2 และ 4 เราเรียก 1, 2 และ 4 วา เปนตัวหารรวมหรือ
ตัวประกอบรวม ของ 8 และ 12
จํานวนนับที่หารจํานวนตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปลงตัว เรียกวา ตัวหารรวมของจํานวนเหลานัน้

ตัวอยาง จงหาตัวหารรวมของ 9, 15 และ 21


วิธีทํา ตัวหารของ 9 คือ 1, 3, 9
ตัวหารของ 15 คือ 1, 3, 5, 15
ตัวหารของ 21 คือ 1, 3, 7, 21
ตัวหารรวมของ 9, 15 และ 21 คือ 1, 3
ตอบ 1 และ 3
แบบฝกหัดที่ 31
จงหาตัวหารรวมของจํานวนตอไปนี้
(1) 12, 18 (2) 16, 24
(3) 27, 36 (4) 10, 21
(5) 8, 14, 18 (6) 10, 20, 30

ตัวหารรวมมากที่สุด (ห.ร.ม.)
ตัวหารของ 16 คือ 1, 2, 4, 8, 16
ตัวหารของ 20 คือ 1, 2, 4, 5, 10, 20
ตัวหารรวมของ 16 และ 20 คือ 1, 2, 4
ตัวหารรวมที่มีคามากที่สุดของ 16 และ 20 คือ 4
เราเรียกตัวหารรวมที่มีคามากที่สุดวา ตัวหารรวมมากที่สุด ใชตัวยอวา ห.ร.ม.

ดังนั้น ตัวหารรวมมากที่มากที่สุด หรือ ห.ร.ม. ของ 16 และ 20 คือ 4

ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 18 และ 27


วิธีทํา ตัวหารของ 18 คือ 1, 2, 3, 6, 9, 18
ตัวหารของ 27 คือ 1, 3, 9, 27
ตัวหารรวมมากที่สุด หรือ ห.ร.ม. ของ 18 และ 27 คือ 9
ตอบ 9

แบบฝกหัดที่ 32
จงหา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้
(1) 10, 14 (2) 9, 12 (3) 14, 28
(4) 8, 27 (5) 16, 28 (6) 18, 24
(7) 6, 4, 22 (8) 10, 20, 30 (9) 18, 27, 63
การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ
การหา ห.ร.ม. ของจํานวนตาง ๆ เราอาจใชการแยกตัวประกอบชวยหาได โดยนําตัวประกอบที่
เหมือนกันมาคูณกัน ตัวอยางเชน เราจะหา ห.ร.ม. ของ 18 และ 27 เมือ่ แยกตัวประกอบของ 18 และ 27
จะไดดงั นี้
18 = 2 × 3 × 3
27 = 3 × 3 × 3
จํานวนที่มีคามากที่สุดที่หาร 18 และ 27 ลงตัว คือจํานวนที่อยูในรูป 3 × 3 นั่นคือ ห.ร.ม. ของ 18
และ 27 คือ 3 × 3 = 9
ลองดูตัวอยางใหม เราจะหา ห.ร.ม. ของ 40 และ 30
40 = 2 × 2 × 2 × 5
30 = 2 × 3 × 5
จํานวนที่มีคามากที่สุดที่หาร 40 และ 30 ลงตัว คือ จํานวนที่อยูในรูป 2 × 5 นั่นคือ ห.ร.ม. ของ 40
และ 30 คือ 2 × 5 = 10

ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 16, 24 และ 28


วิธีทํา
16 = 2 × 2 × 2 × 2
24 = 2 × 2 × 2 × 3
28 = 7 × 2 × 2
ห.ร.ม. ของ 16, 24 และ 28 คือ 2 × 2 = 4
ตอบ 4

แบบฝกหัดที่ 33
จงหา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้
(1) 16, 36 (2) 15, 25 (3) 26,34
(4) 12, 27 (5) 35, 21 (6) 42, 64
(7) 49, 56, 63 (8) 15, 30, 45 (9) 18, 27, 54
การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการตั้งหาร
ในการหา ห.ร.ม. ของจํานวนหลาย ๆ จํานวน เราอาจใชวิธีตั้งหารทํานองเดียวกับการแยก
ตัวประกอบ โดยวิธีตั้งหารได ตัวอยางเชน เราจะหา ห.ร.ม. ของ 12, 18 และ 24 เราสามารถทําไดดังนี้
(1) หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 2 ) 12, 18, 24
12, 18 และ 24 เชน นํา 2 ไปหาร 12, 18 และ 24 6, 9, 12
ไดผลหารเปน 6, 9 และ 12 ตามลําดับ
(2) หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 2 ) 12, 18, 24
6, 9 และ12 ซึ่งเปนผลหารที่ได คือ นํา 3 ไปหาร 3) 6, 9, 12
6, 9 และ 12 ไดผลหารเปน 2, 3, 4 ตามลําดับ 2, 3, 4
(3) หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 2 ) 12, 18, 24
2, 3 และ 4 ซึ่งเปนผลหารที่ได แตไมมีจาํ นวนเฉพาะ 3) 6, 9, 12
ดังกลาว 2, 3, 4
ดังนั้น ตัวหารรวมมากที่สุด หรือ ห.ร.ม. ห.ร.ม. ของ 12, 18 และ 24
ของ 12, 18 และ 24 คือ ผลคูณของตัวหารรวมทุกตัว คือ 2 × 3 = 6
ซึ่งเทากับ 2 × 3 = 6 ตอบ 6

ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 15, 25 และ 35


วิธีทํา 5 ) 15, 25, 35
3, 5, 7
ห.ร.ม. ของ 15, 25 และ 35 คือ 5
ตอบ 5

ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 24, 60, 36


วิธีทํา 2 ) 24, 60, 36
2 ) 12, 30, 18
3 ) 6, 15, 9
2, 5, 3
แบบฝกหัดที่ 35
ห.ร.ม. ของ 24, 60 และ 36 คือ 2 × 2 × 3 = 12 ตอบ 12
จงฝกทักษะตอไปนี้
ก. จงหา ห.ร.ม. ของจํานวนทีก่ าํ หนดให
(1) 21, 35, 42 (2) 27, 63, 81 (3) 10, 25, 30
(4) 24, 32, 64 (5) 16, 20, 36 (6) 20, 15, 45 และ 40
(7) 24, 12, 60 และ 48 (8) 28, 14, 70 และ 84
ข. ดอกไม ตัวประกอบ
การหา ค.ร.น.
ตัวคูณรวม
จํานวนที่มี 4 เปนตัวประกอบ คือ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ......
จํานวนที่มี 6 เปนตัวประกอบ คือ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, .......
จํานวนที่มีทั้ง 4 และ 6 เปนตัวประกอบ คือ 12, 24, 36,... เราเรียกจํานวนที่มีทั้ง 4 และ 6
เปนตัวประกอบวา ตัวคูณรวม ของ 4 และ 6
ตัวคูณรวมของจํานวนตั้งแตสองจํานวนขึ้นไป หมายถึง จํานวนนับที่มีจํานวนเหลานั้น
เปนตัวประกอบ

ตัวอยาง จงหาตัวคูณรวมของ 3 และ 4


วิธีทํา จํานวนทีม่ ี 3 เปนตัวประกอบ คือ 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 36, ......
จํานวนที่มี 4 เปนตัวประกอบ คือ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, .......
ตัวคูณรวมของ 3 และ 4 คือ 12, 24, 36, ........
ตอบ 12, 24, 36

แบบฝกหัดที่ 34
จงหาตัวคูณรวมของจํานวนตอไปนี้
(1) 2, 3 (2) 4, 8 (3) 6, 9
(4) 10, 15 (5) 4, 6, 8 (6) 10, 15, 20

ตัวคูณรวมนอยที่สุด (ค.ร.น.)
จํานวนที่มี 6 เปนตัวประกอบ คือ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, ....
จํานวนที่มี 8 เปนตัวประกอบ คือ 8, 16, 24, 32, 40, 48, 56, 64, 72, ....
ตัวคูณรวมของ 6 และ 8 คือ 24, 48, .....
ตัวคูณรวมที่มีคานอยที่สุดของ 6 และ 8 คือ 24
เราเรียกตัวคูณรวมที่มีคานอยที่สุดวา ตัวคูณรวมนอยที่สุด ใชตัวยอวา ค.ร.น.
ดังนั้น ตัวคูณรวมนอยที่สุด หรือ ค.ร.น. ของ 6 และ 8 คือ 24
ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 4 และ 6
วิธีทํา จํานวนที่มี 4 เปนตัวประกอบ คือ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ......
จํานวนที่มี 6 เปนตัวประกอบ คือ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54,.......
ตัวคูณรวมของ 4 และ 6 คือ 12, 24, 36, ........
ตัวคูณรวมนอยที่สุดหรือ ค.ร.น. ของ 4 และ 6 คือ 12
ตอบ 12

แบบฝกหัดที่ 35
จงหา ค.ร.น. ของจํานวนตอไปนี้
(1) 5, 6 (2) 2, 4 (3) 6, 9
(4) 10, 15 (5) 4, 6, 8 (6) 8, 10, 20

การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ


ในการหา ค.ร.น. ของจํานวนตาง ๆ เราอาจใชการแยกตัวประกอบชวยหาได เชน เราจะหา
ค.ร.น. ของ 4 และ 6 เมื่อแยกตัวประกอบของ 4 และ 6 ไดดงั นี้
4 = 2 ×2
6 = 2 ×3
จะเห็นวา จํานวนที่นอยที่สุดที่มี 4 และ 6 เปนตัวประกอบ คือ 12 ซึ่ง
12 = 2 × 2 × 3
เราได 2 × 2 × 3 จากวิธกี ารดังนี้
4 =2×2
6 =2×3
2 × 2 × 3 = 12
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 4 และ 6 คือ 12
ตัวอยาง จงหา ค.ร.น ของ 15 และ 21
วิธีทํา 15 = 3 × 5
21 = 3 × 7
ค.ร.น. ของ 15 และ 21 คือ 3 × 5 × 7 = 105
ตอบ 105

ตัวอยาง จงหา ค.ร.น . ของ 18, 24


วิธีทํา 18 = 2 × 3 × 3
24 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3
ค.ร.น. ของ 18 และ 24 คือ 2 × 3 × 3 × 2 × 2 = 72
ตอบ 72

ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 8, 10, 12


วิธีทํา 8 = 2×2×2
10 = 2 × 5
12 = 2 × 2 × 3
ค.ร.น. ของ 8, 10, 12 คือ 2 × 2 × 2 × 5 × 3 = 120
ตอบ 120

แบบฝกหัดที่ 36
จงหา ค.ร.น. ของจํานวนตอไปนี้
(1) 6, 10 (2) 30, 50 (3) 6, 9, 15
(4) 15, 20, 30 (5) 12, 20 (6) 15, 45
(7) 8, 14, 16 (8) 12, 48, 60

การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหาร


ในการหา ค.ร.น. ของจํานวนหลาย ๆ จํานวน เราอาจใชวิธีตั้งหาร ตัวอยางเชน เราจะหา ค.ร.น. ของ
8, 10, และ 12 เราสามารถทําไดดังนี้
(1) หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 2 ) 8, 10, 12
8, 10, และ 12 หรืออยางนอย 2 จํานวน เชนนํา 2 ไปหาร 4, 5, 6
8, 10 และ 12 ผลหาร เปน 4, 5 และ 6 ตามลําดับ
(2) หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 2 ) 8, 10, 12
4, 5 และ6 หรืออยางนอย 2 จํานวน เชน 2 เพราะนําไปหาร 3) 4, 5, 6
4 และ 6 ไดลงตัว แตนําไปหาร 5 ไมลงตัว เขียน 5 ไวดงั เดิม 2, 5, 3
(3) หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 2 ) 8, 10, 12
2, 5 และ 3 หรืออยางนอย 2 จํานวน แตจํานวนเฉพาะนั้นไมมี 2) 4, 5, 6
2, 5, 3
ดังนัน้ จํานวนที่นอ ยที่สุดมี 8, 10 และ 12 ค.ร.น. ของ 8, 10 และ 12
เปนตัวประกอบคือ 2 × 2 × 2 × 5 × 3 = 120 คือ 2 × 2 × 2 × 5 × 3 = 120
ตอบ 120

ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 12, 16, 18


วิธีทํา 2 ) 12, 16, 18
2 ) 6, 8, 9
3 ) 3, 4, 9
1, 4, 3
ค.ร.น. ของ 12, 16 และ 18 คือ 2 × 2 × 3 × 1 × 4 × 3 = 144
ตอบ 144

ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 18, 24


วิธีทํา 2 ) 18, 24
3 ) 9, 12
3, 4
ค.ร.น. ของ 18, 24 คือ 2 × 3 × 3 × 4 = 72
ตอบ 72

แบบฝกหัดที่ 37
จงหา ค.ร.น. ของจํานวนตอไปนี้
(1) 16, 24 (2) 15, 45 (3) 9, 36, 24 (4) 4, 12, 24, 32
(5) 20, 28 (6) 16, 30, 48 (7) 14, 28, 49 (8) 44, 66, 99
1

บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น


1.1 ตัวประกอบ
1.1.1 ตัวประกอบของจานวนนับใดๆ
ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือ จำนวนนับที่หำรจำนวนนับนั้นลงตัว

ตัวอย่ างที่ 1 จงหำตัวประกอบของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้

1) ตัวประกอบของ 16 คือ ………………………………………………………………………………….

2) ตัวประกอบของ 24 คือ ……………………………………………………………………………………

3) ตัวประกอบของ 100 คือ …………………………………………………………………………………..

4) ตัวประกอบของ 19 คือ …………………………………………………………………………………..

5) ตัวประกอบของ 97 คือ …………………………………………………………………………………….

1.1.2 จานวนคู่และจานวนคี่

จำนวนคู่ คือ ………………………………………………………………………………………………….

จำนวนคี่ คือ …………………………………………………………………………………………………

1.2 จานวนเฉพาะ
จำนวนเฉพำะ คือ ……………………………………………………………………………………………….

เช่น 2 เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 2 มีเพียงสองตัว คือ ……… และ ……….


11 เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 2 มีเพียงสองตัว คือ ……… และ ……….
6 ไม่เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 6 มีมำกกว่ำสองตัว คือ ……… ……………………..
21 ไม่เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 21 มีมำกกว่ำสองตัว คือ ……… ……………………..

จำนวนประกอบ คือ จำนวนนับที่มำกกว่ำ 1 ซึ่งไม่เป็ นจำนวนเฉพำะ

จำนวนเฉพำะที่มีค่ำไม่เกิน 100 คือ ………………………………………………………………………………

ตัวประกอบเฉพำะ คือ …………………………………………………………………………………………..


2

การหารด้ วย 2 ลงตัว
จำนวนนับที่มีหลักหน่วยเป็ น 0 , 2 , 4 , 6 หรื อ 8 จะหำรด้วย 2 ลงตัว

การหารด้ วย 3 ลงตัว
จำนวนนับใดๆจะหำรด้วย 3 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ ผลบวกของเลขโดดทุกหลักของจำนวนนับนั้นหำรด้วย 3 ลงตัว
เช่น 159 หำรด้วย 3 ลงตัว เพรำะ 1+5+9 = 15 ซึ่ง 15 หำรด้วย 3 ลงตัว
2,358 หำรด้วย 3 ลงตัว เพรำะ 2+3+5+8 = 18 ซึ่ง 18 หำรด้วย 3 ลงตัว
1,234,321 หำรด้วย 3 ไม่ลงตัว เพรำะ 1+2+3+4+3+2+1 = 16 ซึ่ง 16 หำรด้วย 3 ไม่ลงตัว

การหารด้ วย 4 ลงตัว
จำนวนนับที่หำรด้วย 4 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ จำนวนที่ประกอบด้วยเลขโดด 2 สุดท้วยต้องหำรด้วย 4 ลงตัว
เช่น 1,248 หำรด้วย 4 ลงตัว เพรำะ 48 หำรด้วย 4 ลงตัว
125,521 หำรด้วย 4 ไม่ลงตัว เพรำะ 21 หำรด้วย 4 ไม่ลงตัว

การหารด้ วย 5 ลงตัว
จำนวนที่หำรด้วย 5 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ เลขโดดตัวสุดท้ำยต้องเป็ น 0 หรื อ 5
เช่น 30 , 25 , 2,450 หรื อ 12,945 หำรด้วย 5 ลงตัว เพรำะเลขโดดของทุกจำนวนต่ำงลงท้ำยด้วย 0 หรื อ 5

แบบฝึ กทักษะที่ 1
กำหนดจำนวนดังต่อไปนี้ 25 32 124 779 3,456 2,432 7,240 7,392 34,563

จำนวนที่หำรด้วย 2 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

จำนวนที่หำรด้วย 3 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

จำนวนที่หำรด้วย 4 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

จำนวนที่หำรด้วย 5 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

1.3 การแยกตัวประกอบ
กำรแยกตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือ กำรเขียนจำนวนนับนั้น ในรู ปกำรคูณกัน
ของตัวประกอบเฉพำะ
3

วิธีการแยกตัวประกอบสามารถทำได้ 2 วิธี คือ


วิธีที่ 1 โดยใช้ แผนภาพต้ นไม้
ตัวอย่ างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ 120 จงแยกตัวประกอบของ 195

วิธีที่ 2 โดยวิธีหารสั้ น
ตัวอย่ างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 360 จงแยกตัวประกอบของ 132

แบบฝึ กทักษะที่ 2
จงแยกตัวประกอบของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้

1) 36 = …………………………………………………………………………………………………………………

2) 48 = …………………………………………………………………………………………………………………

3) 200 = ………………………………………………………………………………………………………………

4) 180 = ……………………………………………………………………………………………………………..

5) 832 = …………………………………………………………………………………………………………….
4

1.4 ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.) Greatest Common Divisor (G.C.D)


ตัวหารร่ วมที่มีค่ามากที่สุด หรื อตัวประกอบร่ วมที่มีค่ำมำกที่สุดที่หำรจำนวนนับที่กำหนดให้ต้งั แต่สองจำนวน
ขึ้นไปได้ลงตัวทุกจำนวน เรี ยกว่ำ ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)

นั่นคือ ถ้ำ a และ b เป็ นจำนวนนับแล้ว ห.ร.ม. ของ a และ b ก็คือ จำนวนนับทีม่ ำกที่สุดที่นำไปหำร
a และ b ลงตัว นัน่ เอง

วิธีการหาร ห.ร.ม สามารถทาได้ ดังนี้


1) โดยใช้ ตัวประกอบ
ตัวอย่ างที่ 3 จงหำ ห.ร.ม. ของ 36 และ 60
วิธีทา ตัวประกอบของ 36 ได้แก่ …………………………………………………………………….

ตัวประกอบของ 60 ได้แก่ ……………………………………………………………………

ตัวประกอบร่ วมของ 36 และ 60 ได้แก่ ………………………………………………………..

ตัวประกอบร่ วมที่มำกที่สุด คือ …………………………………………………………………

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 36 และ 60 คือ ……………………….

2) โดยวิธีแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ างที่ 4 จงหำ ห.ร.ม. ของ 12 , 18 และ 24

วิธีทา เพรำะว่ำ 12 = …………………………………………………………………………………

18 = …………………………………………………………………………………..

24 = …………………………………………………………………………………..

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12 , 18 และ 24 คือ …………………………………………………………………..


5

3) โดยการหารสั้ น
ตัวอย่ างที่ 5 จงหำ ห.ร.ม. ของ 54 , 60 และ 90
วิธีทา

4) โดยใช้ ข้ันตอนวิธีหาร (ขั้นตอนวิธีของยูคลิด)


กรณีต้องการหา ห.ร.ม. ของจานวนนับสองจานวน
ตัวอย่ างที่ 6 จงหำ ห.ร.ม. ของ 56 และ 98 จงหำ ห.ร.ม. ของ 595 และ 252

กรณีที่ต้องการหา ห.ร.ม. ของจานวนนับสามจานวน


ตัวอย่ างที่ 7 จงหำ ห.ร.ม. ของ 36 , 54 และ 72

ตัวอย่ างที่ 8 จงหำ ห.ร.ม. ของ 756 , 1,764 และ 2,100


6

แบบฝึ กทักษะที่ 3
1.จงหำ ห.ร.ม ของจำนวนต่อไปนี้ โดยวิธีแยกตัวประกอบ
1) 18 และ 42 2) 56 และ 98

3) 36 , 60 และ 84 4) 108 , 180 และ 324

2. จงหำ ห.ร.ม ของจำนวนต่อไปนี้ โดยวิธีหำรสั้น


1) 45 และ 72 2) 468 และ 864

3) 75 , 135 และ 180 4) 48 , 64 และ 120


7

3. จงหำ ห.ร.ม ของจำนวนต่อไปนี้ โดยใช้ข้นั ตอนวิธีหำร(วิธีของยูคลิด)


1) 30 และ 42 2) 1,550 และ 1,250

3) 450 , 1,230 และ 1,810

ประโยชน์ ของ ห.ร.ม.


