You are on page 1of 17

สรุปสูตร วิชาคณิตศาสตร์ ม.

ต้น

จานวนและการดาเนินการ

จานวนตรรกยะ คือ จํำนวนทีส่ ำมำรถเขียนแทนด ้วยทศนิยมซํ้ำ หรือ เศษส่วนโดยทีส่ ว่ นต ้องไม่เป็ นศูนย์ เช่น -7,
3, 0, 1.111… , เป็ นต ้น
จานวนอตรรกยะ คือ จํำนวนทีไ่ ม่สำมำรถเขียนแทนด ้วยทศนิยมซํำ้ หรือ เศษส่วน เช่น 1.21221…, √2 , √7, 𝜋,
∛4 เป็ นต ้น

คุณสมบ ัติการบวกและการคูณ

การบวก การคูณ
กำรปิ ด a+b a×b
กำรสลับที่ a+b = b+a a×b = b×a
กำรเปลีย่ นกลุม
่ a+(b+c) = (a+b)+c a×(b×c) = (a×b)×c
กำรแจกแจง a×(b+c) = (a×b)+(a×c) และ (a+b)×c = (a×c)+(b×c)
กำรมีสมำชิกเอกลักษณ์ a+0 = a a×1 = a
1
กำรอินเวอร์ส a+(-a) = 0 a× = 1
a
ข ้อสังเกตในกำรบวกและคูณของจํำนวนคูแ
่ ละจํำนวนคี่
1. จํำนวนคู่ + จํำนวนคู่ = จํำนวนคู่
2. จํำนวนคี่ + จํำนวนคี่ = จํำนวนคู่
3. จํำนวนคี่ + จํำนวนคู่ = จํำนวนคี่
4. จํำนวนคู่ + จํำนวนคู่ = จํำนวนคี่
5. จํำนวนคู่ × จํำนวนคู่ = จํำนวนคู่
6. จํำนวนคี่ × จํำนวนคี่ = จํำนวนคี่
7. จํำนวนคี่ × จํำนวนคู่ = จํำนวนคู่
8. จํำนวนคู่ × จํำนวนคี่ = จํำนวนคู่

การบวกจานวนเต็ม
1. ลบ + ลบ = ลบ
2. ถ ้ำ |บวก| > |ลบ| แล ้ว บวก + ลบ
จะได ้ |บวก| - |ลบ| = บวก
3. ถ ้ำ |บวก| < |ลบ| แล ้ว บวก + ลบ
จะได ้ |บวก| - |ลบ| = ลบ

การลบจานวนเต็ม
ตัวตัง้ – ตัวลบ = ตัวตัง้ + จํำนวนตรงข ้ำมของตัวลบ

การคูณจานวนเต็ม
1. บวก × บวก = บวก
2. บวก × ลบ = ลบ
3. ลบ × บวก = ลบ
4. ลบ × ลบ = บวก

การหารจานวนเต็ม
1. บวก ÷ บวก = บวก
2. บวก ÷ ลบ = ลบ
3. ลบ ÷ บวก = ลบ
4. ลบ ÷ ลบ = บวก

เศษสว่ นและทศนิยม
การเขียนทศนิยมให้เป็นเศษส่วน
ตัวอย่ำง จงเขียน 2.5 ให ้เป็ นเศษส่วน
วิธท
ี ํำ 2.5 = 2 กับ 5 ใน 10
5 1
ดังนัน้ 2.5 = 2 =2
10 2
การเขียนเศษส่วนให้เป็นทศนิยม
- เศษส่วนทีม ี ว่ นเป็ น 10 หรือ 100 หรือ 10 ยกกํำลัง สำมำรถเปลีย
่ ส ่ นเป็ นทศนิยมได ้เลย เช่น
75
= 0.75
100
- เศษส่วนทีไ่ ม่มส ี ว่ นเป็ น 10 หรือ 100 หรือ 10 ยกกํำลัง ให ้เปลีย
่ นเป็ นเศษส่วนทีม
่ ต
ี ัวส่วนเป็ น 10 หรือ
3 3×25 75
100 หรือ 10 ยกกํำลังก่อน ตัวอย่ำงเช่น = = = 0.75
4 4×25 100

