You are on page 1of 18

1

บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น


1.1 ตัวประกอบ
1.1.1 ตัวประกอบของจานวนนับใดๆ
ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือ จำนวนนับที่หำรจำนวนนับนั้นลงตัว

ตัวอย่ างที่ 1 จงหำตัวประกอบของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้

1) ตัวประกอบของ 16 คือ ………………………………………………………………………………….

2) ตัวประกอบของ 24 คือ ……………………………………………………………………………………

3) ตัวประกอบของ 100 คือ …………………………………………………………………………………..

4) ตัวประกอบของ 19 คือ …………………………………………………………………………………..

5) ตัวประกอบของ 97 คือ …………………………………………………………………………………….

1.1.2 จานวนคู่และจานวนคี่

จำนวนคู่ คือ ………………………………………………………………………………………………….

จำนวนคี่ คือ …………………………………………………………………………………………………

1.2 จานวนเฉพาะ
จำนวนเฉพำะ คือ ……………………………………………………………………………………………….

เช่น 2 เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 2 มีเพียงสองตัว คือ ……… และ ……….


11 เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 2 มีเพียงสองตัว คือ ……… และ ……….
6 ไม่เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 6 มีมำกกว่ำสองตัว คือ ……… ……………………..
21 ไม่เป็ นจำนวนเฉพำะ เพรำะตัวประกอบของ 21 มีมำกกว่ำสองตัว คือ ……… ……………………..

จำนวนประกอบ คือ จำนวนนับที่มำกกว่ำ 1 ซึ่งไม่เป็ นจำนวนเฉพำะ

จำนวนเฉพำะที่มีค่ำไม่เกิน 100 คือ ………………………………………………………………………………

ตัวประกอบเฉพำะ คือ …………………………………………………………………………………………..


2

การหารด้ วย 2 ลงตัว
จำนวนนับที่มีหลักหน่วยเป็ น 0 , 2 , 4 , 6 หรื อ 8 จะหำรด้วย 2 ลงตัว

การหารด้ วย 3 ลงตัว
จำนวนนับใดๆจะหำรด้วย 3 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ ผลบวกของเลขโดดทุกหลักของจำนวนนับนั้นหำรด้วย 3 ลงตัว
เช่น 159 หำรด้วย 3 ลงตัว เพรำะ 1+5+9 = 15 ซึ่ง 15 หำรด้วย 3 ลงตัว
2,358 หำรด้วย 3 ลงตัว เพรำะ 2+3+5+8 = 18 ซึ่ง 18 หำรด้วย 3 ลงตัว
1,234,321 หำรด้วย 3 ไม่ลงตัว เพรำะ 1+2+3+4+3+2+1 = 16 ซึ่ง 16 หำรด้วย 3 ไม่ลงตัว

การหารด้ วย 4 ลงตัว
จำนวนนับที่หำรด้วย 4 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ จำนวนที่ประกอบด้วยเลขโดด 2 สุดท้วยต้องหำรด้วย 4 ลงตัว
เช่น 1,248 หำรด้วย 4 ลงตัว เพรำะ 48 หำรด้วย 4 ลงตัว
125,521 หำรด้วย 4 ไม่ลงตัว เพรำะ 21 หำรด้วย 4 ไม่ลงตัว

การหารด้ วย 5 ลงตัว
จำนวนที่หำรด้วย 5 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ เลขโดดตัวสุดท้ำยต้องเป็ น 0 หรื อ 5
เช่น 30 , 25 , 2,450 หรื อ 12,945 หำรด้วย 5 ลงตัว เพรำะเลขโดดของทุกจำนวนต่ำงลงท้ำยด้วย 0 หรื อ 5

แบบฝึ กทักษะที่ 1
กำหนดจำนวนดังต่อไปนี้ 25 32 124 779 3,456 2,432 7,240 7,392 34,563

จำนวนที่หำรด้วย 2 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

จำนวนที่หำรด้วย 3 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

จำนวนที่หำรด้วย 4 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

จำนวนที่หำรด้วย 5 ลงตัว ได้แก่ ……………………………………………………………………………..