1) ใช้ ทอนเศษส่ วนให้ เป็ นเศษส่ วนอย่างต่า
180
ตัวอย่ างที่ 9 จงทำ ให้เป็ นเศษส่ วนอย่ำงต่ำ
1440

9, 271
ตัวอย่ างที่ 10 จงทำ ให้เป็ นเศษส่ วนอย่ำงต่ำ
19, 783
8

2) ใช้ ในการแบ่ งสิ่ งของซึ่งไม่ เท่ากัน ให้ เป็ นส่ วนๆ ทีย่ าวเท่ ากัน และยาวที่สุด
ตัวอย่ างที่ 11 มีเชือกอยู่ 3 เส้น วัดได้ยำว 35 , 49 และ 63 เซนติเมตร ตำมลำดับ ถ้ำจะแบ่งเชือกให้เป็ นเส้นสั้นๆ
แต่ให้ยำวเท่ำกันทุกเส้น จะได้เชือกยำวที่สุดเท่ำไร และได้เชือกกี่เส้น

ตัวอย่ างที่ 12 รั้วบ้ำนมีควำมยำว 45 เมตร และกว้ำง 35 เมตร หำกปั กเสำเพือ่ ขึงรั้วลวดหนำมโดยรอบ โดยที่เสำแต่ละ
ต้นห่ำงเท่ำๆกัน จะต้องปั กเสำห่ำงกันเท่ำไรจึงจะประหยัดเสำที่สุด และใช้เสำกี่ตน้

ตัวอย่ างที่ 13 ที่ดินหนึ่งเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้ำขนำด 56 105 ตำรำงเมตร หำกต้องกำรแบ่งเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ให้แต่ละแปลงมีพ้นื ที่มำกที่สุดและมีขนำดเท่ำกัน จะแบ่งได้ท้งั หมดกี่แปลง และแต่ละแปลงมีขนำดเท่ำไร

ตัวอย่ างที่ 14 ถ้ำ 6 เป็ น ห.ร.ม. ของ 72 และ 210 แล้ว จงหำตัวประกอบร่ วมของ 72 และ 210
9

ข้ อสั งเกต
ตัวประกอบร่ วมของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป คือ จำนวนนับที่หำร ห.ร.ม. ของจำนวนนับนั้นลงตัว

ตัวอย่ างที่ 15 ถ้ำ 72 เป็ น ห.ร.ม. ของ 720 และ 1,512 แล้ว จงหำตัวประกอบร่ วมของ 720 และ 1,512

ตัวอย่ างที่ 16 ถ้ำ A , B และ C เป็ นจำนวนนับ ซึ่ งมี ห.ร.ม. เป็ น 6 แล้ว จงหำผลคูณของตัวประกอบร่ วมทั้งหมด
ของ A , B และ C

ตัวอย่ างที่ 17 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุด ซึ่งเมื่อนำไปหำร 213 จะเหลือเศษ 3 และเมื่อนำไปหำร 463 จะเหลือเศษ 1

ตัวอย่ างที่ 18 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 429 และ 652 แล้วเหลือเศษ 3 และ 4 ตำมลำดับ


10

ตัวอย่ างที่ 19 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 21 , 57 และ 75 แล้วเหลือเศษเท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 20 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 323 , 227 และ 155 แล้วเหลือเศษเท่ำกัน

แบบฝึ กทักษะที่ 4
1) จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 220 และ 540 ได้ลงตัว
2) จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 288 และ 654 แล้วเหลือเศษ 2 และ 6 ตำมลำดับ
3) จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดซึ่งหำร 380 , 768 และ 960 ได้ลงตัว
4) มีเชือกอยูส่ ำมเส้นยำว 42 , 48 และ 54 เซนติเมตร ถ้ำจะตัดเชือกทั้งสำมเส้นให้เป็ นท่อนๆให้เท่ำกันและยำวที่สุด
เท่ำที่จะทำได้ จะได้เชือกยำวท่อนละกี่เซนติเมตร และได้เชือกทั้งหมดกี่ทอ่ น
5) มีกระดำษกว้ำง 0.80 เมตร ยำว 1.30 เมตร ถ้ำต้องกำรตัดเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้มีขนำดใหญ่ที่สุดโดยไม่เหลือเศษ
จะตัดได้ท้งั หมดกี่แผ่น
6) โรงเรี ยนแห่ งหนึ่งมีนกั เรี ยนชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 1 , 2 และ 3 จำนวน 210 คน 240 คน และ 270 คน ตำมลำดับ
ถ้ำทำงโรงเรี ยนต้องกำรแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละเท่ำๆกัน โดยให้นกั เรี ยนในแต่ละกลุ่มเป็ นนักเรี ยนใน
ชั้นเดียวกัน จะแบ่งนักเรี ยนได้อย่ำงมำกที่สุดกลุ่มละกี่คน และแบ่งได้ท้งั หมดกี่กลุ่ม
125
7) จงทำ ให้เป็ นเศษส่วนอย่ำงต่ำโดยใช้หลักกำรของ ห.ร.ม.
225
11

1.5 ตัวคูณร่ วมน้ อย (ค.ร.น.)


จำนวนนับที่นอ้ ยที่สุดที่มีจำนวนนับสองจำนวนใดๆเป็ นตัวประกอบ จะเรี ยกจำนวนนับนั้นว่ำ ตัวคูณร่ วมน้ อยที่สุด
ของจำนวนนับทั้งสองนั้น
กำรหำ ค.ร.น. ของจำนวนสองจำนวนใดๆ ทำได้หลำยวิธี ดังนี้
1. โดยการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ างที่ 1 จงหำ ค.ร.น. ของ 8 และ 12 ตัวอย่ างที่ 2 จงหำ ค.ร.น. ของ 18 และ 24

ตัวอย่ างที่ 3 จงหำ ค.ร.น. ของ 25 , 30 และ 40 ตัวอย่ างที่ 4 จงหำ ค.ร.น. ของ 8 , 32 และ 56

2. โดยวิธีหารสั้ น
ตัวอย่ างที่ 5 จงหำ ค.ร.น. ของ 18 และ 30 ตัวอย่ างที่ 6 จงหำ ค.ร.น. ของ 30 และ 40
12

ตัวอย่ างที่ 7 จงหำ ค.ร.น. ของ 12 , 16 และ 20 ตัวอย่ างที่ 8 จงหำ ค.ร.น. ของ 14 , 28 และ 63

ประโยชน์ ของ ค.ร.น.


1. ใช้ ในการบวกและลบเศษส่ วน
7 3 5 1
ตัวอย่ างที่ 9 จงหำผลลบของ  ตัวอย่ างที่ 10 จงหำผลบวกของ 
12 10 14 6

5 3 1 5 1 4
ตัวอย่ างที่ 11 จงหำผลลัพธ์ของ   ตัวอย่ างที่ 12 จงหำผลสำเร็จของ   
7 4 6 6 4 9
13

2. ใช้ กับการทางานหลายๆ งานที่มีจุดเริ่มต้ นพร้ อมกัน แต่ ใช้ ช่วงเวลาต่ างกัน เพือ่ หำจุดที่พบกัน หรื อเริ่ มงำนใหม่พร้อม
กันอีกครั้งหนึ่ง
ตัวอย่ างที่ 13 นำรี นุกูลและนิวฒั น์ วิง่ รอบสนำมกีฬำแห่งหนึ่ง แต่ละคนใช้เวลำวิง่ รอบสนำม 1 รอบ ในเวลำต่ำงๆกัน
คือ 10 , 15 และ 20 นำที ตำมลำดับ หำกกำรวิง่ ของคนทั้งสำมคนเป็ นกำรวิง่ ออกกำลังกำยยำมเช้ำคนละหลำยๆ
รอบ เมื่อใดทั้งสำมคนจะวิง่ ผ่ำนจุดเริ่ มต้นพร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 14 ระฆังรอบโบสถ์แห่งหนึ่งมี 3 ใบ ใบแรกนำน 9 นำที จึงจะตีครั้งหนึ่ง ใบที่สองนำน 18 นำที จึงจะตีครั้งหนึ่ง


ใบที่สำมนำน 24 นำที จึงจะตีครั้งหนึ่ง หำกเริ่ มต้นด้วยกำรตีระฆัง 3 ใบ พร้อมกัน นำนอีกเท่ำใด ระฆังทั้งสำมใบ
จึงจะตีพร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 15 แดนตั้งนำฬิกำปลุก 4 เรื อน เรื อนที่หนึ่งปลุกทุกๆ 2 นำที เรื อนที่สองปลุกทุกๆ 4 นำที เรื อนที่สำมปลุกทุกๆ
5 นำที เรื อนที่สี่ปลุกทุกๆ 6 นำที ถ้ำให้นำฬิกำทุกเรื อนปลุกพร้อมกัน เมื่อเวลำ 06.00 น. จงหำว่ำนำฬิกำทั้งสี่
เรื อนจะปลุกพร้อมกันเป็ นครั้งที่สี่เมื่อเวลำเท่ำใด
14

ตัวอย่ างที่ 16 ช่ำงไฟฟ้ ำสร้ำงกระดิ่งไฟฟ้ ำ 8 ตัว ซึ่งกระดิ่งแต่ละตัวดังนำน 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 วินำที ตำมลำดับ


ในกำรกดสวิตซ์แต่ละครั้ง ถ้ำเริ่ มต้นให้กระดิ่งทำงำนโดยกดพร้อมกันทุกตัว ต่อมำภำยใน 7 ชัว่ โมง จะมีกำร
กดสวิตซ์พร้อมกันทุกตัวกี่ครั้ง

ตัวอย่ างที่ 17 จงหำจำนวนนับที่นอ้ ยที่สุด ซึ่ งเมื่ อหำรด้วย 4 , 8 และ 10 จะเหลือเศษ 2 เท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 18 จงหำจำนวนนับที่นอ้ ยที่สุด ซึ่ งเมื่อหำรด้วย 15 , 20 และ 70 จะเหลือเศษ 5 เท่ำกัน

1.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ าง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


พิจำรณำ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 8 และ 12
15

ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับสองจานวนเท่ ากับผลคูณของจานวนนับทั้งสอง

ตัวอย่ างที่ 19 กำหนดจำนวนนับสองจำนวน จำนวนหนึ่งเป็ น 20 และผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


ของจำนวนทั้งสองเป็ น 240 จงหำอีกจำนวนหนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 20 ค.ร.น. ของ 20 และ 30 เป็ นกี่เท่ำของ ห.ร.ม. ของจำนวนทั้งสอง

ตัวอย่ างที่ 21 ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของเลขสองจำนวนเป็ น 33,600 ถ้ำจำนวนหนึ่งเป็ น 120 อีกจำนวน
หนึ่งมีค่ำเท่ำใด
16

