You are on page 1of 16

จำนวนจริง (Real Number)

จํานวนจริงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ℝ สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ จำนวนตรรกยะ และ จำนวนอตรรกยะ

1. จำนวนตรรกยะ (Rational Number) หมายถึง จํานวนที่ส ามารถเขียนได้ในรูป เศษส่วน


1 35
ของจํานวนเต็ม (ตัวส่วนไม่เท่ากับ 0 ) หรือเป็นทศนิยมซํ้า เช่น 12, 35, -15, 10102, 2, 17 เป็นต้น
โดยจํานวนตรรกยะนั้น จะแบ่งออกได้อีกเป็น 2 ส่วน คือ

- จํานวนเต็ม
- ไม่ได้เป็นจํานวนเต็ม

ซึ่งทั้งสองส่วนก็ยังมีส่วนย่อยลงไปได้อีก ส่วนตัวเลขที่ไม่สามารถเขียนได้ทั้งจํานวนเต็ม
และจํานวนที่มีทศนิยมซํ้าหรือเศษส่วนได้นั้น จะถือเป็นจํานวนอตรรกยะโดยทันที

2. จำนวนอตรรกยะ (Irrational Number ) หมายถึง จํานวนที่ไม่สามารถเขียนในรูป

เศษส่วนของจํานวนเต็มหรือเป็นทศนิยมไม่รู้จบ เช่น π, e, 0.43443444344443… , √2, √3 เป็นต้น

จำนวนเต็ม (Integer)
จํานวนเต็มเป็นส่วนหนึ่งของจํานวนตรรกยะ ซึ่งในจํานวนเต็มก็ยังสามารถแบ่งส่วนย่อยลงไปได้อีกเป็น

- จํานวนเต็มบวก เช่น
- จํานวนเต็มลบ เช่น
- จํานวนเต็มศูนย์ เช่น

ข้อควรรู้ : ไม่มีจำนวนเต็มบวกที่มำกที่สุด

ไม่มีจำนวนเต็มลบที่น้อยที่สุด

0 ไม่ใช่ทั้งจำนวนเต็มบวก และ จำนวนเต็มลบ

จำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด คือ 1

จำนวนเต็มลบทีม
่ ำกที่สุด คือ -1

ประเภทของจำนวน
- จํานวนคู่ ( Even Number ) : คือ จํานวนที่ 2 สามารถหารได้ลงตัว
- จํานวนคี่ ( Odd Number ) : คือจํานวนที่ 2 ไม่สามารถหารได้ลงตัว
- จํานวนเฉพาะ ( Prime Number ) : คือ จํานวนนับที่มีตัวหารที่เป็นจํานวนบวกเพียง 2 ตัว คือ 1 และ
ตัวมันเองเท่านั้น
- จํานวนประกอบ ( Composite Number ) คือ จํานวนนับที่เกิดจากผลคูณของจํานวนเฉพาะตั้งแต่ 2
ตัวขึ้นไป
กำรบวก ลบ จำนวนเต็ม
“ ชนิดเดียวกัน รวมกัน ได้ชนิดเดิม

ชนิดต่ำงกัน ลบกัน ให้ตัวมำก ”

เวลาเจอเครื่องหมายที่มีชนิดเดียวกัน ให้นําค่าทําการรวมกันก่อน แล้วใส่เครื่องหมายเดิมลงไป


ในทางกลับกันถ้ามีเครื่องหมายชนิดที่ต่างกัน ให้นําค่ามาหักลบกันก่อน
แล้วจึงใส่เครื่องหมายใหม่ซ่ งึ เป็นเครื่องหมายของตัวมากลงไป

สมบัติกำรบวกในจำนวนจริง

1. สมบัติปิดการบวก

- ถ้า a และ b เป็นจํานวนจริงใด ๆ a + b จะได้ผลลัพธ์เป็นจํานวนจริง

2. สมบัติการสลับที่การบวก

-a+b=b+a

3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการบวก

-a+(b+c)=(a+b)+c

4. การมีเอกลักษณ์การบวก

-0+a=a+0=a

5. การมีอินเวอร์สการบวก

- a + ( -a ) = ( -a ) + a = 0

กำรคูณ หำร จำนวนเต็ม

“ เครื่องหมำย ชนิดเดียวกัน เป็น +

เครื่องหมำย ชนิดต่ำงกัน เป็น – ”