1.3 การแยกตัวประกอบ
กำรแยกตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือ กำรเขียนจำนวนนับนั้น ในรู ปกำรคูณกัน
ของตัวประกอบเฉพำะ
3

วิธีการแยกตัวประกอบสามารถทำได้ 2 วิธี คือ


วิธีที่ 1 โดยใช้ แผนภาพต้ นไม้
ตัวอย่ างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ 120 จงแยกตัวประกอบของ 195

วิธีที่ 2 โดยวิธีหารสั้ น
ตัวอย่ างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 360 จงแยกตัวประกอบของ 132

แบบฝึ กทักษะที่ 2
จงแยกตัวประกอบของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้

1) 36 = …………………………………………………………………………………………………………………

2) 48 = …………………………………………………………………………………………………………………

3) 200 = ………………………………………………………………………………………………………………

4) 180 = ……………………………………………………………………………………………………………..

5) 832 = …………………………………………………………………………………………………………….
4

1.4 ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.) Greatest Common Divisor (G.C.D)


ตัวหารร่ วมที่มีค่ามากที่สุด หรื อตัวประกอบร่ วมที่มีค่ำมำกที่สุดที่หำรจำนวนนับที่กำหนดให้ต้งั แต่สองจำนวน
ขึ้นไปได้ลงตัวทุกจำนวน เรี ยกว่ำ ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)

นั่นคือ ถ้ำ a และ b เป็ นจำนวนนับแล้ว ห.ร.ม. ของ a และ b ก็คือ จำนวนนับทีม่ ำกที่สุดที่นำไปหำร
a และ b ลงตัว นัน่ เอง

วิธีการหาร ห.ร.ม สามารถทาได้ ดังนี้


1) โดยใช้ ตัวประกอบ
ตัวอย่ างที่ 3 จงหำ ห.ร.ม. ของ 36 และ 60
วิธีทา ตัวประกอบของ 36 ได้แก่ …………………………………………………………………….

ตัวประกอบของ 60 ได้แก่ ……………………………………………………………………

ตัวประกอบร่ วมของ 36 และ 60 ได้แก่ ………………………………………………………..

ตัวประกอบร่ วมที่มำกที่สุด คือ …………………………………………………………………

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 36 และ 60 คือ ……………………….

2) โดยวิธีแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ างที่ 4 จงหำ ห.ร.ม. ของ 12 , 18 และ 24

วิธีทา เพรำะว่ำ 12 = …………………………………………………………………………………

18 = …………………………………………………………………………………..

24 = …………………………………………………………………………………..

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12 , 18 และ 24 คือ …………………………………………………………………..


5

3) โดยการหารสั้ น
ตัวอย่ างที่ 5 จงหำ ห.ร.ม. ของ 54 , 60 และ 90
วิธีทา

4) โดยใช้ ข้ันตอนวิธีหาร (ขั้นตอนวิธีของยูคลิด)


กรณีต้องการหา ห.ร.ม. ของจานวนนับสองจานวน
ตัวอย่ างที่ 6 จงหำ ห.ร.ม. ของ 56 และ 98 จงหำ ห.ร.ม. ของ 595 และ 252

กรณีที่ต้องการหา ห.ร.ม. ของจานวนนับสามจานวน


ตัวอย่ างที่ 7 จงหำ ห.ร.ม. ของ 36 , 54 และ 72

ตัวอย่ างที่ 8 จงหำ ห.ร.ม. ของ 756 , 1,764 และ 2,100


6

แบบฝึ กทักษะที่ 3
1.จงหำ ห.ร.ม ของจำนวนต่อไปนี้ โดยวิธีแยกตัวประกอบ
1) 18 และ 42 2) 56 และ 98

3) 36 , 60 และ 84 4) 108 , 180 และ 324

2. จงหำ ห.ร.ม ของจำนวนต่อไปนี้ โดยวิธีหำรสั้น


1) 45 และ 72 2) 468 และ 864

3) 75 , 135 และ 180 4) 48 , 64 และ 120


7

3. จงหำ ห.ร.ม ของจำนวนต่อไปนี้ โดยใช้ข้นั ตอนวิธีหำร(วิธีของยูคลิด)


1) 30 และ 42 2) 1,550 และ 1,250

3) 450 , 1,230 และ 1,810

ประโยชน์ ของ ห.ร.ม.