คุณสมบ ัติการบวก,ลบ,คูณ,หารของเศษส่วน

a c a+c
1. + =
b b b
a c a−c
2. - =
b b b
a c a×c
3. × = ; b, d ≠ 0
b d b×d
a a×c
4. ×c= ;b≠0
b b

a c a d a×d
5. ÷ = × = ; b, c, d ≠ 0
b d b c b×c

อ ัตราสว่ นและร้อยละ
อัตรำส่วน คือ กำรเปรียบเทียบของสิง่ ของสองสิง่ หรือจํำนวนสองจํำนวน
ร ้อยละ คือ กำรเปรียบเทียบของจํำนวนสองจํำนวน โดยเทียบจำกจํำนวนเต็ม 100 เสมอ

A
1. A ต่อ B เขียนแทนด ้วย A:B หรือ
B
A C
2. ถ ้ำ = แล ้ว A×D = B×C
B D
เงินกํำไรทีข
่ ำยได ้ (บำท) × 100
3. ขำยได ้กํำไร (%) =
ต ้นทุนทีซ ื้ มำ (บำท)
่ อ

เงินกํำไรทีข
่ ำดทุน (บำท) × 100
4. ขำยขำดทุน (%) =
ต ้นทุนทีซ ื้ มำ (บำท)
่ อ
คุณสมบ ัติของอ ัตราส่วน

1. ad = bc

a c
2. =
b b

a+b c+d
3. =
a−b c−d
เมือ
่ a:b=c:d
a+b c+d
4. =
b d

a−b c−d
5. =
b d

6. b : a = d : c

7. a : b และ b : c จะได ้ a : b : c

เลขยกกาล ัง
คุณสมบ ัติของเลขยกกาล ัง

1. an = a × a × a × a × … × a (n ตัว) ; n เป็ นจํำนวนเต็มบวก

2. a0 = 1 ;a≠0

1
3. a-n = ;a≠0
an

4. am × an = am+n

5. am ÷ an = am-n

6. (am)n = amn

7. (ab)n = a n × bn

a n an
8. ቀbቁ =
bn
;b≠0

m n
9. an/m = ൫ √ a൯

10. n√ab √a × √b
n n
= ; a, b > 0
การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
การหา ห.ร.ม.
1. หำโดยวิธก ี ำรแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ำง จงหำ ห.ร.ม. ของ 24, 32, 40
วิธค
ี ดิ 1) แยกตัวประกอบของ 24, 32, 40
24 = 2 x 2 x 2 x 3
32 = 2 x 2 x 2 x 2 x 2
40 = 2 x 2 x 2 x 5
2) หำตัวประกอบทีร่ ่วมกันทัง้ 3 จํำนวน
3) ห.ร.ม. จะเท่ำกับผลคูณของตัวหำรร่วมทุกตัว
∴ ห.ร.ม. ของ 24, 32, 40 คือ 2 x 2 x 2 = 8
2. หำโดยวิธก ี ำรตัง้ หำร
ตัวอย่ำง จงหำ ห.ร.ม. ของ 24, 32, 40
วิธที ํำ 2)24 32 40
2)12 16 20
2) 6 8 10
3 4 5
∴ ห.ร.ม. 24, 32, 40 คือ 2 x 2 x 2 = 8

การหา ค.ร.น.
1. หำโดยวิธก ี ำรแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ำง จงหำ ค.ร.น. ของ 16, 24, 32
วิธค
ี ดิ แยกตัวประกอบของ 16, 24, 32
16 = 2 x 2 x 2 x 2
24 = 2 x 2 x 2 x 3
32 = 2 x 2 x 2 x 2 x 2
∴ ค.ร.น. 16, 24 และ 32 คือ 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 3 = 96
2. หำโดยวิธก ี ำรตัง้ หำร
ตัวอย่ำง จงหำ ค.ร.น. ของ 16, 24, 32
วิธที ํำ 2)16 24 32
2) 8 12 16
2) 4 6 8
2) 2 3 4
1 3 2
∴ ค.ร.น. ของ 16, 24 และ 32 คือ 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 3 = 96