โจทย์ ฝึกทักษะ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


1) จำนวนใดไม่ ใช่ ตวั ประกอบของ 8535
ก. 3 ข. 15 ค. 569 ง. 671

2) ข้อควำมใดไม่ถูกต้อง
ก. จำนวนนับที่หำรจำนวนนับ a ลงตัว เรี ยกว่ำตัวประกอบของ a
ข. ถ้ำ a และ b เป็ นจำนวนนับ a จะเป็ นตัวประกอบของ a  b
ค. ถ้า a และ b เป็ นจํานวนนับ a_ จะเป็ นตัวประกอบของ a
b
ง. จำนวนนับ a หำรจำนวนนับ b ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนนับ c ซึ่ง b  ac

3) จำนวนนับที่นอ้ ยที่สุดที่มีตวั ประกอบเฉพาะต่ำงกัน 5 ตัว ตรงกับข้อใดต่อไปน้ี


ก. 128 ข. 256 ค. 2,310 ง. 30,030

4) ข้อใดเป็ น ห.ร.ม. ของ 76 และ


114 ก. 26 ข. 38 ค. 76 ง. 228

5) ห.ร.ม. ของ 840 , 660 และ 780 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


ก. 15 ข. 30 ค. 60 ง. 120

6) ผลบวกของ ค.ร.น. ของ 72 และ 120 กับ ค.ร.น. ของ 225 และ 135 เท่ำกับข้อใดต่อไปน้ี
ก. 345 ข. 485 ค. 585 ง. 1,035

7) มีเชือก 3 เส้น ยาว 90 , 210 และ 330 เมตร ถ้าจะแบ่งเป็ นเส้นส้ันๆ ให้เท่ำๆกัน และยาวที่สุด
จะได้เชือกท้ังหมดกี่เส้น
ก. 20 เส้น ข. 21 เส้น ค. 30 เส้น ง. 31 เส้น

8) จำนวนนับที่มากที่สุดที่หาร 32 , 68 และ 86 แล้วเหลือเศษ 2 เท่ำกัน ตรงกับข้อใดต่อไปน้ี


ก. 2 ข. 3 ค. 6 ง. 8

9) ถ้าจำนวนนับ 2 จำนวน มีผลคูณเท่ำกับ 170 และมี ห.ร.ม. เท่ำกับ 5 แล้ว ค.ร.น. ของจำนวนนับท้ังสองน้ี
เท่ำกับข้อใด
ก. 33 ข. 34 ค. 35 ง. 36
17

เพิ่มเติม
ขั้นตอนวิธีการหาร ( Division Algorithm)
ถ้ำ a และ b เป็ นจำนวนเต็ม โดยที่ b  0 แล้ว จะมีจำนวนเต็ม q และ r เพียงชุดเดียว
ซึ่ง a  bq  r โดย 0  r  | b | เรี ยก q ว่ำ ผลหาร (quotient) และ r ว่ำ เศษเหลือ (remainder)

เช่น 9 หำรด้วย 2 เขียนแทนได้เป็ น


3 หำร 11 เขียนแทนได้เป็ น
-15 หำรด้วย 4 เขียนแทนได้เป็ น
21 หำรด้วย - 6 เขียนแทนได้เป็ น

ตัวอย่ างที่ 2 จงหำผลหำรและเศษเหลือจำกกำรหำรจำนวนข้ำงหน้ำด้วยจำนวนข้ำงหลังใน


แต่ละข้อต่อไปนี้
1. 8 , 7 2. -42 , 6

3. -52 , 11 4. 130 , 15

5. 100 , 17 6. 243 , 20

ตัวอย่ างที่ 3 จงหำจำนวนเต็มบวกทั้งหมดที่หำร 491 และ 519 แล้วมีเหลือเศษเท่ำกัน


18

ตัวอย่ างที่ 4 จงหำจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดที่หำร 323 , 227 และ 155 แล้วมีเหลือเศษเท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 5 จงหำจำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้ อยที่สุดที่หำรด้วย 4 , 6 และ 13 แล้วมีเศษเป็ น 3 เท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 6 ให้ m และ n เป็ นจำนวนเต็มบวก


ถ้ำ 5 หำร m เหลือเศษ 4 และ 5 หำร n เหลือเศษ 2 แล้ว 5 หำร (m + n) เหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

ตัวอย่ างที่ 7 ถ้ำ n เป็ นจำนวนเต็มบวกที่มำกที่สุดซึ่งหำร 90 เหลือเศษ 6 และหำร 150 เหลือเศษ 3 แล้ว n หำร 41
เหลือเศษเท่ำใด
ก. 5
ข. 6
ค. 18
ง. 20
1

สมบัตขิ องจํานวนนับ

 จํานวนนับและการหารลง
จํานวนนับ คือ จํานวนเต็มทีมากกว่าศูนย์ได้ แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, …
การหารลงตัว คือ การหารทีมีเศษเหลือเป็ นศูนย์หรือเรียกว่าไม่มีเศษ เช่น
24  8 = 3 ไม่มีเศษ กล่าวได้ วา่ 8 หาร 24 ลงตัวเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 824
30  4 = 7 เศษ 2 กล่าวได้ วา่ 4 หาร 35 ไม่ลงตัวเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 4 | 30
ตัวอย่ าง 1 จงตอบคําถามต่อไปนี
1) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 3 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
2) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 4 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
3) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 6 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
4) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 2 และ 3 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
5) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 2 และ 3 ลงตัวแต่หารด้ วย 4 ไม่ลงตัวมา 5จํานวน
………………………………………………………………………………….

 สมบัตกิ ารหารลงตัว ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนนับใดๆ


1. ถ้ า a หาร b ลงตัว และ b หาร c ลงตัว แล้ ว a หาร c ลงตัว
2. ถ้ า a หาร b ลงตัว และ a หาร c ลงตัว แล้ ว a หาร b  c ลงตัว
3. ถ้ า a หาร b ลงตัว และ a หาร c ลงตัว แล้ ว a หาร b  c ลงตัว
4. 2 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 2 หารเลขหลักหน่วยลงตัว (หลักหน่วยเป็ นเลขคู)่
5. 4 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 4 หารจํานวน 2 หลักสุดท้ ายหน่วยลงตัว
6. 8 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 8 หารจํานวน 3 หลักสุดท้ ายหน่วยลงตัว
7. 3 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 3 หารผลบวกของตัวเลขในแต่ละหลักลงตัว
8. 9 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 9 หารผลบวกของตัวเลขในแต่ละหลักลงตัว
9. 11 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 11 หารผลต่างของตัวเลขในตําแหน่งคูแ่ ละคีลงตัว
10. 5 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ หลักหน่วยเป็ น 0 หรือ 5
2

ตัวอย่ าง 2 จงพิจารณาว่าข้ อใดต่อไปนี ถูก() หรือผิด ()


…………. (1) 2 หาร a ลงตัว และ a หาร b ลงตัว จะได้ วา่ 2 หาร b ลงตัวด้ วย
………….. (2) 5 หาร a ลงตัว และ 5 หาร b ลงตัว จะได้ วา่ 5 หาร a + b ลงตัว
………….. (3) a หาร b ลงตัว จะได้ วา่ b ก็หาร a ลงตัวด้ วย
………….. (4) 7 หาร a ลงตัว จะได้ วา่ 7 หาร a  a ลงตัว
………….. (5) 2 หารจํานวนทีลงท้ ายด้ วย 0, 2, 4, 6, 8 เสมอ
………….. (6) 4 หารจํานวน 8,999,123,014,507,012 ลงตัว
………….. (7) 8 หารจํานวน 1,888,111,888,111,188 ลงตัว
………….. (8) 3 หารจํานวน 1,271,901,875
………….. (9) 9 หารจํานวน 1,271,901,875
………….. (10) 11 หารจํานวน 4,184,312
………….. (11) 2 และ 3 หารจํานวน 12,450,678,008
………….. (12) a หาร b ลงตัว และ b หาร 35 แล้ ว a หาร 35 ลงตัวด้ วย

 ตัวประกอบของจํานวนนับ
ตัวประกอบ คือ จํานวนนับทีสามารถหารจํานวนนันได้ ลงตัว เราเรียกว่าเป็ นตัวประกอบของ
จํานวนนัน เช่น 2 เป็ นตัวประกอบของ 4 และจํานวนคูท่ กุ จํานวนมี 2 เป็ นตัวประกอบ , 5 เป็ นตัว
ประกอบของ 65 เป็ นต้น

ตัวอย่ าง 3 จงหาตัวประกอบทังหมดของจํานวนนับต่อไปนี
(1) ตัวประกอบของ 10 ได้ แก่ ………………………………………………..
(2) ตัวประกอบของ 24 ได้ แก่ ……………..…………………………………
(3) ตัวประกอบของ 21 ได้ แก่ …………….…………….……………………
(4) ตัวประกอบของ 13 ได้ แก่ …………….…………….……………………
(5) ตัวประกอบของ 36 ได้ แก่ ………………….………..……………………
(6) ตัวประกอบของ 48 ได้ แก่ ………………….……………………………..
(7) ตัวประกอบของ 64 ได้ แก่ ………………………..…….…………………
(8) ตัวประกอบของ 81 ได้ แก่ …………………..……….…...………………
(9) ตัวประกอบของ 97 ได้ แก่ ………………….……..………………………
(10) ตัวประกอบของ 100 ได้ แก่ …….……………………..……………………
3

ตัวอย่ าง 4 จงหาจํานวนนับจากเงือนไขต่อไปนี
(1) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 2, 4 เป็ นตัวประกอบ คือ……………………………
(2) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 2, 3 เป็ นตัวประกอบ คือ……………………………
(3) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 3, 4 เป็ นตัวประกอบ คือ………..………………….
(4) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 2, 3, 5 เป็ นตัวประกอบ คือ……………………………
(5) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 3, 4, 6, 8 เป็ นตัวประกอบ คือ ….………………….
(6) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 2 ตัว คือ…...…………………….
(7) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 3 ตัว คือ…...……….……………
(8) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 4 ตัว คือ…...……………………
(9) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 5 ตัว คือ…...……………………
(10) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 6 ตัว คือ…..………..………….

 จํานวนเฉพาะและจํานวนประกอบ
จํานวนประกอบ คือ จํานวนทีมีตวั ประกอบมากกว่า 2 ตัว
เช่น 25 เป็ นจํานวนประกอบเพราะว่า 25 มีตวั ประกอบมากกว่า 2 ตัวได้ แก่ 1, 5, 25
8 เป็ นจํานวนประกอบเพราะว่า 8 มีตวั ประกอบมากกว่า 2 ตัวได้ แก่ 1, 2, 4, 8
จํานวนเฉพาะ คือ จํานวนทีมีตวั ประกอบเพียงสองตัวคือ1 และตัวมันเอง
เช่น 2 เป็ นจํานวนเฉพาะ เพราะว่า 2 มีตวั ประกอบ 2 ตัวได้ แก่ 1 และ 2
11 เป็ นจํานวนเฉพาะ เพราะว่า 11 มีตวั ประกอบ 2 ตัวได้ แก่ 1 และ 11

ตัวอย่ าง 5 จงพิจารณาว่าจํานวนต่อไปนีเป็ นจํานวนเฉพาะหรือไม่


(1) 2 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..
(2) 3 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..
(3) 5 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..
(4) 6 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..