1) ใช้ ทอนเศษส่ วนให้ เป็ นเศษส่ วนอย่างต่า
180
ตัวอย่ างที่ 9 จงทำ ให้เป็ นเศษส่ วนอย่ำงต่ำ
1440

9, 271
ตัวอย่ างที่ 10 จงทำ ให้เป็ นเศษส่ วนอย่ำงต่ำ
19, 783
8

2) ใช้ ในการแบ่ งสิ่ งของซึ่งไม่ เท่ากัน ให้ เป็ นส่ วนๆ ทีย่ าวเท่ ากัน และยาวที่สุด
ตัวอย่ างที่ 11 มีเชือกอยู่ 3 เส้น วัดได้ยำว 35 , 49 และ 63 เซนติเมตร ตำมลำดับ ถ้ำจะแบ่งเชือกให้เป็ นเส้นสั้นๆ
แต่ให้ยำวเท่ำกันทุกเส้น จะได้เชือกยำวที่สุดเท่ำไร และได้เชือกกี่เส้น

ตัวอย่ างที่ 12 รั้วบ้ำนมีควำมยำว 45 เมตร และกว้ำง 35 เมตร หำกปั กเสำเพือ่ ขึงรั้วลวดหนำมโดยรอบ โดยที่เสำแต่ละ
ต้นห่ำงเท่ำๆกัน จะต้องปั กเสำห่ำงกันเท่ำไรจึงจะประหยัดเสำที่สุด และใช้เสำกี่ตน้

ตัวอย่ างที่ 13 ที่ดินหนึ่งเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้ำขนำด 56 105 ตำรำงเมตร หำกต้องกำรแบ่งเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ให้แต่ละแปลงมีพ้นื ที่มำกที่สุดและมีขนำดเท่ำกัน จะแบ่งได้ท้งั หมดกี่แปลง และแต่ละแปลงมีขนำดเท่ำไร

ตัวอย่ างที่ 14 ถ้ำ 6 เป็ น ห.ร.ม. ของ 72 และ 210 แล้ว จงหำตัวประกอบร่ วมของ 72 และ 210
9

ข้ อสั งเกต
ตัวประกอบร่ วมของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป คือ จำนวนนับที่หำร ห.ร.ม. ของจำนวนนับนั้นลงตัว

ตัวอย่ างที่ 15 ถ้ำ 72 เป็ น ห.ร.ม. ของ 720 และ 1,512 แล้ว จงหำตัวประกอบร่ วมของ 720 และ 1,512

ตัวอย่ างที่ 16 ถ้ำ A , B และ C เป็ นจำนวนนับ ซึ่ งมี ห.ร.ม. เป็ น 6 แล้ว จงหำผลคูณของตัวประกอบร่ วมทั้งหมด
ของ A , B และ C

ตัวอย่ างที่ 17 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุด ซึ่งเมื่อนำไปหำร 213 จะเหลือเศษ 3 และเมื่อนำไปหำร 463 จะเหลือเศษ 1

ตัวอย่ างที่ 18 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 429 และ 652 แล้วเหลือเศษ 3 และ 4 ตำมลำดับ


10

ตัวอย่ างที่ 19 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 21 , 57 และ 75 แล้วเหลือเศษเท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 20 จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 323 , 227 และ 155 แล้วเหลือเศษเท่ำกัน