ั ันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


ความสมพ
ห.ร.ม. x ค.ร.น. = ผลคูณของจํำนวนนั บสองจํำนวน

้ ทีผ
การว ัดและการหาพืน ่ วิ และปริมาตร

การว ัดและหน่วยมาตรฐานต่างๆ
หน่วยฐานของระบบ SI มี 7 หน่วย ทีใ่ ช ้วัดปริมำณ ได ้แก่
- เมตร (Meter : m) เป็ นหน่วยใช ้วัดควำมยำว
- กิโลกรัม (Kilogram : kg) เป็ นหน่วยใช ้วัดมวล
- วินำที (Second : s) เป็ นหน่วยใช ้วัดเวลำ
- แอมแปร์ (Ampere : A) เป็ นหน่วยใช ้วัดกระแสไฟฟ้ ำ
- เคลวิน (Kelvin : K) เป็ นหน่วยใช ้วัดอุณหภูม ิ
- แคนเดลำ (Candela : cd) เป็ นหน่วยใช ้วัดควำมเข ้มของกำรส่องสว่ำง
- โมล (Mole : mol) เป็ นหน่วยใช ้วัดปริมำณสำร
หน่วยการว ัดความยาว

ระบบเมตริก
10 มิลลิเมตร เท่ำกับ 1 เซนติเมตร
100 เซนติเมตร เท่ำกับ 1 เมตร
1,000 เมตร เท่ำกับ 1 กิโลเมตร
ระบบอังกฤษ
12 นิว้ เท่ำกับ 1 ฟุต
3 ฟุต เท่ำกับ 1 หลำ
1,760 หลำ เท่ำกับ 1 ไมล์
มำตรำไทย
12 นิว้ เท่ำกับ 1 คืบ
2 คืบ เท่ำกับ 1 ศอก
4 ศอก เท่ำกับ 1 วำ
20 วำ เท่ำกับ 1 เส ้น
400 เส ้น เท่ำกับ 1 โยชน์
ระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก (โดยประมำณ)
1 นิว้ เท่ำกับ 2.54 เซนติเมตร
1 หลำ เท่ำกับ 0.9144 เมตร
1 ไมล์ เท่ำกับ 1.6093 กิโลเมตร

้ ที่
หน่วยการว ัดพืน

ระบบเมตริก
1 ตำรำงเซนติเมตร เท่ำกับ 100 ตำรำงมิลลิเมตร
1 ตำรำงเมตร เท่ำกับ 10,000 ตำรำงเซนติเมตร
1 ตำรำงกิโลเมตร เท่ำกับ 1,000,000 ตำรำงเมตร
ระบบอังกฤษ
1 ตำรำงฟุต เท่ำกับ 144 ตำรำงนิว้
1 ตำรำงหลำ เท่ำกับ 9 ตำรำงฟุต
1 เอเคอร์ เท่ำกับ 4,840 ตำรำงหลำ
1 ตำรำงไมล์ เท่ำกับ 640 เอเคอร์ หรือ 1,7602 ตำรำงหลำ
มำตรำไทย
100 ตำรำงวำ เท่ำกับ 1 งำน
4 งำน เท่ำกับ 1 ไร่
400 ตำรำงวำ เท่ำกับ 1 ไร่
มำตรำไทยเทียบกับระบบเมตริก
1 ตำรำงวำ เท่ำกับ 4 ตำรำงเมตร
1 งำน เท่ำกับ 400 ตำรำงเมตร
1 ไร่ เท่ำกับ 1,600 ตำรำงเมตร
1 ตำรำงกิโลเมตร เท่ำกับ 625 ไร่
ระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก (โดยประมำณ)
1 ตำรำงนิว้ เท่ำกับ 6.4516 ตำรำงเซนติเมตร
1 ตำรำงฟุต เท่ำกับ 0.0929 ตำรำงเมตร
1 ตำรำงหลำ เท่ำกับ 0.8361 ตำรำงเมตร
หน่วยการว ัดปริมาตรและนา้ หน ัก

หน่วยกำรวัดปริมำตรในระบบเมตริก
1 ลูกบำศก์เซนติเมตร เท่ำกับ 1,000 ลูกบำศก์มลิ ลิเมตร
1 ลูกบำศก์เมตร เท่ำกับ 1,000,000 ลูกบำศก์เซนติเมตร
1 ลูกบำศก์เซนติเมตร เท่ำกับ 1 มิลลิเมตร
1 ลิตร เท่ำกับ 1,000 มิลลิเมตร
1 ลิตร เท่ำกับ 1,000 ลูกบำศก์เซนติเมตร
1,000 ลิตร เท่ำกับ 1 ลูกบำศก์เมตร
หน่วยกำรวัดพืน ้ ทีใ่ นระบบอังกฤษ
3 ช ้อนชำ เท่ำกับ 1 ช ้อนโต๊ะ