ข้ อสังเกต (1) 1 ไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ


(2) ตัวประกอบของจํานวนนับใดๆมี 2 ชนิด คือ
(2.1) ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบทีเป็ นจํานวนเฉพาะ
(2.2) ตัวประกอบทีไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ
เช่น 26 มีตวั ประกอบได้ แก่ 1, 2, 13, 26 ตัวประกอบเฉพาะได้ แก่ 2 และ 13
4

 การหาจํานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ
การหาจํานวนเฉพาะ นัน วิธีหนึงเราสามารถใช้ วิธีของ เอราโตสเตเนส (Eratoshenes) ซึง
วิธีดงั กล่าวเรียกว่า ตระแกรงเอราโตสเตเนส (The Sieve of Eratosthenes) ดังนี
ตัวอย่ าง 6 จงหาจํานวนเฉพาะทุกจํานวนระหว่าง 1 ถึง 100

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

จากวิธีการหาจํานวนเฉพาะในตัวอย่าง 5 จงหาตอบคําถามต่อไปนี
(1) ดังนันจํานวนเฉพาะระหว่าง 1 ถึง 100 ได้ แก่ ……………………………………
………………………………………………………………………………….
(2) จํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 100 มีทงหมด
ั ………………………….……….. จํานวน
(3) จํานวนเฉพาะทีน้ อยทีสุดคือ ……………………………...………….……………
(4) จํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 100 ทีมีคา่ มากทีสุดคือ …………………………………..
(5) จํานวนเฉาะทีเป็ นเลขคูค่ ือ ………………………………………………….……..
(6) จํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 100 ทีลงท้ ายด้ วย 1 ได้ แก่ ……………………………….
(7) จํานวนเฉพาะสองหลักทีน้ อยทีสุดคือ ………………………………………………
(8) จํานวนเฉพาะทีลงท้ ายด้ วย 5 มี ……….. จํานวน ได้ แก่ …………………………..
(9) อาจจะมีจํานวนคูท่ ีมากกว่า 100 ซึงเป็ นจํานวนเฉพาะได้หรือไม่ ……………………..
(10) จงหาจํานวนเฉพาะสามหลักทีมีคา่ น้ อยทีสุด ……………………………………….
(11) จํานวนเฉพาะสองจํานวนทีมีผลบวกเป็ นจํานวนเฉพาะ เช่น ………………………….
(12) จํานวนเฉพาะสองจํานวนทีมีผลต่างเป็ นจํานวนเฉพาะ เช่น ………………………….
(13) จํานวนเฉพาะสองจํานวนทีมีผลคูณเป็ นจํานวนเฉพาะ เช่น …………….…………….
(14) จํานวนเฉพาะทีมีคา่ มากทีสุดและทีมีคา่ น้ อยทีสุดต่างกันเท่ากับ ……………………...
(15) ผลบวกของจํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 50 เท่ากับ ……………………………………
5

 วิธีตรวจสอบการเป็ นจํานวนเฉพาะของจํานวนนับ
วิธีการตรวจสอบใช้ หลักการดังนี
ถ้ าเราต้ องการตรวจสอบว่า จํานวนนับ n เป็ นจํานวนเฉพาะหรือไม่ เรามีวิธีการดังนี
1) รวบรวมจํานวนเฉพาะ p ซึง p  p < n
2) นําจํานวนเฉพาะทีรวบรวมได้ ไปหาร n
 ถ้ าไม่มีจํานวนเฉพาะตัวใดหาร n ลงตัว แล้ ว n จะเป็ นจํานวนเฉพาะ
 ถ้ ามีจํานวนเฉพาะตัวใดตัวหนึงหาร n ลงตัว แล้ ว n จะเป็ นจํานวนไม่ใช่เฉพาะ

ตัวอย่ าง 7 จงตรวจสอบจํานวนนับต่อไปนีเป็ นจํานวนเฉพาะหรือไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ


(1) จํานวนเฉพาะทียกกําลังสองแล้ วน้ อยกว่า 131 ได้ แก่ ……………………………
จากการตรวจสอบจะพบจํานวนนับทีหาร 131 ลงตัวได้ แก่ ………………….……
ดังนัน 131 …………………………………………………………………
(2) จํานวนเฉพาะทียกกําลังสองแล้ วน้ อยกว่า 167 ได้ แก่ ……………………………
จากการตรวจสอบจะพบจํานวนนับทีหาร 167 ลงตัวได้ แก่ ……………………….
ดังนัน 167 …………………………………………………………………
(3) จํานวนเฉพาะทียกกําลังสองแล้ วน้ อยกว่า 213 ได้ แก่ ……………………………
จากการตรวจสอบจะพบจํานวนนับทีหาร 213 ลงตัวได้ แก่ ……………………….
ดังนัน 213 …………………………………………………………………

ตัวอย่ าง 8 จงพิจารณาว่าข้ อใดต่อไปนีเป็ นจริง


………. (1) จํานวนเฉพาะทุกจํานวนเป็ นจํานวนคี
………. (2) จํานวนเฉพาะทุกจํานวนทีมากกว่า 2 เป็ นจํานวนคีทังหมด
………. (3) จํานวนคีทุกจํานวนเป็ นจํานวนเฉพาะ
………. (4) ผลบวกของจํานวนเฉพาะสองจํานวนเป็ นจํานวนประกอบเสมอ
………. (5) ผลคูณของจํานวนเฉพาะสองจํานวนเป็ นจํานวนประกอบเสมอ
………. (6) มีจํานวนเฉพาะสองจํานวนทีให้ ผลต่างเป็ นจํานวนเฉพาะ
………. (7) มีจํานวนเฉพาะสองจํานวนทีให้ ผลต่างเป็ นจํานวนประกอบ
………. (8) ผลบวกของจํานวนเฉพาะทีอยู่ระหว่าง 1 และ 30 มีคา่ เท่ากับ 127
………. (9) จํานวนนับทีไม่เท่ากับ 3 แต่หารด้ วย 3 ลงตัว เป็ นจํานวนประกอบ
………. (10) มีจํานวนนับบางจํานวนทีสามารถเป็ นทังจํานวนเฉพาะและจํานวนประกอบ
6

 การแยกตัวประกอบของจํานวนนับ
การแยกตัวประกอบ หมายถึง การเขียนจํานวนนันอยูใ่ นรูปผลคูณของตัวประกอบเฉพาะ

ตัวอย่ าง 9 จงแยกตัวประกอบของจํานวนนับต่อไปนี
12 = …………………………………………………………………..………..…
18 = ……………………………………….………………………………………
24 = ……………………………………….………………………………………
39 = …………………………………………..…………………………………..
30 = ………………………………………..……………………………………..
120 = ……………………………………..………………………………………..
108 = ……………………………….……..……………………………………….
1,000 = …………..………………………...…..…………………………………….
1,800 = ……….……….………………...…………………………………………..

 ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)


ตัวหารร่ วม ของจํานวนนับตังแต่สองจํานวนขึนไป หมายถึง จํานวนทีเป็ นตัวประกอบของทุก
จํานวนทีกําหนดให้ เช่น ตัวหารร่วมของ 8 และ 16 ได้ แก่ 2, 4, 8 เป็ นต้ น
ตัวหารร่ วมมาก ของจํานวนนับตังแต่สองจํานวนขึนไป หมายถึง ตัวหารร่วมทีค่ามากทีสุดของ
จํานวนนับเหล่านัน เช่น ตัวอย่างข้ างต้นจะมี 8 เป็ นตัวหารร่วมมากของ8 และ16

ตัวอย่ าง 10 จงหาตัวหารร่วมมากของจํานวนต่อไปนี
(1) จงหาตัวหารร่วมมากของ 36 และ 48
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 36 ได้ แก่ ……………………………….……………..
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 48 ได้ แก่ ……………………………….……………..
 ตัวหารร่วมของ 36 และ 48 ได้ แก่ ………………………………………………..
 ตัวหารร่วมมากของ 45 และ 40 ได้ แก่ …………………………..………………..
(2) จงหาตัวหารร่วมมากของ 20 และ 21
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 20 ได้ แก่ ……………………………………………..
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 21 ได้ แก่ ……………………………………………..
 ตัวหารร่วมของ 20 และ 21 ได้ แก่ ………………………………………………..
 ตัวหารร่วมมากของ 20 และ 21 ได้ แก่ ……………………………………………
7

 วิธีการหาตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)


(1) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ าง 11 จงหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับต่อไปนี
(1) 36 และ 48 (2) 84 และ 105
36 = ………………………….… 84 = ………..…………….………
48 =………………………….….. 105= ……………….…….…….…
ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(3) 7 และ 14 (4) 15 และ 77


7 = ……………………………… 15 = ………………………………
14 = ……………………………… 77 = ……………………………….
ห.ร.ม. = ………….….……..…….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(5) 18 , 32 และ 64 (6) 100 , 78 และ 16


18 = ………………………………. 100 = ………………….…………
32 = ………………………………. 78 = ………………………………
64 = ………………………………. 16 = ………………………………
ห.ร.ม. = ………….….…………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(7) 24 , 36 และ 60 (8) 70, 105 และ 140


24 = ………………………………. 70 = ….………….………….……
36 = ………………………………. 105 = ..…………………….………
60 = ………………………………. 140 = ……………………..……….
ห.ร.ม. = ………….….…………….. ห.ร.ม. = …………….…….………..

(9) 40, 64, 84 และ 96 (10) 18, 49, 55 และ 121


40 = ………………………………. 18 = ………………………………
64 = ………………………………. 49 = ………………………………
84 = ………………………………. 55 = ………………………………
96 = ………………………………. 121 = ……………………………...
ห.ร.ม. = ………….……..………….. ห.ร.ม. = …………….……….…….
8

(2) การหา ห.ร.ม.โดยวิธีการตังหารสัน


ตัวอย่ าง 12 จงหา ห.ร.ม.ของจํานวนนับต่อไปนีโดยวิธีการตังหารสัน
(1) 45 และ 85 (2) 18 และ 78

ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(3) 210 , 1,155 และ 1,365 (4) 21 , 91 และ 55

ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(5) 48, 56 , 72 และ 32 (6) 36 , 45 , 78และ 72

ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(3) การหา ห.ร.ม ด้ วยวิธีขนตอนวิ


ั ธีการหารของยูคลิด ( คอนโด )
นิยมใช้ กบั จํานวนทีมีคา่ มาก(หลายหลัก)
ตัวอย่ าง 13 จงหา ห.ร.ม.ของจํานวนนับต่อไปนีด้ วยวิธียคู ลิด
(1) 170 และ 385 (2) 156 และ 288

ดังนัน ห.ร.ม.ของ 170 และ 385 คือ …...… ดังนัน ห.ร.ม. 156 และ 288 คือ ….…
9

 ตัวคูณร่ วมน้ อย (ค.ร.น.)