แบบฝึ กทักษะที่ 4
1) จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 220 และ 540 ได้ลงตัว
2) จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดที่หำร 288 และ 654 แล้วเหลือเศษ 2 และ 6 ตำมลำดับ
3) จงหำจำนวนนับที่มำกที่สุดซึ่งหำร 380 , 768 และ 960 ได้ลงตัว
4) มีเชือกอยูส่ ำมเส้นยำว 42 , 48 และ 54 เซนติเมตร ถ้ำจะตัดเชือกทั้งสำมเส้นให้เป็ นท่อนๆให้เท่ำกันและยำวที่สุด
เท่ำที่จะทำได้ จะได้เชือกยำวท่อนละกี่เซนติเมตร และได้เชือกทั้งหมดกี่ทอ่ น
5) มีกระดำษกว้ำง 0.80 เมตร ยำว 1.30 เมตร ถ้ำต้องกำรตัดเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้มีขนำดใหญ่ที่สุดโดยไม่เหลือเศษ
จะตัดได้ท้งั หมดกี่แผ่น
6) โรงเรี ยนแห่ งหนึ่งมีนกั เรี ยนชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 1 , 2 และ 3 จำนวน 210 คน 240 คน และ 270 คน ตำมลำดับ
ถ้ำทำงโรงเรี ยนต้องกำรแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละเท่ำๆกัน โดยให้นกั เรี ยนในแต่ละกลุ่มเป็ นนักเรี ยนใน
ชั้นเดียวกัน จะแบ่งนักเรี ยนได้อย่ำงมำกที่สุดกลุ่มละกี่คน และแบ่งได้ท้งั หมดกี่กลุ่ม
125
7) จงทำ ให้เป็ นเศษส่วนอย่ำงต่ำโดยใช้หลักกำรของ ห.ร.ม.
225
11

1.5 ตัวคูณร่ วมน้ อย (ค.ร.น.)


จำนวนนับที่นอ้ ยที่สุดที่มีจำนวนนับสองจำนวนใดๆเป็ นตัวประกอบ จะเรี ยกจำนวนนับนั้นว่ำ ตัวคูณร่ วมน้ อยที่สุด
ของจำนวนนับทั้งสองนั้น
กำรหำ ค.ร.น. ของจำนวนสองจำนวนใดๆ ทำได้หลำยวิธี ดังนี้
1. โดยการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ างที่ 1 จงหำ ค.ร.น. ของ 8 และ 12 ตัวอย่ างที่ 2 จงหำ ค.ร.น. ของ 18 และ 24

ตัวอย่ างที่ 3 จงหำ ค.ร.น. ของ 25 , 30 และ 40 ตัวอย่ างที่ 4 จงหำ ค.ร.น. ของ 8 , 32 และ 56

2. โดยวิธีหารสั้ น
ตัวอย่ างที่ 5 จงหำ ค.ร.น. ของ 18 และ 30 ตัวอย่ างที่ 6 จงหำ ค.ร.น. ของ 30 และ 40
12

ตัวอย่ างที่ 7 จงหำ ค.ร.น. ของ 12 , 16 และ 20 ตัวอย่ างที่ 8 จงหำ ค.ร.น. ของ 14 , 28 และ 63

ประโยชน์ ของ ค.ร.น.


1. ใช้ ในการบวกและลบเศษส่ วน
7 3 5 1
ตัวอย่ างที่ 9 จงหำผลลบของ  ตัวอย่ างที่ 10 จงหำผลบวกของ 
12 10 14 6

5 3 1 5 1 4
ตัวอย่ างที่ 11 จงหำผลลัพธ์ของ   ตัวอย่ างที่ 12 จงหำผลสำเร็จของ   
7 4 6 6 4 9
13

2. ใช้ กับการทางานหลายๆ งานที่มีจุดเริ่มต้ นพร้ อมกัน แต่ ใช้ ช่วงเวลาต่ างกัน เพือ่ หำจุดที่พบกัน หรื อเริ่ มงำนใหม่พร้อม
กันอีกครั้งหนึ่ง
ตัวอย่ างที่ 13 นำรี นุกูลและนิวฒั น์ วิง่ รอบสนำมกีฬำแห่งหนึ่ง แต่ละคนใช้เวลำวิง่ รอบสนำม 1 รอบ ในเวลำต่ำงๆกัน
คือ 10 , 15 และ 20 นำที ตำมลำดับ หำกกำรวิง่ ของคนทั้งสำมคนเป็ นกำรวิง่ ออกกำลังกำยยำมเช้ำคนละหลำยๆ
รอบ เมื่อใดทั้งสำมคนจะวิง่ ผ่ำนจุดเริ่ มต้นพร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 14 ระฆังรอบโบสถ์แห่งหนึ่งมี 3 ใบ ใบแรกนำน 9 นำที จึงจะตีครั้งหนึ่ง ใบที่สองนำน 18 นำที จึงจะตีครั้งหนึ่ง