16 ชอนโต๊ ะ เท่ำกับ 1 ถ ้วยตวง
1 ถ ้วยตวง เท่ำกับ 8 ออนซ์
หน่วยกำรวัดพืน ้ ทีใ่ นระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก (โดยประมำณ)
1 ช ้อนชำ เท่ำกับ 5 ลูกบำศก์เซนติเมตร
1 ถ ้วยตวง เท่ำกับ 240 ลูกบำศก์เซนติเมตร
หน่วยกำรวัดนํ้ ำหนั กในระบบเมตริก
1 กรัม เท่ำกับ 1,000 มิลลิกรัม
1 กิโลกรัม เท่ำกับ 1,000 กรัม
1 เมตริกตัน เท่ำกับ 1,000 กิโลกรัม
หน่วยกำรวัดพืน ้ ทีใ่ นระบบเมตริกเทียบกับระบบอังกฤษ (โดยประมำณ)
1 กิโลกรัม เท่ำกับ 2.2046 ปอนด์
1 ปอนด์ เท่ำกับ 0.4536 กิโลกรัม

หน่วยกำรตวงระบบประเพณีไทยเทียบกับระบบเมตริก
กระทรวงพำณิชย์ได ้กํำหนดกำรเทียบหน่วยกำรตวงระบบประเพณีไทยกับระบบ
เมตริกเพือ ้ ขำย คือกํำหนดให ้
่ กำรซือ
ข ้ำวสำร 1 ถัง มีนํ้ำหนัก 15 กิโลกรัม
ข ้ำวสำร 1 กระสอบ มีนํ้ำหนัก 100 กิโลกรัม

การว ัดเวลา

1 วัน เท่ำกับ 24 ชัว่ โมง


1 ชัว่ โมง เท่ำกับ 60 นำที
1 นำที เท่ำกับ 60 วินำที
้ ทีร่ ป
พืน ู ทรง 2 มิต ิ
้ ทีผ
พืน ่ วิ และปริมาตรของรูปทรง 3 มิต ิ
เรขาคณิต

การแปลงทางเรขาคณิต

การเลือ
่ นขนาน (Translation) เป็ นกำรแปลงทำงเรขำคณิตทีม ่ ก ่ นทุกจุดไปบนระนำบตำมแนวเส ้นตรงใน
ี ำรเลือ
ทิศทำงเดียวกัน และเป็ นระยะทำงทีเ่ ท่ำกันตำมทีก
่ ํำหนดในกำรบอกทิศทำงและระยะทำงของกำรเลือ ่ นขนำน จะใช ้
เวกเตอร์เป็ นตัวกํำหนด

การสะท้อน (Reflection)
สมบัตกิ ำรสะท ้อนมีดงั นี้
1. รูปต ้นแบบและภำพทีไ่ ด ้จำกกำรสะท ้อนเท่ำกันทุกประกำร
2. ส่วนของเส ้นตรงบนรูปต ้นแบบและภำพทีไ่ ด ้จำกกำรสะท ้อนของส่วนของเส ้นตรงนัน ้ ไม่จํำเป็ นต ้องขนำน
กันทุกคู่
3. ส่วนของเส ้นตรงทีเ่ ชือ
่ มจุดแต่ละจุดบนรูปต ้นแบบกับจุดทีส
่ มนัยกันบนภำพทีไ่ ด ้จำกกำรสะท ้อนจะขนำน
กัน และไม่จํำเป็ นต ้องยำวเท่ำกัน

การหมุน (Rotation)