เจอผลคูณของเครื่องหมายชนิดเดียวกัน เช่น บวกคูณบวก หรือ ลบคูณลบ
ผลลัพธ์ที่ได้จากได้เครื่องหมายเป็นจํานวนบวก และ ถ้าเราเจอผลคูณของเครื่องหมายที่ต่างกัน เช่น บวกคูณลบ
หรือ ลบคูณบวก ผลลัพธ์ที่ได้เครื่องหมายจะเป็นจํานวนลบ

สมบัติกำรคูณในจำนวนจริง

1. สมบัติปิดการคูณ

- ถ้า a และ b เป็นจํานวนจริงแล้ว ab จะได้ผลลัพธ์เป็นจํานวนจริง

2. สมบัติการสลับที่การคูณ

- ab = ba

3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการคูณ

- a × ( bc ) = ( ab ) × c

4. การมีเอกลักษณ์การคูณ

-1×a=a×1=a

5. การมีอินเวอร์สการคูณ

- a × ( 1/a ) = ( 1/a ) × a = 1

รำกที่สอง (Square Root) : รากที่สองของ a คือจํานวนจริงที่ยกกําลังสองแล้วเท่ากับ a

รากที่สองของ a มี 2 ค่า - รากที่สองที่เป็นบวกของ a ⇒ √𝑎

- รากที่สองที่เป็นลบของ a ⇒ −√𝑎

กำรหำรำกที่สอง มี 3 วิธี ดังนี้


- ใช้การแยกตัวประกอบ
- ใช้วิธีโดยการประมาณ
- ใช้วิธีตั้งหาร

วิธีกำรแยกตัวประกอบ

วิธีกำรประมำณ
วิธีตั้งหำร
Ex. √34

Ex. √26

Ex. √123

Ex. √345
Ex. √329.45

Ex. √567.23

Ex. √98.12
Ex. √33.678

วิธีกำรบวก ลบ จำนวนที่อยู่ในรูปกรณฑ์ที่สอง

ขั้นตอนที่ 1 : ถอดรากที่สองของจํานวนในเครื่องหมายกรณฑ์ ( ถ้ำทำได้ )


หากต้องการถอดรากที่สองของจํานวนในเครื่องหมายกรณฑ์ ให้ลองแยกตัวประกอบดู

เช่น √45 = _______________________________________________________


√96 = _______________________________________________________

√125 = ______________________________________________________

√800 = ______________________________________________________

√1024 = _____________________________________________________

ขั้นตอนที่ 2 : นําพจน์ที่มีตัวในเครื่องหมำยกรณฑ์เท่ากันมาบวกหรือลบกัน

เช่น 8√50 + 3√8 − 5√12 = ___________________________________________

8√50 = ______________________________________________________

3√8 = _______________________________________________________

5√12 = ______________________________________________________

Ex.

หมำยเหตุ

- อย่านําพจน์ที่มีจํานวนในเครื่องหมายกรณฑ์ไม่เท่ากันมาบวกหรือลบกัน
- อย่านําจํานวนเต็มมาบวกหรือลบจํานวนติดกรณฑ์ เช่น 3 + √2𝑥 ไม่สามารถนํามาบวกกันได้

วิธีกำรคูณ หำร จำนวนที่อยู่ในรูปกรณฑ์ที่สอง


ขั้นตอนที่ 1 : นําสัมประสิทธิม
์ าคูณกัน สัมประสิทธิค
์ ือตัวเลขที่อ ยู่นอกเครื่องหมายกรณฑ์
ถ้าไม่เห็นสัมประสิทธิ์อยู่หน้าเครื่องหมายกรณฑ์แสดงว่าสัมประสิ ทธิท
์ ี่อยู่หน้ำเครื่องหมำยกรณฑ์นั้นคือ 1

ขั้นตอนที่ 2 : นําจํานวนในเครื่องหมายกรณฑ์มาคูณกัน

เช่น 3√2 × √10 = _________________________________________________

4√3 × 3√6 = _________________________________________________

√18 × √2 = ___________________________________________________

√10 × √5 = ___________________________________________________

Ex.
โจทย์ปัญหำ

You might also like