You are on page 1of 13

ระบบจำนวนจริง

- จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือ ทศนิยมซ้ำได้ ยกตัวอย่างเช่น√2, √3,√5


หรือค่า¶ เป็นต้น
- จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือ ทศนิยมซ้ำได้ยกตัวอย่างเช่น 1/2, 1/3, 2/5
เป็นต้น
- จำนวนเต็ม คือจำนวนที่เป็นตัวเลขเต็มๆ หรือ ตัวเลขที่ไม่มีทศนิยม ยกตัวอย่างเช่น 1, 2, 3, 4 ... ทั้งนี้ทั้งนั้น รวมไปจนถึงค่าที่
ติบลบของจำนวนนับนี้และศูนย์ดว้ ย เช่น 0, -1, -2, -3, -4 ....
- จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม คือ ตัวเลขเขียนในรูปของทศนิยมซ้ำได้โดยที่ไม่ได้เป็นเลขจำนวนเต็ม อย่างเช่น 1/2=0.5
หรือ 1/3 = 0.333... (สามซ้ำ)
สมบัตข
ิ องจำนวนจริง
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ

สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง
1. สมบัติการสะท้อน a = a
2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a
3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c
5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว ac = bc

สมบัติการบวกในระบบจำนวนจริง
1. สมบัติปิดการบวก a + b เป็นจำนวนจริง
2. สมบัติการสลับที่ของการบวก a + b = b + c
3. สมบัติการเปลีย่ นกลุม่ การบวก a + ( b + c ) = ( a + b ) + c
4. เอกลักษณ์การบวก 0 + a = a = a + 0 นั่นคือ ในระบบจำนวนจริงจะมี 0 เป็นเอกลักษณ์การบวก
5. อินเวอร์สการบวก a + ( -a ) = 0 = ( -a ) + a นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวน a จะมี -a เป็นอินเวอร์สของการบวก

สมบัติการคูณในระบบจำนวนจริง
1. สมบัติปิดการคูณ ab เป็นจำนวนจริง
2. สมบัติการสลับที่ของการคูณ ab = ba
3. สมบัติการเปลีย่ นกลุม่ ของการคูณ a ( bc ) = ( ab ) c
4. เอกลักษณ์การคูณ 1 · a = a = a · 1
นั่นคือในระบบจำนวนจริง มี 1 เป็นเอกลักษณ์การคูณ
5. อินเวอร์สการคูณ a · a-1 = 1 = a · a-1, a ≠ 0
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวนจริง a จะมี a-1 เป็นอินเวอร์สการคูณ ยกเว้น 0
6. สมบัติการแจกแจง
a ( b + c ) = ab + ac
( b + c ) a = ba + ca
จากสมบัติของระบบจำนวนจริงที่ได้กล่าวไปแล้ว สามารถนำมาพิสจู น์เป็นทฤษฎีบทต่างๆ ได้ดังนี้
ทฤษฎีบทที่ 1 กฎการตัดออกสำหรับการบวก
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
ถ้า a + c = b + c แล้ว a = b
ถ้า a + b = a + c แล้ว b = c
ทฤษฎีบทที่ 2 กฎการตัดออกสำหรับการคูณ
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
ถ้า ac = bc และ c ≠ 0 แล้ว a = b
ถ้า ab = ac และ a ≠ 0 แล้ว b = c
ทฤษฎีบทที่ 3 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ
a·0=0
0·a=0
ทฤษฎีบทที่ 4 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ
(-1)a = -a
a(-1) = -a
ทฤษฎีบทที่ 5 เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ
ถ้า ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0
ทฤษฎีบทที่ 6 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ
a(-b) = -ab
(-a)b = -ab
(-a)(-b) = ab
เราสามารถนิยามการลบและการหารจำนวนจริงได้โดยอาศัยสมบัตขิ องการบวกและการคูณในระบบจำนวนจริงที่ได้กล่าวไปแล้ว
ข้างต้น

การลบจำนวนจริง
บทนิยาม
เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ
a- b = a + (-b)
นั่นคือ a - b คือ ผลบวกของ a กับอินเวอร์สการบวกของ b
ทฤษฎีบทเบือ
้ งต้นสำหรับจำนวนจริง
ให้ a, b, c และ d เป็นจำนวนจริงใดๆ จะได้ว่า
1. ถ้า a+c = b+c แล้ว a = b
2. ถ้า c ไม่เท่ากับศูนย์ และ ac =ab แล้ว a = b
3. เมื่อ c > 0 แล้วจะได้วา่
(1) ถ้า a > b แล้ว ac > bc
(2) ถ้า a < b แล้ว ac < bc
(3) ถ้า ac > bc แล้ว a > b
(4) ถ้า ac < bc แล้ว a < b
4. เมื่อ c < 0 แล้วจะได้วา่
(1) ถ้า a > b แล้ว ac < bc
(2) ถ้า a < b แล้ว ac > bc
(3) ถ้า ac > bc แล้ว a < b
(4) ถ้า ac < bc แล้ว a > b
5. ถ้า ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0
6. ถ้า a < b และ c < d แล้ว a – d < b - c
ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ เป็นการบอกระยะทาง โดยไม่คานึงถึงทิศทาง จึงมีค่าเป็นบวกหรือศูนย์เสมอ ส่วนตัวเลข
หรือจานวนในสัญลักษณ์คา่ สัมบูรณ์ จะเป็นระยะทางจากจุดศูนย์หรือจุดอ้างอิงบนเส้นจานวนไปยัง
ตัวเลขหรือจานวนนั้น ๆ