ตัวคูณร่ วม คือ จํานวนทีหารด้ วยจํานวนอืนๆลง เช่น 14 เป็ นตัวคูณร่วมของ 2 และ 7 หรือ
หรือ ของ 7 และ 14 อีกตัวอย่างเช่น 8, 16, 32 เป็ นตัวคูณร่วมของ 4, 8 และ 16
ตัวคูณร่ วมน้ อย คือ จํานวนทีน้ อยทีสุดของตัวคูณร่วมของจํานวนแต่ละชุด

ตัวอย่ าง 14 จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของจํานวนต่อไปนี


(1) จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของ 6 และ 8
ตัวคูณของ 6 ได้ แก่ …………………………….………………….……………..
ตัวคูณของ 8 ได้ แก่ …………………………………………….….……………..
 ตัวคูณร่วมของ 6 และ 8 ได้ แก่ …………………………………….……………..
 ตัวคูณร่วมน้ อยของ 6 และ 8 ได้ แก่ …………………………..……….…………..
(2) จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของ 12 และ 16
ตัวคูณของ 12 ได้ แก่ …………………………….…..…………….……………..
ตัวคูณของ 16 ได้ แก่ ………………………………..………….….……………..
 ตัวคูณร่วมของ 12 และ 16 ได้ แก่ …………………………………….…………..
 ตัวคูณร่วมน้ อยของ 12 และ 16 ได้ แก่ …………………………..…….…………..

 วิธีการหาตัวคูณร่ วมน้ อย
(1) ด้ วยวิธีการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ าง 15 จงหา ค.ร.น.ของจํานวนต่อไปนี
(1) 6 และ 8 (2) 18 และ 20
6 = …………………………………. 18 = ………………………...…….
8 = …………………………………. 20 = ………………………...…….
ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………

(3) 15, 20 และ 35 (4) 33, 69 และ 72


15 = ……………………………… 33 = ……………………………….
20 = ……………………………… 69 = ……………………………….
35 = ……………………………… 72 = ……………………………….
ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………
10

(5) 18 , 32 และ 64 (6) 100 , 78 และ 16


18 = ………………………………. 100 = ………………….…………
32 = ………………………………. 78 = ………………………………
64 = ………………………………. 16 = ………………………………
ค.ร.น. = ………….….…………….. ค.ร.น. = …………….……………..

(7) 40, 64, 84 และ 96 (8) 18, 49, 55 และ 121


40 = ………………………………. 18 = ………………………………
64 = ………………………………. 49 = ………………………………
84 = ………………………………. 55 = ………………………………
96 = ………………………………. 121 = ……………………………...
ค.ร.น. = ………….……..………….. ค.ร.น. = …………….……….…….

(2) การหา ค.ร.น. ด้ วยวิธีการตังหารสัน


ตัวอย่ าง 16 จงหา ค.ร.น.ของจํานวนนับแต่ละข้ อต่อไปนี
(1) 45 และ 85 (2) 18 และ 78

ค.ร.น. = ………….….………….. ค.ร.น. = …………….……………..


(3) 32 , 20 และ 62 (4) 15 , 52 และ 50

ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………


(5) 15 , 21, 42 และ 75 (6) 9, 34, 51 และ 69

ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………


11

 โจทย์ ปัญหาเกียวกับการแยกตัวประกอบ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

1. โจทย์ปัญหาเกียวกับตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) จะมีลกั ษณะการถามดังนี


 การถูกแบ่งออกเท่าๆ กันไม่เหลือเศษและมากทีสุด ใหญ่สด ุ ยาวสุด เป็ นต้ น
 ให้ หาจํานวนกอง จํานวนแถว จํานวนกลุม ่ ทีแบ่งได้
 การถามหาขนาดและจํานวนของรูปสีเหลียมจัตรุ ัส เมือให้ แบ่งพืนทีหนึงๆ
ออกเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัสทีใหญ่ทีสุด
 การถามหาจํานวนต้ น(ของเสาหรื อของต้ นไม้ )ทีปั กรอบพืนที โดยให้ แต่ละต้ นอยู่
ห่างเท่ากันและห่างกันมากทีสุด หรือให้ ประหยัดทีสุด
 ให้ หาจํานวนทีมีคา่ มากทีสุด
ซึงในการหาจํานวนทีมีค่ามากทีสุดทีไปหารแล้ วเหลือเศษ มีวิธีดงั นี
1. เอาเศษทีเกิดจากการหารของแต่ละจํานวนไปลบจํานวนนันๆก่อน
2. นําผลทีได้ มาหา ห.ร.ม.
3. ห.ร.ม. ทีได้ นนคื
ั อจํานวนมากทีสุดทีต้ องการ

2. โจทย์ปัญหาเกียวกับตัวคูณร่วมน้ อย (ค.ร.น.) จะมีลกั ษณะการถามดังนี


 การไปแบ่งออกเท่าๆ กันไม่เหลือเศษจากจํานวนทีน้ อยสุด เล็กสุด สันสุด
 โจทย์ทีถามเกียวกับช่วงเวลาทีจะมาพบกันอีกครัง เช่น การวิงรอบสนาม
นาฬิกาปลุก ระฆังทีตี เป็ นต้น
 ให้ หาจํานวนทีมีคา่ น้ อยทีสุด
ซึงในการหาจํานวนทีมีค่าน้ อยทีสุดทีไปหารแล้ วเหลือเศษ มีวิธีดงั นี
1. หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดมาก่อน
2. นํา ค.ร.น. ทีได้ มาบวกเศษทีโจทย์ให้ มา
3. ผลบวกทีได้ คือจํานวนน้ อยทีสุดทีต้ องการ

3. โจทย์ปัญหาเกียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม.และ ค.ร.น.ของจํานวนนับสองจํานวน


มีความสัมพันธ์ดงั นี
“ผลคูณของเลขสองจํานวน = ผลคูณระหว่ าง ห.ร.ม.กับ ค.ร.น. ของสองจํานวนนัน”

4. โจทย์ในลักษณะอืนๆจะต้ องอาศัยความเข้ าในความหมายของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


อย่างดี ซึงอาจจะต้ องอาศัยการแยกตัวประกอบมาช่วย
12

ตัวอย่ าง 17 จงหาคําตอบแต่ละข้ อต่อไปนี


(1) มีเหล็กอยู่สามท่อน ท่อนแรกยาว 49 เมตร ท่อนทีสองยาว 35 เมตร และท่อนทีสาม
ยาว 42 เมตร นํามาตัดเป็ นท่อนสันๆ เท่ากันให้ ยาวทีสุด จะได้ ยาวท่อนละกีเมตร
และได้ ทงหมดกี
ั ท่อน

ตอบ …………………………………………………………………………….
(2) นักเรียน ป.6/1 , ป. 6/2 และ ป.6/3 มี 35 คน 49 คน และ 42 คน ตามลําดับ ถ้ า
ต้ องการแบ่งเป็ นนักเรียนเป็ นกลุม่ ๆให้ แต่ละกลุม่ เท่าๆกันและอยู่ในห้ องเดียวกัน จะแบ่ง
ได้ มากทีสุดกลุ่มละกีคน และได้ กีกลุ่ม

ตอบ …………………………………………………………………………….
(3) มีดินสอ 56 แท่ง ยางลบ 28 ก้ อน และปากกา 84 แท่ง แบ่งใส่ถงุ ๆละเท่าๆกันไม่ให้
เหลือและไม่ปนกันเลย จะแบ่งได้ มากทีสุดถุงละเท่าไรและได้ อย่างละกีถุง

ตอบ …………………………………………………………………………….
(4) กระดาษขนาด 30  36 ตารางเซนติเมตร ตัดเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัสเล็กๆให้ ได้ ขนาด
ใหญ่ ทสุี ดและไม่เหลือกระดาษทิงเลย จะได้ กีกระดาษรูปสีเหลียมจัตรุ ัสเล็กๆกีรูปและ
มีพืนทีเท่าไร

ตอบ …………………………………………………………………………….
(5) ต้ องการล้ อมรัวบริเวณบ้ านเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้ าขนาดกว้าง 90 เมตร และยาว 98 เมตร
ต้ องปั กเสาให้ ห่างกันต้นละเท่าไรจึงจะประหยัด และใช้ เสาทังหมดกีต้ น

ตอบ …………………………………………………………………………….
(6) ถ้ าต้ องการแบ่งแท่งไม้ ทรงสีเหลียมมุมฉากขนาด 24  12  30 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ให้ เป็ นแท่งไม่ทรงลูกบาศก์ให้ ได้ ขนาดใหญ่ ทสุี ดโดยไม่มีเศษไม้ เหลืออยูเ่ ลย
จะแบ่งได้ กีลูก และมีขนาดกีลูกบาศก์เซนติเมตร

ตอบ …………………………………………………………………………….
(7) จงหาจํานวนทีมากทีสุดทีหาร 44, 50 และ 62 แล้ วเหลือเศษ 2 เท่ากัน
ตอบ …………………………………………………………………………….
13

(8) จงหาจํานวนทีมากทีสุดทีหาร 330 จะเหลือเศษ 6 และเมือนําไปหาร 442 แล้ วจะ


เหลือเศษ 1

ตอบ …………………………………………………………………………….
(9)* จงหาจํานวนทีมากทีสุดทีหาร 74, 98 และ 114 แล้ วจะเหลือเศษเท่ากันและจงหา
เศษทีเหลือเท่ากันนัน

ตอบ …………………………………………………………………………….
(10) ชายคนหนึงเลียงไก่ 38 ตัว เลียงเป็ ด 86 ตัว และเลียงห่าน 122 ตัว เขาต้ องการแบ่ง
ไก่ เป็ ด และห่าน เป็ นกลุม่ เล็กๆ แต่ละกลุม่ มีจํานวนตัวเท่าๆกัน และมีจํานวนตัวมาก
ทีสุดเท่าทีจะทําได้ โดยทีเมือแบ่งแล้ วให้ มีสตั ว์สํารองชนิดละ 2 ตัว เขาจะแบ่งสัตว์ได้
ทังหมดกีกลุม่ กลุม่ ละกีตัว