ใบที่สำมนำน 24 นำที จึงจะตีครั้งหนึ่ง หำกเริ่ มต้นด้วยกำรตีระฆัง 3 ใบ พร้อมกัน นำนอีกเท่ำใด ระฆังทั้งสำมใบ
จึงจะตีพร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 15 แดนตั้งนำฬิกำปลุก 4 เรื อน เรื อนที่หนึ่งปลุกทุกๆ 2 นำที เรื อนที่สองปลุกทุกๆ 4 นำที เรื อนที่สำมปลุกทุกๆ
5 นำที เรื อนที่สี่ปลุกทุกๆ 6 นำที ถ้ำให้นำฬิกำทุกเรื อนปลุกพร้อมกัน เมื่อเวลำ 06.00 น. จงหำว่ำนำฬิกำทั้งสี่
เรื อนจะปลุกพร้อมกันเป็ นครั้งที่สี่เมื่อเวลำเท่ำใด
14

ตัวอย่ างที่ 16 ช่ำงไฟฟ้ ำสร้ำงกระดิ่งไฟฟ้ ำ 8 ตัว ซึ่งกระดิ่งแต่ละตัวดังนำน 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 วินำที ตำมลำดับ


ในกำรกดสวิตซ์แต่ละครั้ง ถ้ำเริ่ มต้นให้กระดิ่งทำงำนโดยกดพร้อมกันทุกตัว ต่อมำภำยใน 7 ชัว่ โมง จะมีกำร
กดสวิตซ์พร้อมกันทุกตัวกี่ครั้ง

ตัวอย่ างที่ 17 จงหำจำนวนนับที่นอ้ ยที่สุด ซึ่ งเมื่ อหำรด้วย 4 , 8 และ 10 จะเหลือเศษ 2 เท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 18 จงหำจำนวนนับที่นอ้ ยที่สุด ซึ่ งเมื่อหำรด้วย 15 , 20 และ 70 จะเหลือเศษ 5 เท่ำกัน

1.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ าง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


พิจำรณำ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 8 และ 12
15

ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับสองจานวนเท่ ากับผลคูณของจานวนนับทั้งสอง

ตัวอย่ างที่ 19 กำหนดจำนวนนับสองจำนวน จำนวนหนึ่งเป็ น 20 และผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


ของจำนวนทั้งสองเป็ น 240 จงหำอีกจำนวนหนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 20 ค.ร.น. ของ 20 และ 30 เป็ นกี่เท่ำของ ห.ร.ม. ของจำนวนทั้งสอง

ตัวอย่ างที่ 21 ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของเลขสองจำนวนเป็ น 33,600 ถ้ำจำนวนหนึ่งเป็ น 120 อีกจำนวน
หนึ่งมีค่ำเท่ำใด
16

โจทย์ ฝึกทักษะ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


1) จำนวนใดไม่ ใช่ ตวั ประกอบของ 8535
ก. 3 ข. 15 ค. 569 ง. 671

2) ข้อควำมใดไม่ถูกต้อง
ก. จำนวนนับที่หำรจำนวนนับ a ลงตัว เรี ยกว่ำตัวประกอบของ a
ข. ถ้ำ a และ b เป็ นจำนวนนับ a จะเป็ นตัวประกอบของ a  b
ค. ถ้า a และ b เป็ นจํานวนนับ a_ จะเป็ นตัวประกอบของ a
b
ง. จำนวนนับ a หำรจำนวนนับ b ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนนับ c ซึ่ง b  ac