ค่าสัมบูรณ์ของ | -3 | = 3 หมายความว่า ระยะทางจาก 0 ถึง -3 คือ 3 หน่วย

สมบัติของค่าสัมบูรณ์

1. | - x | = | x |

2. | xy | = | x || y |

3. | x / y | = | x | / | y | (เมือ
่ y ≠ 0)

4. | x - y | = | y - x |

5. | x | 2 = x2

6. | x | = √x2

7. | x + y | ≤ | x | +| y |

8. | x | > 0 ก็ต่อเมื่อ | x | = x

9. x < 0 ก็ต่อเมื่อ | x | = - x

10. | x | = 0 ก็ต่อเมื่อ x = 0

11. | x - y | = 0 ก็ต่อเมื่อ x = y

12. เมื่อ x เป็นจานวนจริงบวก

|x|≤y ก็ต่อเมื่อ - y ≤ x ≤ y

|x|≥y ก็ต่อเมื่อ x ≤ -y หรือ x ≥ y


สมบัตข
ิ อง จานวนจริงในรูปกรณฑ์

ให้ k, m, n เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่าหรือเท่ากับ 2
สมบัตข
ิ องเลขยกกาลัง

ให้ x, y เป็นจานวนจริงใดๆ m, n เป็นจานวนเต็มบวก


ระบบจำนวนเต็ม
จํานวนเต็ม แบ่งได้ 3 ประเภท
1. จํานวนเต็มบวก คือ จำนวนที่มคี ่ามากกว่าศูนย์ (ฝั่งขวาของเส้นจำนวน)
2. ศูนย์ คือ จำนวนที่ไม่เป็นทั้งบวกและลบ (อยูต่ รงกลางของเส้นจำนวน)
3. จํานวนเต็มลบ คือ จำนวนที่มีคา่ น้อยกว่าศูนย์ (ฝั่งซ้ายของเส้นจำนวน)
เส้นจำนวน แสดงความสัมพันธ์ ของจำนวนเต็ม (หัวลูกศรสามารลากไปได้เรื่อยๆ ไม่มีสิ้นสุด)

จำนวนเต็มลบ ศูนย์ จำนวนเต็มบวก

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

จากเส้นจำนวน ยิ่งไปฝั่งขวา ยิ่งมีค่ามาก ยิ่งไปฝั่งซ้ายยิ่งมีค่าน้อย


สัญลักษณ์แทนการเปรียบเทียบมีดังนี้

< เครื่องหมายน้อยกว่า เช่น 1 น้อยกว่า 3 เป็น 1 < 3


= เครื่องหมายเท่ากับ เช่น 1 เท่ากับ x เป็น 1 = x
> เครื่องหมายมากกว่า เช่น -1 มากกว่า -3 เป็น -1 > -3

กำรบวกจำนวนเต็ม

- การบวกจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองมาบวกกัน ตอบออกมาเป็นค่าบวก


เช่น 3+ 2 = | 3 | + | 2 | = 3 + 2 = 5
- การบวกจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองมาบวกกัน ตอบออกมาเป็นค่าลบ
เช่น (-3) + (-2) = - [ | 3 | + | 2 | ] = -( 3 + 2 ) = -5
- การบวกจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองมาลบกัน โดยเอาตัวมากกว่าตั้ง ตอบออกมาเป็นบวกหรือ
ลบนั้น ให้เลือกตามตัวมากกว่า
เช่น 3 + (-2) = 1 หรือ (-3) + 2 = -1
จำนวนตรงข้ำม คือ จำนวนที่อยู่ด้านตรงข้ามของเส้นจำนวน สามารถอธิบายได้ว่า - (-a) = a

กำรลบจำนวนเต็ม ทําได้โดยเปลี่ยนจากลบเป็นการบวกด้วยจำนวนตรงข้าม

เช่น 3 – 2 คือ 3 + (-2) = -6

กำรคูณจำนวนเต็ม ให้นำค่าสัมบูรณ์ ของทั้งสองจำนวนมาคูณกัน แล้วพิจารณาดังนี้

จำนวนเต็มบวก x จำนวนเต็มบวก = ค่าบวก


จำนวนเต็มลบ x จำนวนเต็มลบ = ค่าบวก
จำนวนเต็มบวก x จำนวนเต็มลบ = ค่าลบ
จำนวนเต็มลบ x จำนวนเต็มบวก = ค่าลบ

