You are on page 1of 18

ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 1 เรื่อง มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มุมภายนอกและมุมแย้ง


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ ระบุมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มุมภายนอกและมุมแย้ง เมื่อกำหนดเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด


เส้นตรงคู่หนึ่ง
1. จากรูปที่กำหนดให้ จงตอบคำถามให้ถูกต้อง
1.1 1.2

1. ถ้าเส้นตัด คือ L 1
มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่ มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่
1. ว 1. ว
2. 2.
มุมภายนอก ได้แก่ มุมภายนอก ได้แก่

มุมแย้งภายใน ได้แก่ มุมแย้งภายใน ได้แก่


1. ว 1. ว
2. ว 2. ว
มุมแย้งภายนอก ได้แก่ มุมแย้งภายนอก ได้แก่
1. ว 1. ว
2. ว 2. ว
1.3 1.4

2. ถ้าเส้นตัด คือ L 2 3. ถ้าเส้นตัด คือ L 3


มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่ มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่
1. ว 1. ว
2. 2.
มุมภายนอก ได้แก่ มุมภายนอก ได้แก่

มุมแย้งภายใน ได้แก่ มุมแย้งภายใน ได้แก่


1. ว 1. ว
2. ว 2. ว
มุมแย้งภายนอก ได้แก่ มุมแย้งภายนอก ได้แก่
1. ว 1. ว
2. วว 2. ว
เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มุมภายนอกและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ ระบุมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มุมภายนอกและมุมแย้ง เมื่อกำหนดเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด


เส้นตรงคู่หนึ่ง
1. จากรูปที่กำหนดให้ จงตอบคำถามให้ถูกต้อง มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่
1.1 1. มุม 3 กับ มุม 5 ว
2. มุม 4 กับ มุม 6
มุมภายนอก ได้แก่
มุม 1,มุม 2, มุม 7, มุม 8
มุมแย้งภายใน ได้แก่
1. มุม 3 กับ มุม 6 ว
2. มุม 4 กับ มุม 5 ว
มุมแย้งภายนอก ได้แก่
1. มุม 1 กับ มุม 8 ว
2. มุม 2 กับ มุม 7 ว
1.2
1. ถ้าเส้นตัด คือ l 1
มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่
1. มุม 2 กับ มุม a ว
2. มุม 3 กับ มุม b
มุมภายนอก ได้แก่
มุม 1, มุม 4, มุม d, มุม c
มุมแย้งภายใน ได้แก่
1. มุม 2 กับ มุม b ว
2. มุม 3 กับ มุม a ว
มุมแย้งภายนอก ได้แก่
1. มุม 1 กับ มุม c ว
2. มุม 4 กับ มุม d ว
2. ถ้าเส้นตัด คือ l 2 3. ถ้าเส้นตัด คือ l 3
มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่ มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ได้แก่
1. มุม 3 กับ มุม ก ว 1. มุม b กับ มุม ก ว
2. มุม 4 กับ มุม ง 2. มุม c กับ มุม ข
มุมภายนอก ได้แก่ มุมภายนอก ได้แก่
มุม 1, มุม 2, มุม ข, มุม ค มุม a, มุม d, มุม ง, มุม ค
มุมแย้งภายใน ได้แก่ มุมแย้งภายใน ได้แก่
1. มุม 4 กับ มุม ก ว 1. มุม b กับ มุม ข ว
2. มุม 3 กับ มุม ง ว 2. มุม c กับ มุม ก ว
มุมแย้งภายนอก ได้แก่ มุมแย้งภายนอก ได้แก่
1. มุม 1 กับ มุม ข ว 1. มุม a กับ มุม ค ว
2. มุม 2 กับ มุม ค ว 2. มุม d กับ มุม ง ว
ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน (2)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ บอกสมบัติของเส้นขนานและนำไปแก้ปัญหาได้

1. พิจารณาว่าส่วนของเส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน โดยใช้สัญลักษณ์ // แทนการขนานกัน และ แทนการ


ไม่ขนานกัน
1.1 1.2

ตอบ.................................................................... ตอบ......................................................................
1.3 1.4

ตอบ.................................................................... ตอบ......................................................................

2. ตรวจสอบว่าส่วนของเส้นตรงต่อไปนี้มีคู่ใดขนานกันบ้าง

..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
3. จงพิจารณาว่า AB และ CD ขนานกันหรือไม่
เพราะเหตุใด
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
4. กำหนด AB // CD จงหาค่าของ x
.......
........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................
.......................................................................................
........................................................................................
........................................................................................
.......................................................................................