ตอบ …………………………………………………………………………….
(11)* ถ้ า 35 เป็ น ห.ร.ม. ของ 175 และ 385 แล้ ว จงหาตัวประกอบร่วมทังหมดของ 175
และ 385 [หลักการ : ตัวประกอบร่วมของจํานวนนับ คือ ตัวประกอบของ ห.ร.ม. ของ
จํานวนนับเหล่านัน]

ตอบ …………………………………………………………………………….
(12)* ถ้ า 24 เป็ น ห.ร.ม. ของ A , B และ C แล้ ว จงหาผลบวกของตัวประกอบร่วมทังหมด
ของ A, B และ C

ตอบ …………………………………………………………………………….
(13)* ถ้ า A = 2  2  3  a
B=b335
C=2c57
และ ห.ร.ม. ของ A, B และ C เท่ากับ 30 จงหาจํานวน A, B และ C

ตอบ …………………………………………………………………………….
14

(14)* ถ้ า ห.ร.ม. ของ A และ B เท่ากับ 72 และ ห.ร.ม. ของ B และ C เท่ากับ 60 จงหา ห.ร.
ม. ของ A, B และ C [หลักการ : ห.ร.ม. A, B, C = ห.ร.ม. ของ ห.ร.ม. A, B และ
ห.ร.ม. B, C ]

ตอบ …………………………………………………………………………….
(15) จงหา ห.ร.ม. ของแต่ละข้ อต่อไปนี
(15.1) ห.ร.ม. ของ 1 ถึง 100 = ……………………………………………….
(15.2) ห.ร.ม. ของจํานวน 2, 4, 6, 8, … , 2548 = …………………………...
(15.3) ห.ร.ม. ของจํานวน 3, 5, 7, 9, . . . , 2005 = …………………………

(16) นักกีฬาปันจักรยาน 3 คน ปั นรอบสนามวงรีในแต่ละรอบใช้ เวลาดังนี คนที 1 ใช้ เวลา


5 นาที คนที 2 ใช้ เวลา 4 นาที คนที 3 ใช้ เวลา 6 นาที ดังนันทัง 3 คน จะปั นมา
พบกันทีจุดเริมต้ นครังแรกเมือเวลาผ่านไปกีนาทีหลังจากออกตัว

ตอบ …………………………………………………………………………….
(17) ฉันตังนาฬิกาปลุก 4 เรือน เรือนทีหนึงปลุกทุกๆ 3 นาที เรือนทีสองปลุกทุกๆ 4 นาที
เรือนทีสามปลุกทุกๆ 5 นาที และ เรือนทีสีปลุกทุกๆ 6 นาที ถ้ าให้ นาฬิกาทุกเรือนปลุก
ครังแรกพร้ อมกัน เมือเวลา 12.25 น. จงหาว่านาฬิกาทังสีเรือนจะปลุกพร้ อมกันเป็ น
ครังทีสามเมือเวลาใด

ตอบ …………………………………………………………………………….
(18) จากการทดสอบความสินเปลืองนํามันของรถยนต์สามคัน พบว่า คันทีหนึงนํามัน 1 ลิตร
วิงได้ ระยะทาง 6 กิโลเมตร คันทีสองนํามัน 1 ลิตร วิงได้ ระยะทาง 8 กิโลเมตร คันที
สามนํามัน 1 ลิตร วิงได้ ระยะทาง 9 กิโลเมตร จงหาระยะทางทีน้ อยทีสุดซึงรถยนต์ทกุ
คัน ต้ องใช้ นํามันเชือเพลิงเป็ นจํานวนเต็มลิตรพอดีและรถยนต์ แต่ละคันใช้ นํามันกีลิตร

ตอบ …………………………………………………………………………….
(19) แจกดินสอ ยางลบ และไม้ บรรทัดให้ เพือนๆ ในห้ อง ได้ คนละ 5 แท่ง 12 ก้ อน และ 10
อัน ตามลําดับโดยไม่มีของเหลือเลย นักเรียนในห้ องจะมีอย่ างน้ อยกีคน

ตอบ …………………………………………………………………………….
15

(20) จงหาจํานวนทีน้ อยทีสุดที 6, 8 และ 15 หารจํานวนนันแล้ วเหลือเศษ 4 เท่ากัน

ตอบ …………………………………………………………………………….
(21)* จงหาจํานวนทีน้ อยทีสุดที 6, 8 และ 15 หารจํานวนนันแล้ วเหลือเศษ 4, 6 และ 13
ตามลําดับ [ หลักการ : หา ค.ร.น. ของ 6, 8, 15 แล้ วลบกับจํานวนทีต้ องเพิมให้ เศษ
4, 6, 13 เท่ากับ 6, 8, 15 ตามลําดับ]

ตอบ …………………………………………………………………………….
(22) ถ้ าเริมตีระฆัง 3 ใบพร้ อมกัน โดยทีใบทีหนึง ใบทีสอง และใบทีสาม ตีทกุ ๆ 10 นาที 8
นาที และ 16 นาที ตามลําดับ จงหาว่าเมือทัง 3 ใบตีพร้ อมกันเป็ นครังแรกแล้ วใบที
หนึง ใบทีสอง และใบทีสามตีไปใบละกีครังแล้ ว

ตอบ …………………………………………………………………………….
(23) ถ้ าจํานวนสองจํานวนมี ห.ร.ม. เป็ น 15 มี ค.ร.น.เป็ น 105 ถ้ าจํานวนหนึงเป็ น 15
อีกจํานวนหนึงเป็ นเท่าใด

ตอบ …………………………………………………………………………….
(24) ถ้ าจํานวนสองจํานวนมีผลคูณเป็ น 2,112 และมี ค.ร.น. เป็ น 264 จงหา ห.ร.ม.

ตอบ …………………………………………………………………………….
(25)* ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนสองจํานวนเป็ น 14 และ 490 จงหาจํานวนทังสอง

ตอบ …………………………………………………………………………….
16

แบบทดสอบ
สมบัติของจํานวนนับ

คําชีแจง : จงทําเครืองหมาย  ทับตัวอักษรหน้ าคําตอบทีถูกต้ อง


1. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นจริง
ก. 15 เป็ นตัวประกอบของ 3 ข. 15 เป็ นตัวประกอบของ 5
ค. 3 เป็ นตัวประกอบของ 15 ง. 3 และ 15 เป็ นตัวประกอบซึงกันและกัน
2. จํานวนในข้ อใดทีมี 5 เป็ นตัวประกอบ
ก. 284 ข. 365 ค. 419 ง. 531
3. ข้ อใดทีมี 7 เป็ นตัวประกอบทุกจํานวน
ก. 15, 17, 27 ข. 14, 35, 49 ค. 21, 28, 37 ง. 27, 35, 49
4. ข้ อใดทีมี 3 เป็ นตัวหารทุกจํานวน
ก. 3, 17, 42 ข. 15, 21, 90 ค. 22, 36, 54 ง. 36, 45, 61
5. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. 3 เป็ นตัวประกอบของ 1,243,578,133
ข. 4 เป็ นตัวประกอบของ 1,243,579,494
ค. 9 ไม่เป็ นตัวประกอบของ 4,124,654,784
ง. 11 ไม่เป็ นตัวประกอบของ 1,001,001,001,001
6. ข้ อใดต่อไปนีไม่ถกู ต้ อง
ก. 0 มีตวั ประกอบมากมายนับไม่ถ้วน
ข. 1 เป็ นตัวประกอบจํานวนนับทุกจํานวน
ค. 2 เป็ นตัวประกอบของจํานวนคูเ่ ท่านัน
ง. 3 เป็ นตัวประกอบของจํานวนคีเท่านัน
7. จํานวนใดข้ อใดทีจํานวนของตัวประกอบมากทีสุด
ก. 24 ข. 27 ค. 49 ง. 55
8. จํานวนในข้ อใดเป็ นจํานวนเฉพาะ
ก. 15 ข. 17 ค. 57 ง. 77
9. ข้ อใดเป็ นจํานวนเฉพาะทุกจํานวน
ก. 5, 7, 9 ข. 17, 19, 27 ค. 23, 29, 39 ง. 31, 37, 43
10. จํานวนเฉพาะทีอยู่ระหว่าง 1 – 100 มีทงหมดกีั จํานวน
ก. 24 ข. 25 ค. 26 ง. 28
17

11. ข้ อความต่อไปนี ข้ อใดเป็ นจริง


ก. จํานวนคีทุกจํานวนเป็ นจํานวนเฉพาะ ข. จํานวนเฉพาะทุกจํานวนเป็ นจํานวนคี
ค. 2 เท่านันทีเป็ นตัวประกอบของจํานวนคู่ ง. 1 เป็ นตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวน
12. จากข้ อความต่อไปนี
(1) 1 เป็ นจํานวนเฉพาะทีมีคา่ น้ อยสุด
(2) มี 2 เพียงจํานวนเดียวทีเป็ นจํานวนเฉพาะซึงเป็ นจํานวนคู่
ข้ อใดเป็ นถูกต้ อง
ก. ถูกทังข้ อ (1) และ (2) ข. ข้ อ (1) ถูก แต่ ข้ อ(2) ผิด
ค. ข้ อ (1) ผิด แต่ ข้ อ(2) ถูก ง. ผิดทังข้ อ (1) และ (2)
13. ตัวประกอบเฉพาะของ 48 คือข้ อใด
ก. 2, 4 ข. 4, 12 ค. 6, 48 ง. 2, 3
14. ตัวประกอบเฉพาะของ 42 คือข้ อใด
ก. 3, 7 ข. 1, 3, 7 ค. 2, 3, 7 ง. 2, 3, 7, 21
15. ข้ อใดเป็ นการแยกตัวประกอบ
ก. 36 = 2  2  9 ข. 72 = 2  2  3  3  3
ค. 105 = 3  5  7 ง. 200 = 2  10  10
16. ตัวประกอบร่วมทังหมดของ 18 และ 30 คือข้ อใด
ก. 1, 2, 3, 9 ข. 1, 2, 3, 5 ค. 1, 2, 3, 6 ง. 1, 2, 3, 6, 9
17. 22  33  44 มีคา่ เท่ากับข้ อใด
ก. 2  2  3  3  3  4  4  4  4 ข. 2  2  3  3  4  4  4  4
ค. 2  2  3  3  3  4  4  4 ง. 2  2  3  3  4  4
18. 6 เป็ น ห.ร.ม. ของ 12 และ 18 หมายความว่าอย่างไร
ก. 6 เป็ นตัวหารร่วมของ 12 และ 18
ข. 6 เป็ นตัวประกอบร่วมทีมีคา่ มากทีสุดของ 12 และ 18
ค. 6 เป็ นจํานวนทีมากทีสุดทีหารด้ วย 12 และ 18 แล้ วลงตัว
ง. 6 เป็ นจํานวนทีมากทีสุดทีมี 12 และ 18 เป็ นตัวประกอบ
19. ห.ร.ม. ของ 27 33 และ 45 คือจํานวนใด
ก. 3 ข. 9 ค. 18 ง. 27
20. ห.ร.ม. ของ 23  32  5 และ 22  33  72 คือจํานวนใด
ก. 23  32 ข. 22  32 ค. 22  32  5  7 ง. 23  33  5  7
18

