You are on page 1of 2

สรุปสูตรคณิตศาสตร์สาหรับสอบ ภาค ก การหาผลบวกของเลขเฉพาะจานวนคู่หรือจานวนคี่

การหาผลบวกของเลขหลายจานวนเรียงกัน (ตัวแรก ตัวสุดท้าย) จานวนเทอม


ผลบวก =
กรณีที่ 1: การหาผลบวกของเลขที่เริ่มต้นจาก 1
ตัวสุดท้าย ตัวแรก
( ตัวเลขสุดท้าย) ตัวเลขสุดท้าย โดย จานวนเทอม = +1
ผลบวก =
ตัวอย่างที่ 3 : จงหาผลบวกของตัวเลขจานวนคี่ตั้งแต่ 11 – 31
จานวนเทอม = + 1 = 11
ตัวอย่างที่ 1 : จงหาผลบวกของตัวเลขตั้งแต่ 1 – 20 ( )
( ) ผลบวก = = = 231
ผลบวก = = 210
ตัวอย่างที่ 4 : จงหาผลบวกของตัวเลขตั้งแต่ 20 – 80
กรณีที่ 2: การหาผลบวกของเลชที่ไม่ได้เริ่มต้นจาก 1 จานวนเทอม = + 1 = 31
( )
(ตัวแรก ตัวสุดท้าย) ( ตัวสุดท้าย ตัวแรก ) ผลบวก = = = 1,550
ผลบวก =

สูตรเฉพาะสาหรับเรื่องคณิตศาสตร์ทั่วไป
ตัวอย่างที่ 2 : จงหาผลบวกของตัวเลขตั้งแต่ 10 – 40
( ) ( ) 1. อัตราเร็ว
ผลบวก = = = 775
𝑠
𝑣=
𝑡
การหาค่าตัวเลขจากผลบวกและผลต่างของเลข 2 จานวน โดย
𝑣 คือ อัตราเร็ว (เมตร/วินาที , กิโลเมตร/ชั่วโมง)
กรณีที่ 1: การหาเลขตัวที่มีค่าน้อยกว่า
𝑠 คือ ระยะทาง (เมตร, กิโลเมตร)
ผลบวก ผลต่าง
เลขจานวนน้อย = 𝑡 คือ เวลา (วินาที, ชั่วโมง)

ตัวอย่างที่ 5 : กาหนดเลข 2 จานวนที่มีค่าต่างกัน หากตัวเลข 2 2. การจับมือ


จานวนนี้รวมกันเท่ากับ 40 และหากจับมาลบกันจะเท่ากับ 20 2.1 การจับมือกันเอง จะใช้สูตรว่า
𝑛(𝑛 )
อยากทราบว่าเลขจานวนที่มีค่าน้อยกว่าจะมีค่าเท่ากับเท่าไร โดย n คือ จานวนคน
2.2 การจับมือกับฝ่ายตรงข้าม จะใช้สูตรว่า
เลขจานวนน้อย = = 10 n x n โดย n คือ จานวนคน

กรณีที่ 2: การหาเลขตัวที่มีค่ามากกว่า 3. การปักต้นเสา


ผลบวก ผลต่าง 3.1 การปักต้นเสาในแนวเส้นตรง จะใช้สูตรว่า
เลขจานวนมาก = + ผลต่าง
ระยะทางทั้งหมด
จานวนเสาที่ต้องการปัก = +1
ระยะห่างของต้นเสา
ตัวอย่างที่ 6: กาหนดเลข 2 จานวนที่มีค่าต่างกัน หากตัวเลข 2
จานวนนี้รวมกันเท่ากับ 40 และหากจับมาลบกันจะเท่ากับ 20 3.2 การปักต้นเสาในแนววงกลม จะใช้สตู รว่า
อยากทราบว่าเลขจานวนที่มีค่ามากกว่าจะมีค่าเท่ากับเท่าไร เส้นรอบวง
จานวนเสาทั้งหมด =
เลขจานวนมาก = + 20 = 10 + 20 = 30 ระยะห่างระหว่างเสา
การหาค่ากลางของข้อมูล สูตรเฉพาะสาหรับเรื่องตาราง
กรณีที่ 1 : มัธยฐาน 1. ถ้าโจทย์ถามว่า A เป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของ B
หลักการทา 1. เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือ น้อยไปมาก ก็ได้ แก้ปัญหาโดยการตั้งสมการว่า A = (B) จากนั้นย้ายข้างแก้สมการหา
2. มัธยฐาน คือ ค่าตรงกลาง(ตัวเลขตรงกลาง) X ก็จะได้คาตอบออกมา
3. หากมีตัวเลขอยู่ตรงกลาง 2 ตัวให้จับมาบวกกันแล้วหาร 2
ตัวอย่างที่ 7 : จงหาค่ามัธยฐานของจานวนต่อไปนี้ 15, 23, 26, 13, 21, 18, 20
2. ถ้าโจทย์ถามการเพิ่มขึ้นหรือลดลงกี่เปอร์เซ็นต์
นาข้อมูลมาเรียงลาดับ จะได้ 13, 15, 18, 20, 21, 23, 26
หน้า หลัง
ค่ามัธยฐาน คือ ตัวเลขตรงกลาง ได้แก่ 20 แก้ปัญหาโดยการตั้งสมการว่า x 100
หลัง
ตัวอย่างที่ 8 : จงหาค่ามัธยฐานของจานวนต่อไปนี้ 17, 14, 24, 32, 16, 18, 21, 25,
19, 30 3. ถ้าโจทย์ถามว่ามากกว่ากันหรือน้อยกว่ากันกี่เปอร์เซ็นต์
นาข้อมูลมาเรียงลาดับ จะได้ 14, 16, 17, 18, 19, 21, 24, 25, 30, 32 หน้า หลัง
แก้ปัญหาโดยการตั้งสมการว่า x 100
ค่ามัธยฐาน คือ ตัวเลขตรงกลางบวกกันแล้วหารสอง = 20 หลัง

