You are on page 1of 35

วิชา คณิตศาสตร์

ม.ต้น ตอนที่ 01
เรื่อง จานวนจริง
โดยพี่ออย รัชฎาภรณ์ โชติอิ่มอุดม พี่ม.มหิดลติวเตอร์
จานวนจริง
โครงสร้างของระบบจานวนจริง
จานวนจริง

จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ

เศษส่วน จานวนเต็ม ทศนิยมรู้จบ


จานวนเต็มบวก
จานวนเต็มศูนย์
จานวนเต็มลบ
1. จานวนตรรกยะ คือ จานวนที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน
โดยส่วนไม่เป็นศูนย์ หรือเขียนในรูปทศนิยมซาได้
3 ..
เช่น -7, -3, 0, 5, 8, 5 , 0.12
2. จานวนอตรรกยะ คือ จานวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป
เศษส่วน หรือทศนิยมซาได้ เช่น 2 , 3 , 7 ,  ,
0.12122122222122……
3. จานวนจริง คือ จานวนที่เป็นจานวนตรรกยะ หรือ
จานวนอตรรกยะ
ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาจานวนต่อไปนีว่าเป็นจานวนใดบ้าง
ข้อ จานวน ตรรกยะ อตรรกยะ เศษส่วน ทศนิยมรูจ้ บ จานวนเต็ม จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ
1 0
2 7.2
3 3
4 
5 22
7
6 -6
7 1+ 5
จงทาทศนิยมซาต่อไปนีให้เป็นเศษส่วน
1. 0.27
จงทาทศนิยมซาต่อไปนีให้เป็นเศษส่วน
2. 0.13
จงทาทศนิยมซาต่อไปนีให้เป็นเศษส่วน
3. 0.123
จงทาทศนิยมซาต่อไปนีให้เป็นเศษส่วน
4. 0.53
จงทาทศนิยมซาต่อไปนีให้เป็นเศษส่วน
5. 0.297
4. รากที่สอง ให้ a เป็นจานวนจริงบวกใดๆ หรือศูนย์
รากที่สองของ a คือจานวนจริงที่ยกกาลังสองแล้วได้ a
ข้อสังเกต
1. ถ้า a เป็นจานวนจริงบวกแล้ว รากที่สองของ a จะมี 2 ค่า
คือรากที่เป็นบวก และรากที่เป็นลบ
ใช้สัญลักษณ์ a แทนรากที่สองที่เป็นบวกของ a
 a แทนรากที่สองที่เป็นลบของ a
2. ถ้า a = 0แล้ว รากที่สองของ a ก็คือ 0
3. ถ้ารากที่สองของจานวนบวก ถ้าถอดรากที่สองลงตัว
จะเป็นจานวนตรรกยะ แต่ถ้าถอดรากที่สองไม่ลงตัวจะเป็นจานวนอตรรกยะ
เช่น รากทีส่ องของ 9 คือ 9 = 3 และ - 9 = -3

รากที่สองของ 64 คือ 64 = 8 และ - 64 = -8


ตัวอย่างที่ 2 จงหารากที่สองของ 676
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ - x4y10
5. รากที่สาม ให้ a เป็นจานวนจริงใดๆ รากที่สามของ a คือ
จานวนที่ยกกาลังสามแล้วได้ a ใช้สัญลักษณ์
“ 3 a ” แทนรากที่สามของ a
เช่น รากที่สามของ 27 คือ 3 27 = 3
รากที่สามของ 125 คือ 3 125 = 5
ตัวอย่างที่ 4 จงหารากที่สามของ 343
3
ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ -27a3b8
6. สมบัติของราก
n a n a
6.1 a2 = lal 6.3 b = n a

n n a 1
6.2 agb = n a . n a 6.4 = an
ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของจานวนต่อไปนี
6.1 45- 20+ 125
6.2 3 32-2 48 + 108
6.3 3 24 + 3 81- 3 192
ตัวอย่างที่ 7 จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และ ส่วนไม่ติดกรณฑ์
7.1. 4+1 2
3
7.2 7 + 10
7.3 5+ 3
5- 3
ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าต่อไปนี
8.1 11+2 30
8.2 - 21-12 3

8.3 27 + 8 + 17-12 2 - 28- 108


ตัวอย่างที่ 9 จงหาค่า x จาก 15 + x = 22+2 105
การแก้สมการกรณฑ์
ตัวอย่างที่ 10 จงหาคาตอบของสมการ
4 2
10.1 x3 -7x3 +10=0
-1
10.2. 6 x +13=5x 2
10.3. 4 x2-2x+8=2

You might also like