สมบัตข ิ องกำรหมุนมีดงั นี้


1. รูปต ้นแบบกับภำพทีไ่ ด ้จำกกำรหมุนเท่ำกันทุกประกำร
2. ส่วนของเส ้นตรงบนรูปต ้นแบบและภำพทีไ่ ด ้จำกกำรหมุนส่วน
ของเส ้นตรงนัน ้ ไม่จํำเป็ นต ้องขนำนกันทุกคู่
3. จุดบนรูปต ้นแบบและภำพทีไ่ ด ้จำกกำรหมุนแต่ละคูจ ่ ะอยูบ ่ น
วงกลมทีม ่ จ
ี ุดหมุนเป็ นจุดศูนย์กลำงเดียวกัน แต่วงกลมเหล่ำนีไ้ ม่
จํำเป็ นต ้องมีรัศมียำวเท่ำกัน
้ ขนาน
เสน
สมบัตต ิ ำ่ ง ๆ ของเส ้นขนำน
1. สมบัตข ิ องเส ้นขนำนกับมุมภำยใน ถ ้ำหำก AB ⃡ // CD⃡ มี PQ เป็ นเส ้นตัด จะสรุปได ้ว่ำ 1̂+3̂ = 180° และ
2̂+4̂ = 180°
2. สมบัตข ิ องเส ้นขนำนกับมุมแย ้ง ถ ้ำหำก ⃡AB // ⃡CD มี PQ เป็ นเส ้นตัด จะสรุปได ้ว่ำ 1̂ = 4̂ และ 2̂ = 3̂
3. จำกรูปสมบัตข ิ องเส ้นขนำนและมุมภำยนอกกับมุมภำยใน ถ ้ำหำก AB ⃡ // CD
⃡ มี PQ เป็ นเส ้นตัด จะสรุปได ้
ว่ำ 1̂ = 5̂, 2̂ = 6̂, 4̂ = 8̂ และ 3̂ = 7̂

พีทาโกร ัส
จำกสูตร
c2 = a2 + b2
ถ ้ำเมือ
่ ไหร่ท ี่ c = a + b แล ้วรูปสำมเหลีย
2 2 2
่ มนัน
้ จะเป็ นรูปสำมเหลีย
่ มมุมฉำก

รูปแบบมำตรฐำนของรูปสำมเหลีย ่ มมุมฉำกทีเ่ รำนํ ำมำใช ้บ่อย ๆ


1. 3, 4, 5 6. 11, 60, 61
2. 5, 12, 13 7. 12, 35, 37
3. 7, 24, 25 8. 20, 21, 29
4. 8, 15, 17 9. 1, √3 , 2
5. 9, 40, 41 10. 1, 1, √2
ถ ้ำหำกว่ำเรำอยำกรู ้ว่ำรูปสำมเหลีย ่ มนัน
้ ๆ เป็ นชนิดของรูปสำมเหลีย
่ มมุมอะไร มีหลักเกณฑ์ในกำรพิจำรณำดังนี้
เมือ่ c เป็ นควำมยำวของด ้ำนทีย ่ ำวทีส่ ดุ
1. ถ ้ำ c2 = a2 + b2 แล ้ว ∆ รูปนัน้ จะเป็ น ∆ มุมฉำก
2. ถ ้ำ c > a + b แล ้ว ∆ รูปนัน
2 2 2
้ จะเป็ น ∆ มุมป้ ำน
3. ถ ้ำ c2 < a2 + b2 แล ้ว ∆ รูปนัน ้ จะเป็ น ∆ มุมแหลม
4. ถ ้ำ c = a+b แล ้วจะเป็ นเส ้นตรง สร ้ำงเป็ นรูป ∆ ไม่ได ้ เช่น 5, 5, 10 เป็ นต ้น
สามเหลีย
่ มคล้าย
คุณสมบัตข
ิ องรูปสำมเหลีย
่ มทีค
่ ล ้ำยกัน มีดงั นี้
ถ ้ำ ∆ ABC ~ ∆ DEF แล ้ว
1. มุมทีส่ มนัยกันจะมีขนำดเท่ำกัน จำกรูป
̂=D
A ̂, B
̂=E ̂, Ĉ = F̂
2. ด ้ำนทีส่ มนัยกันจะเป็ นสัดส่วนกัน จำกรูป
a b c
= =
d e f

*** สำมเหลีย ่ มทีเ่ ท่ำกันทุกประกำรจะเป็ นสำมเหลีย


่ มทีค
่ ล ้ำยกันเสมอ แต่สำมเหลีย
่ มทีค
่ ล ้ำยกันจะไม่เป็ น
สำมเหลีย
่ มทีเ่ ท่ำกันทุกประกำร

พีชคณิต

้ ต ัวแปรเดียว
สมการเชงิ เสน

รูปทัว่ ไปของสมกำรคือ ax + b = 0
เมือ
่ a ≠ 0 และ a, b เป็ นค่ำคงตัวทีม
่ ี x เป็ นตัวแปร