3) จำนวนนับที่นอ้ ยที่สุดที่มีตวั ประกอบเฉพาะต่ำงกัน 5 ตัว ตรงกับข้อใดต่อไปน้ี


ก. 128 ข. 256 ค. 2,310 ง. 30,030

4) ข้อใดเป็ น ห.ร.ม. ของ 76 และ


114 ก. 26 ข. 38 ค. 76 ง. 228

5) ห.ร.ม. ของ 840 , 660 และ 780 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


ก. 15 ข. 30 ค. 60 ง. 120

6) ผลบวกของ ค.ร.น. ของ 72 และ 120 กับ ค.ร.น. ของ 225 และ 135 เท่ำกับข้อใดต่อไปน้ี
ก. 345 ข. 485 ค. 585 ง. 1,035

7) มีเชือก 3 เส้น ยาว 90 , 210 และ 330 เมตร ถ้าจะแบ่งเป็ นเส้นส้ันๆ ให้เท่ำๆกัน และยาวที่สุด
จะได้เชือกท้ังหมดกี่เส้น
ก. 20 เส้น ข. 21 เส้น ค. 30 เส้น ง. 31 เส้น

8) จำนวนนับที่มากที่สุดที่หาร 32 , 68 และ 86 แล้วเหลือเศษ 2 เท่ำกัน ตรงกับข้อใดต่อไปน้ี


ก. 2 ข. 3 ค. 6 ง. 8

9) ถ้าจำนวนนับ 2 จำนวน มีผลคูณเท่ำกับ 170 และมี ห.ร.ม. เท่ำกับ 5 แล้ว ค.ร.น. ของจำนวนนับท้ังสองน้ี
เท่ำกับข้อใด
ก. 33 ข. 34 ค. 35 ง. 36
17

เพิ่มเติม
ขั้นตอนวิธีการหาร ( Division Algorithm)
ถ้ำ a และ b เป็ นจำนวนเต็ม โดยที่ b  0 แล้ว จะมีจำนวนเต็ม q และ r เพียงชุดเดียว
ซึ่ง a  bq  r โดย 0  r  | b | เรี ยก q ว่ำ ผลหาร (quotient) และ r ว่ำ เศษเหลือ (remainder)

เช่น 9 หำรด้วย 2 เขียนแทนได้เป็ น


3 หำร 11 เขียนแทนได้เป็ น
-15 หำรด้วย 4 เขียนแทนได้เป็ น
21 หำรด้วย - 6 เขียนแทนได้เป็ น

ตัวอย่ างที่ 2 จงหำผลหำรและเศษเหลือจำกกำรหำรจำนวนข้ำงหน้ำด้วยจำนวนข้ำงหลังใน


แต่ละข้อต่อไปนี้
1. 8 , 7 2. -42 , 6

3. -52 , 11 4. 130 , 15

5. 100 , 17 6. 243 , 20

ตัวอย่ างที่ 3 จงหำจำนวนเต็มบวกทั้งหมดที่หำร 491 และ 519 แล้วมีเหลือเศษเท่ำกัน


18

ตัวอย่ างที่ 4 จงหำจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดที่หำร 323 , 227 และ 155 แล้วมีเหลือเศษเท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 5 จงหำจำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้ อยที่สุดที่หำรด้วย 4 , 6 และ 13 แล้วมีเศษเป็ น 3 เท่ำกัน

ตัวอย่ างที่ 6 ให้ m และ n เป็ นจำนวนเต็มบวก


ถ้ำ 5 หำร m เหลือเศษ 4 และ 5 หำร n เหลือเศษ 2 แล้ว 5 หำร (m + n) เหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

ตัวอย่ างที่ 7 ถ้ำ n เป็ นจำนวนเต็มบวกที่มำกที่สุดซึ่งหำร 90 เหลือเศษ 6 และหำร 150 เหลือเศษ 3 แล้ว n หำร 41
เหลือเศษเท่ำใด
ก. 5
ข. 6
ค. 18
ง. 20

You might also like