กรณีที่ 2 : ฐานนิยม 4. ถ้าโจทย์ถามอัตราการขยายตัว(คิดเป็น % )


หลักการทา 1. หาตัวเลขที่มีความถี่สูงที่สุด(ซ้ากันมากทีส่ ุด) แก้ปัญหาโดยการตั้งสมการว่า
ตัวมาก ตัวน้อย
x 100
ตัวน้อย
2. ถ้าไม่มตี ัวเลขซ้ากัน แสดงว่า ไม่มีฐานนิยม
ข้อควรรู้
ตัวอย่างที่ 9 : จงหาค่าฐานนิยมของจานวนต่อไปนี้ 4, 4, 7, 7, 9, 8, 5 ถ้าค่าที่เราหาได้ออกมาเป็นลบ นัน่ หมายถึง มีการลดลง หรือ มีค่าน้อย
เราพบว่า 4 และ 7 เป็นข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากับ 2 เท่ากัน ดังนั้น เราถือว่าข้อมูล
กว่า นั่นเอง ไม่ต้องตกใจ คาตอบเรายังคงถูก เพียงแต่เครื่องหมายลบ
ดังกล่าวมีฐานนิยม 2 ค่า คือ 4 และ 7
ตัวอย่างที่ 10 : จงหาค่าฐานนิยมของจานวนต่อไปนี้ 2 , 7 , 9 , 11 , 13 เป็นการแสดงถึงการน้อยกว่า หรือ การลดลง เท่านั้น
เราพบว่า ข้อมูลมีความถี่เท่ากับ 1 เหมือนกันหมด ดังนั้น เราถือว่า ข้อมูลในลักษณะ
สูตรเฉพาะสาหรับเรื่องการให้เหตุผล(ตรรกศาสตร์)
ดังกล่าวนี้ ไม่มีฐานนิยม
สาหรับการสรุปเหตุผลที่มีการออกสอบ ก.พ. อยู่บ่อยๆ สามารถแบ่งได้
กรณีที่ 3 : ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โดย ̅ = ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็น 5 กรณี ซึ่งแต่ละกรณีมีหลักการคิดง่ายๆ ดังนี้

̅= ∑ = ผลรวมของตัวเลขทุกตัว กรณีที่ 1 P → Q
N = จานวนของข้อมูล ถ้า P
ตัวอย่างที่ 11 : ข้อมูลชุดหนึ่ง คือ 12, 14, 21, 13, X ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ
สรุป Q
ข้อมูลชุดนี้คือ 16 แล้ว X มีค่าเท่าไร
กรณีที่ 2 P → Q
̅=∑
ถ้า ~P
16 = สรุป ไม่แน่
16 x 5 = 60 + x กรณีที่ 3 P → Q
x = 80 - 60 = 20
ถ้า Q
ความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. สรุป ไม่แน่
กรณีที่ 4 P → Q
ห.ร.ม. x ค.ร.น. = ผลคูณของจานวนนับสอง ถ้า ~Q
ตัวอย่างที่ 12 : ตัวเลข 2 จานวนจานวน
มี ห.ร.ม. เท่ากับ 4 และมี ค.ร.น. สรุป ~P
เท่ากับ 24 ถ้าตัวเลขจานวนหนึ่งคือ 8 จงหาตัวเลขอีกจานวนหนึ่ง กรณีที่ 5 P → Q
กาหนดให้ตัวเลขที่จะหาเป็น A ถ้า Q →R
ห.ร.ม. x ค.ร.น. = ผลคูณของจานวนนับสองจานวน สรุป P → R
4 x 24 = 8A หมายเหตุ: อย่าลืมว่าการสรุปเหตุผลในข้อสอบ ก.พ. เราจะใช้เหตุผล
A = 12 ทางตรรกศาสตร์เท่านั้น อย่าใช้เหตุผลของเราเองเด็ดขาด

You might also like