้ และระบบสมการ
ระบบสมการเชงิ เสน
สมการเชิงเสน ้ สองต ัวแปร
รูปทัว่ ไปของสมกำร คือ Ax + By + C = 0 เมือ
่ A, B, C เป็ นค่ำคงตัว โดยที่ A, B ≠ 0
สมการกาล ังสอง
รูปทัว่ ไปของสมกำร คือ ax2 + bx + c = 0 เมือ
่ a≠0

สถิตแ
ิ ละความน่าจะเป็น

สถิต ิ
การหาค่าตารางแจกแจงความถี่ จะมีสต
ู รต่ำง ๆ ดังนี้
การหาค่ากลางของข้อมูล จะมีสต
ู รต่ำง ๆ ดังนี้

1. ค่าเฉลีย
่ เลขคณิต
𝑛
෌𝑖=1 𝑥𝑖
กรณี ข ้อมูลไม่มก
ี ำรจัดหมวดหมู่ ഥ=
X 𝑛
𝑘 𝑘
෌𝑖=1 𝑓𝑖 𝑥𝑖 ෌𝑖=1 𝑓𝑖 𝑥𝑖
กรณี ข ้อมูลมีกำรจัดหมวดหมู่ 𝜇= 𝑘 =
෌𝑖=1 𝑓𝑖 𝑁

2. ม ัธยฐาน (Median)
กรณี ข ้อมูลไม่แจกแจงควำมถี่
𝑛+1
- ข ้อมูลเป็ นเลขคี่ มัธยฐำน = ค่ำของข ้อมูลลํำดับที่ ቀ
2

ค่าของข้อมูลลาดับที่(𝑛) ค่าของข้อมูลลาดับที่(𝑛+1)
ቀ ቁ+ ቀ ቁ
2 2
- ข ้อมูลเป็ นเลขคี่ มัธยฐำน =
2
กรณี ข ้อมูลแจกแจงควำมถี่
N
−F
Me = L + ቈ 2 ቉I
fm

L = ขอบล่ำงของชัน ้ มัธยฐำน
I = ควำมกว ้ำงของชัน ้
n = จํำนวนข ้อมูลทัง้ หมด
fm = ควำมถีข ้ ทีม
่ องชัน ่ ัธยฐำนอยู่
F = ควำมถีส
่ ะสมของชัน ้ ทีม
่ ค ้ มัธยฐำน
ี ำ่ สังเกตตํำ่ กว่ำชัน
3. ฐานนิยม (Mode)
𝑑1
Mo = L + ቀ𝑑 ቁI
1 +𝑑2

L = ขอบล่ำงของชัน้ ทีม
่ ค
ี วำมถีส ่ งู สุด

I = ควำมกว ้ำงของชัน
d1 = ควำมต่ำงระหว่ำงชัน ้ ทีม่ คี วำมถีส ่ งู สุดกับชัน้ ตํำ่ กว่ำ
d2 = ควำมต่ำงระหว่ำงชัน ้ ทีม่ คี วำมถีส ่ งู สุดกับชัน้ สูงกว่ำ

ความน่าจะเป็น
จํำนวนเหตุกำรณ์ทเี่ รำสนใจ
ควำมน่ำจะเป็ นของเหตุกำรณ์ =
จํำนวนเหตุกำรณ์ทงั ้ หมด
n(E)
P(E) =
n(S)
เมือ
่ P(E) = ควำมน่ำจะเป็ นของเหตุกำรณ์
n(E) = จํำนวนเหตุกำรณ์ทเี่ รำสนใจ
n(S) = จํำนวนเหตุกำรณ์ทงั ้ หมด
ข ้อควรจํำ
- เหตุกำรณ์ทมี่ ก ี ำรกระทํำต่อเนือ่ งกันให ้นํ ำควำมน่ำจะเป็ นแต่ละเหตุกำรณ์มำคูณกัน
P(E) = P(E1) × P(E2) × P(E3) × … × P(En)
- เหตุกำรณ์ทม ี่ กี ำรกระทํำไม่ตอ
่ เนือ
่ งกัน ให ้นํ ำควำมน่ำจะเป็ นแต่ละเหตุกำรณ์มำบวกกัน
P(E) = P(E1) + P(E2) + P(E3) + … + P(En)
- ถ ้ำมีสงิ่ ของ n สิง่ แต่เลือกมำทีละ r สิง่ จํำนวนวิธ ี
n!
C(n,r) =
(n−r)!