5. กำหนด AB // CD จงหาค่าของ X

........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................
..........................................................................................
.....
เฉลย ใบงานที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน (2)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ บอกสมบัติของเส้นขนานและนำไปแก้ปัญหาได้
1. พิจารณาว่าส่วนของเส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน โดยใช้สัญลักษณ์ // แทนการขนานกัน และ แทนการ
ไม่ขนานกัน
1.1 1.2

ตอบ MN // OP ตอบ AB CD

1.3 1.4

ตอบ EF // GH ตอบ PQ // RS

2. ตรวจสอบว่าส่วนของเส้นตรงต่อไปนี้มีคู่ใดขนานกันบ้าง

AB // GH
CD // IJ
EF // KL
..................................................................
3. จงพิจารณาว่า AB และ CD ขนานกันหรือไม่เพราะเหตุใด

ตอบ AB // CD เพราะว่า ขนาดของมุมภายใน


ที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
122 + 58 = 180

5. กำหนด AB // CD จงหาค่าของ x

4. กำหนด AB // CD จงหาค่าของ X

 
CGH และ GHA เป็นมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด จ
   
CGH + GHA = 180 และ GHA + GHB = 180 (มุมตรง) จ
   
CGH + GHA = GHA +GHB (สมบัติการเท่ากัน) จ
 
CGH = GHB จ

x = 78 จ

5. กำหนด AB // CD จงหาค่าของ x

 
CTS และ TSA เป็นมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด จ
 
CTS + TSA = 180 k

126 + x + 9 = 180 .

x = 180 – 135 .

x = 45 .
ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 3 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง (1)


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จุดประสงค์ บอกความสัมพันธ์ของเส้นขนานกับมุมแย้งและทฤษฎีของเส้นขนานกับมุมแย้งได้

1. กำหนดให้ AB // CD และ XY ตัด AB และ CD ที่จุด E และ F ตามลำดับ



1) ถ้า A EF = 62 จงหาขนาดของ

1.1) D F E =................................

1.2) CF E =................................

2) ถ้า F EB = 118 จงหาขนาดของ

2.1) Y F C =................................

2.2) EF C =................................

2. กำหนดให้ AB // CD จงหาขนาดของมุม Y X Z
 
DYX = YXZ (………………………..)
2a + 3a + 4a = …………… (ขนาดของมุมตรง)
………………..= 180
…………….. = 20

ดังนั้น D Y X = 2a = ……………………….
3. กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า X
จาก สมบัติเส้นขนาน
มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180

BNM + ............. = ................
135 + ............. = ................
x = ................
x = ................
เฉลยใบงานที่ 3 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง (1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ บอกความสัมพันธ์ของเส้นขนานกับมุมแย้งและทฤษฎีของเส้นขนานกับมุมแย้งได้

1. กำหนดให้ AB // CD และ XY ตัด AB และ CD ที่จุด E และ F ตามลำดับ


1) ถ้า A EF = 62 จงหาขนาดของ

1.1) D F E =.......62............

1.2) CF E =........118.................

2) ถ้า F EB = 118 จงหาขนาดของ

2.1) Y F C =......62...............

2.2) EF C =..........118................


2. กำหนดให้ AB // CD จงหาขนาดของมุม D Y X
 
DYX = YXZ (มุมแย้ง)
2a + 3a + 4a = 180 (ขนาดของมุมตรง)
9a = 180
a = 20

ดังนั้น D Y X = 2a = 2(20) = 40
3. กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า x
จาก สมบัติเส้นขนาน
มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
รวมกันได้ 180
 
B N M + N M D = 180 k

135 + x = 180 k

x = 180 – 135 k

x = 45
k
ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 6 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (1)


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จุดประสงค์ อธิบายเกี่ยวกับเส้นขนานกับมุมภายในและมุมภายนอกและทฤษฎีของเส้นขนานกับมุมภายใน
และมุมภายนอกได้
1) กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า x

x = ……………………….

2) กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า x

x = ……………………….

3) กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า y

y = ……………………….

4) กำหนด AB // CD จงหาค่า x

x = ……………………….
เฉลย ใบงานที่ 6 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ อธิบายเกี่ยวกับเส้นขนานกับมุมภายในและมุมภายนอกและทฤษฎีของเส้นขนานกับมุมภายใน
และมุมภายนอกได้
1) กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า x

x = ……80………….

2) กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า x

x = ………15……….

3) กำหนดให้ AB // CD จงหาค่า y

y = ………49…………….

4) กำหนด AB // CD จงหาค่า x

x = ………65…………….
ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 8 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม (1)


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม(1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ 1. บอกความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมได้
2. นำทฤษฎีบทของรูปสามเหลี่ยมไปหาขนาดของมุมได้
*********************************************
1. กำหนดให้ AB // CD จงหาขนาดของ x และ y

............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. กำหนดให้ AB // CD จงหาขนาดของ x

............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. จงหาขนาดของมุม x

............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ........................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลย ใบงานที่ 8 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม (1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม (1)
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์ 1. บอกความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมได้
2. นำทฤษฎีบทของรูปสามเหลี่ยมไปหาขนาดของมุมได้

1. กำหนดให้ AB // CD จงหาขนาดของ x และ y

68 + y = 180 (มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้180)

y = 180 – 68 = 112 f


กำหนด z บนส่วนของเส้นตรง CD f

z = 68 (มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)

34+ 68+ x = 180 (มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180)

x = 180– 34– 68 = 78 f


2. กำหนดให้ AB // CD จงหาขนาดของ X
y = 46 มุมแย้ง f

y + x + 102 = 180 มุมภายใน น

รูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 180

46+ x + 102 = 180 z

x = 180 – 46 – 102 ง

x = 32 ง

3. จงหาขนาดของมุม x

เนื่องจาก x + 17 = 50 (มุมภายนอกที่เกิดจาการต่อด้านของรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ


ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิด)
x = 50 – 17

x = 33

You might also like