สมบัตข
ิ องจำนวนเต็ม
1. สมบัติการสลับที
เมื่อมีจำนวนเต็มสองจำนวนบวกกันหรือคูณกัน สามารถสลับที่ได้โดยที่ผลลัพธ์ยังคงเท่าเดิม
นั่นคือ a + b = b + a และ a × b = b × a
เมื่อ a, b เป็นจำนวนเต็มใดๆ
เช่น 3 + (-2) = (-2) + 3 = 1
(-2) × 3 = 3 × (-2) = -6
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่
เมื่อมีจำนวนเต็มสามจำนวนบวกกันหรือคูณกัน สามารถทำคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้ โดยที่ผลลัพธ์สุดท้ายยังคงเท่ากัน
นั่นคือ (a + b) + c = a + (b + c) และ (a × b) × c = a × (b × c)
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนเต็มใดๆ
เช่น [1 + (2)] + (3) = 1 + [(2) + (3)] = 6
[4 x (2)] x (3) = 4 x [(2) x (3)] = 24
3. สมบัติการแจกแจง
เมื่อมีจำนวนเต็มไปคูณกับในวงเล็บที่มีจำนวนเต็มบวกหรือลบกันอยู่ สามารถที่จะแจกจำนวนเต็มนั้นเข้าไปคูณทุกจำนวนในวงเล็บ
ได้
นั่นคือ a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
และ (b + c) × a = (b × a) + (c × a)
เช่น (-3) × [5 + 2] = [(-3) × 5] + [(-3) × 2] = -21

สมบัตข
ิ อง 0 และ 1
สมบัติของศูนย์
1. a + 0 = 0 + a = a เมื่อ a แทนจำนวนใดๆ
2. a × 0 = 0 × a = 0 เมื่อ a แทนจำนวนใดๆ
3. 0 ÷ a = 0 เมื่อ a แทนจำนวนใดๆ ที่ไม่ใช่ 0
4. a × b = 0 แล้ว จะได้ a = 0 หรือ b = 0
สมบัติของหนึ่ง
ให้ a แทนจำนวนเต็มใดๆ
1. a × 1 = 1 × a = a
2. a ÷ 1 = a เมื่อ a แทนจำนวนเต็มใดๆ
จำนวนเฉพำะ
"จำนวนเฉพาะ" หรือ ไพรม์ นัมเบอร์ (Prime number) คือ จำนวนธรรมชาติที่มตี ัวหารทีเ่ ป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัว
มันเอง เช่น 2, 3, 5, 7, 11, 13 และ 17 เป็นต้น และสำหรับเลข 1 นั้น ให้ตัดทิ้ง เพราะ 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เซตของจำนวน
เฉพาะทั้งหมดมักเขียนแทนด้วย P เนื่องจาก 2 เป็นจำนวนเฉพาะตัวเดียวที่เป็นเลขคู่ ดังนั้นคำว่า จำนวนเฉพาะคี่ จะถูกใช้เพื่อ
หมายถึงจำนวนเฉพาะทั้งหมดที่ไม่ใช่ 2

จำนวนประกอบ
คือจำนวนเต็มบวกทีส่ ามารถแยกตัวประกอบได้เป็นผลคูณของจำนวนเฉพาะ 2 จำนวนขึ้นไป จำนวนเต็มทุก ๆ จำนวน
ยกเว้น 1 กับ 0 จะเป็นจำนวนเฉพาะหรือจำนวนประกอบ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น

จำนวนตรรกยะ
ในทางคณิตศาสตร์, จำนวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน) คืออัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน มักเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน
a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์
จำนวนตรรกยะแต่ละจำนวนสามารถเขียนได้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น 3 / 6 = 2 / 4 = 1 / 2 รูปแบบที่
เรียกว่า เศษส่วนอย่างต่ำ a และ b นั้น a และ b จะต้องไม่มีตัวหารร่วม และจำนวนตรรกยะทุกจำนวนสามารถเขียนได้ในรูป
เศษส่วนอย่างต่ำนี้
ทศนิยม เป็นรูปแบบที่แผ่ขยายออกมา และต่อเนื่องไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด (ยกเว้นกรณีซ้ำศูนย์ เราสามารถละ โดย
ไม่ต้องเขียนได้) ข้อความนี้เป็นจริงสำหรับจำนวนตรรกยะทุกจำนวน
จำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะ เรียกว่า จำนวนอตรรกยะ
ตัวอย่างโจทย์

You might also like