21. ห.ร.ม. ของ 20, 80, 125 เป็ นกีเท่าของ ห.ร.ม. ของ 27, 64, 121
ก. 5 เท่า ข. 10 เท่า ค. 12 เท่า ง. 15 เท่า
22. 12 เป็ น ค.ร.น. ของ 4 กับ 6 หมายความว่าอย่างไร
ก. 12 เป็ นจํานวนทีมากทีสุดที 4 และ 6 หารลงตัว
ข. 12 เป็ นจํานวนทีน้ อยทีสุดที 4 และ 6 หารลงตัว
ค. 12 เป็ นจํานวนที 4 และ 6 หารลงตัว
ง. 12 เป็ นผลคูณของ 4 และ 6
23. ค.ร.น. ของ 14, 20, 25 คือจํานวนใด
ก. 100 ข. 125 ค. 280 ง. 700
24. ค.ร.น. ของ 23  32  5 และ 22  33  72 คือจํานวนใด
ก. 23  32 ข. 22  32 ค. 22  32  5  7 ง. 23  33  5  7
25. จํานวน 48 และ 60 มี ค.ร.น. เป็ นกีเท่าของ ห.ร.ม.
ก. 4 เท่า ข. 5 เท่า ค. 18 เท่า ง. 20 เท่า
26. ผลบวกของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 15, 25, 40 คือข้ อใด
ก. 45 ข. 605 ค. 90 ง. 615
27. ผลต่างของ ค.ร.น. กับ ห.ร.ม. ของ 36, 81 และ 99 คือข้ อใด
ก. 3,555 ข. 3,556 ค. 3,564 ง. ไม่มีคําตอบทีถูกต้ อง
28. จงหา ห.ร.ม. ของ 4,515 และ 2,838 คือจํานวนใด
ก. 1 ข. 4 ค. 129 ง. 516

จงใช้ วิธีตงหารต่
ั อไปนีตอบคําถามข้ อ 29 และ 30
29. ห.ร.ม.ของ 12, 18, 24 คือข้ อใด

2 12, 18, 24 ก. 6 ข. 12
3 6, 9, 12 ค. 4 ง. 9
2 2, 3, 4 30. ค.ร.น.ของ 12, 18, 24 คือข้ อใด
1, 3, 2 ก. 12 ข. 36
ค. 72 ง. 24


a M, N, O 31. ข้ อใดถูกต้ อง
b  P, Q, R
ก. ห.ร.ม. เท่ากับ a  b  c
ข. ค.ร.น. เท่ากับ a  b  c
c  S, T, U
ค. ห.ร.ม. เท่ากับ a  b
X, T, Y
ง. ค.ร.น. เทากับ a  b  c  X  Y
………………………..……………………………… ……………………………………
19

32. จํานวนทีมากทีสุดทีหาร 94 จะเหลือเศษ 4 แต่ถ้าหาร 605 จะเหลือเศษ 5


เลขจํานวนนันคือจํานวนใด
ก. 15 ข. 20 ค. 23 ง. 30
33. จงหาจํานวนทีมากทีสุดซึงเมือหาร 534 และ 1,154 แล้ วเหลือเศษ 7 เท่ากัน
ก. 31 ข. 19 ค. 43 ง. 47
34. จํานวนน้ อยทีสดุ ที 12, 16, 32 หารลงตัว คือจํานวนใด
ก. 32 ข. 48 ค. 64 ง. 96
35. จํานวนน้ อยทีสุดทีหารด้ วย 15, 28 และ 36 แล้ วเหลือเศษ 3 เท่ากัน คือจํานวนใด
ก. 1,260 ข. 1,257 ค. 1,263 ง. 423
36. ค.ร.น. และ ห.ร.ม. ของสองจํานวนเป็ น 18 และ 108 ตามลับ ถ้ าจํานวนหนึงคือ 36 อีก
จํานวนหนึงเป็ นเท่าใด
ก. 46 ข. 54 ค. 72 ง. 90
37. 15 เป็ น ห.ร.ม. ของสองจํานวน ถ้ านํา ห.ร.ม. ไปหารจํานวนแรกได้ ผลลัพธ์ 3 และหาร
จํานวนทีสองได้ ผลลัพธ์ 5 สองจํานวนนันมีคา่ เท่าใด
ก. 3, 5 ข. 6, 10 ค. 15, 45 ง. 45, 75
38. กระดาษแผ่นหนึงกว้ าง 1 เมตร ยาว 165 เซนติเมตร ถ้ าต้ องการนํามาตัดเป็ นรูปสีเหลียม
จัตรุ ัสรูปเล็กๆ ทีมีขนาดเท่าๆกันและมีพืนทีมากทีสุด จะได้ ทงหมดกี
ั รูป
ก. 660 รูป ข. 5 รูป ค. 20 รูป ง. 33 รูป
39. ระฆัง 3 ใบ ใบทีหนึง ตีทกุ ๆ 45 นาที ใบทีสอง ตีทกุ ๆ 24 นาที ใบทีสาม ตีทกุ ๆ 36 นาที
ถ้ าเริมตีพร้ อมกันครังแรกเวลา 7.00 น. จงหาว่าจะตีพร้ อมกันอีกครังในเวลาใด
ก. 12.00 น ข. 12.30 น. ค. 13.00 น. ง. 13.30 น.
40. รถแข่ง 3 คัน วิงรอบสนามในเวลา 12, 15 และ 18 นาที ตามลําดับ
จงหาว่ารถทังสามคันนีจะถึงจุดเริมต้ นพร้ อมกันอีกครังเมือคันที 2 วิงรอบสนามได้ กีรอบ
เมือปล่อยครังแรกพร้ อมกัน
ก. 12 รอบ ข. 15 รอบ ค. 18 รอบ ง. 16 รอบ
41. จํานวนทีมากทีสุดทีนําไปหาร 131, 101 และ 161 แล้ วเหลือเศษเท่ากัน แล้ วเศษนัน
จะต้ องเป็ นเท่าใด
ก. 7 ข. 9 ค. 11 ง. 13
42. ทีสวนกว้ าง 108 เมตร ยาว 200 เมตร ต้ องการล้ อมทรัวโดยปั กเสารัวให้ ห่างเท่ากันทุกๆด้ าน
เสาห่างกันกีเมตร จึงจะประหยัดมากเสาทีสุด
ก. 3 เมตร ข. 4 เมตร ค. 5 เมตร ง. 6 เมตร
20

43. มีสมุดวาดเขียน 231 เล่ม สมุดปกแข็ง 308 เล่ม และสมุดปกอ่อน 396 เล่ม จัดเป็ นกอง
กองละเท่าๆกัน โดยไม่ให้ ปนกัน จะได้ กีกอง กองละกีเล่ม
ก. 85 กอง กองละ 11 เล่ม ข. 85 กอง กองละ 13 เล่ม
ค. 86 กอง กองละ 11 เล่ม ง. 86 กอง กองละ 13 เล่ม
44. มีเหรียญ 10 บาท 25 เหรียญ เหรียญ 5 บาท 10 เหรียญ เหรียญ 1 บาท 20 เหรียญ
ต้ องการหยอดกระปุกออมสินอย่างละเท่าๆกันและไม่ปนกัน ในกระปุกออมสินชนิดเหรียญ
5 บาท จะคิดเป็ นเงินกีบาท
ก. 10 บาท ข. 15 บาท ค. 20 บาท ง. 25 บาท
45. ก้ อยมีเงิน 28 บาท สมศรีมีเงิน 35 บาท และอํานาจมีเงิน 105 บาท ทัง 3 คนต้ องการใช้
เงินวันละเท่ากัน ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. ทังสามคนใช้ เงินหมดพร้ อมกันพอดี
ข. วันทีทังสามคนใช้ เงินรวมกันมากทีสุดใช้ วนั ละ 24 บาท
ค. ทังสามคนใช้ เงินวันละ 4 บาท 5 บาท และ 15 บาท ตามลําดับ
ง. จํานวนวันทีใช้ เงินจนหมดของแต่ละคนรวมกันเป็ น 24 วัน
46. A เป็ นจํานวนมากทีสุดทีหาร 49, 73 และ 85 แล้ วเหลือเศษ 1 ทุกจํานวน แล้ วข้ อใด
ต่อไปนีถูกต้ อง
ก. A + 5 = 17 ข. A  A = 36 ค. A + A = 12 ง. A  5 = 35
47. จํานวนนับทีน้ อยสุดทีหารด้ วย 12, 18 และ 48 แล้ วเหลือเศษ 11 เท่ากัน จํานวนนันคือข้ อใด
ก. 144 ข. 155 ค. 166 ง. 177
48. กาวนําขวดละ 30 บาท เทปกาวม้ วนละ 45 บาท ต้ องซืออย่างน้ อยอย่างละกีชินจึงจะ
จ่ายเงินซืออย่างละเท่าๆกัน
ก. กาวนํา 2 ขวด เทปกาว 2 ม้ วน ข. กาวนํา 2 ขวด เทปกาว 3 ม้ วน
ค. กาวนํา 3 ขวด เทปกาว 2 ม้ วน ง. กาวนํา 3 ขวด เทปกาว 3 ม้ วน
49. วันหนึงชาวสวนผลไม้ เก็บเงาะได้จํานวนหนึง เมือจัดใส่เข่งๆละ 144 กิโลกรัม ได้ หมดพอดี
และถ้ าจัดใส่เข่งๆละ 252 กิโลกรัมได้ หมดพอดีเช่นเดียวกัน จงหาว่าชาวสวนเก็บเงาะในวันนัน
ได้ อย่างน้ อยกีกิโลกรัม
ก. 1,000 ข. 1,008 ค. 1,116 ง. 1,258
50. นักกีฬา 3 คน ออกตัวเริมวิงรอบสนามแห่งหนึงพร้ อมกัน แต่ละคนวิงรอบสนามใช้ เวลา 16
นาที 24 นาที และ 40 นาที ตามลําดับ นักกีฬา 3 คน จะวิงมาทันกันเป็ นครังแรกทีจุดออก
ตัวอีกครัง ต้ องใช้ เวลาเท่าใด
ก. 3 ชัวโมง ข. 4 ชัวโมง ค. 6 ชัวโมง ง. 8 ชัวโมง

You might also like