ท ักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

คูอ
่ ันด ับและกราฟ
คูอ
่ ันด ับ คือ กำรแสดงถึงควำมสัมพันธ์ของกำรจับคูร่ ะหว่ำงสมำชิกของกลุม ่ สองกลุม่
- ถ ้ำให ้ a เป็ นสมำชิกกลุม ่ แรก และ b เป็ นสมำชิกกลุม ่ หลัง เขียนแทนสัญลักษณ์ (a, b) อ่ำนว่ำ คูอ ่ น
ั ดับ
(a, b) ตัวอย่ำงเช่น คูอ ่ น
ั ดับ (2, 4), (3, 9), (-2, 3) และ (-5,-1) พิจำรณำได ้ว่ำ 2, 3, -2, -5 เป็ นสมำชิกตัวหน ้ำ
กลุม่ แรก และ 4, 9, 3, -1 เป็ นสมำชิกตัวหน ้ำกลุม ่ หลัง
- ถ ้ำเรำกํำหนดให ้คูอ ่ นั ดับ (a1, b1) และ (a2, b2) เป็ นคูอ
่ น
ั ดับใด ๆ แล ้ว คุณสมบัตข
ิ องคูอ
่ น
ั ดับคือ
(a1, b1) = (a2, b2) ก็ตอ ่ เมือ
่ a1 = a2 และ b1 = b2

้ ตรง รูปทัว่ ไปของกรำฟเส ้นตรง คือ y = mx+c


กราฟเสน
กราฟพาราโบลา
รูปทัว่ ไปของกรำฟพำรำโบลำคือ y = ax2+ bx+c โดยที่ a ≠ 0 ถ ้ำหำกว่ำ a = 0 จะกลำยเป็ นสมกำรเส ้นตรง

แผนภูมวิ งกลม
360°
่ ต่ละควำมถี่ ใช ้สูตรต่อไปนี้ คือ ขนำดของมุม = f ×
กำรหำขนำดของมุมจะแสดงควำมถีแ เมือ
่ f เป็ นควำมถี่
∑𝑓

หลักกำรเขียนแผนภูมริ ูปวงกลม มีขน ั ้ ตอนดังนี้


1. หำปริมำณของข ้อมูลทัง้ หมด และให ้ปริมำณทัง้ หมดแทน
มุมรอบจุดศูนย์กลำงของวงกลม ทีม ่ ข ี นำด 360°
2. นํ ำปริมำณของข ้อมูลแต่ละประเภท มำเทียบหำขนำดของ
มุมทีจ
่ ด
ุ ศูนย์กลำงของวงกลม
3. เขียนรูปวงกลม แล ้วลำกรัศมีของวงกลมเพือ ่ แบ่งพืน
้ ทีข
่ อง
รูปวงกลมเป็ นส่วนๆ ตำมขนำดของมุมทีจ ่ ด
ุ ศูนย์กลำงของวงกลมที่
หำได ้

แผนภูมริ ูปวงกลมค่ำใช ้จ่ำยทัง้ หมดภำยใน 1 เดือน


ข ้อมูล 1% จะมีคำ่ เท่ำกับ 3.6° นะ
อสมการ
อสมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ทพ ี่ ูดถึงควำมสัมพันธ์ของจํำนวน โดยมีสญ ั ลักษณ์ <, >, ≤, ≥ หรือ ≠ ที่
นํ ำมำใช ้บอกควำมสัมพันธ์ของจํำนวน
อสมการเชิงเสน ้ ต ัวแปรเดียว คือ อสมกำรทีม ่ ต
ี วั แปรเพียงตัวเดียวและมีดกี รีเป็ นหนึง่

คุณสมบ ัติของความไม่เท่าก ัน
- สมบัตก ิ ำรถ่ำยทอด
ถ ้ำ a < b และ b < c แล ้ว a < c
- สมบัตก ิ ำรบวกด ้วยจํำนวนไม่เท่ำกัน
ถ ้ำ a < b แล ้ว a+c < b+c
- สมบัตก ิ ำรคูณด ้วยจํำนวนทีเ่ ท่ำกัน
เมือ ่ c < 0 ถ ้ำ a < b แล ้ว ac < bc

You might also like