You are on page 1of 35

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์
รหัสวิชา ค 23102
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภ า ค
เรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เวลาเรียน 10 ชั่วโมง
เรื่อง อสมการ เวลาเรียน 1
ชั่วโมง

1.มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบาย
ความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กำหนดให้
2.ตัวชีว
้ ัด
ค 1.3 ม. 3/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการไม่เท่ากันเพื่อวิเคราะห์
และแก้ปัญหาโดยใช้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถ
1. เขียนประโยคเกี่ยวกับจำนวนให้เป็ นประโยคที่ใช้สัญลักษณ์
< , > , ≤ , ≥ หรือ ¿ ได้
2. ระบุว่าประโยคที่กำหนดให้เป็ นหรือไม่เป็ นอสมการ
4. สาระสำคัญ
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ อสมการที่อยู่ในรูปพหุนามที่มี
ตัวแปรเพียงตัวเดียวและดีกรี
พหุนามเท่ากับ 1 และเป็ นประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของ
จำนวนโดยใช้สัญลักษณ์ < , >, ≤ , ≥ หรือ ¿ เรียกว่า " อสมการ "
5. สาระการเรียนรู้
อสมการ เป็ นประโยคสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวน
โดยใช้สัญลักษณ์
< , > , ≥ , ≤ หรือ ≠
แบ่งออกได้ 2 แบบ คือ
1. อสมการที่ไม่มีตัวแปร
2. อสมการที่มีตัวแปร
ประโยคภาษา เป็ นประโยคที่ประกอบด้วยตัวอักษรที่กล่าวถึงสิ่งใด
สิ่งหนึ่งในเชิงบรรยาย
เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงของสิ่งนัน

ประโยคสัญลักษณ์ เป็ นประโยคที่ประกอบด้วยตัวเลขที่เขียนแทน
ประโยคภาษา
เพื่อความสะดวกในการคํานวณ (ข้อสำคัญ คือ ประโยคสัญลักษณ์จะมี
ตัวแปรหรือไม่มีก็ได้)

พิจารณาการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็ นประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ประโยคสัญลักษณ์ ประโยคสัญลักษณ์
สามเท่าของของจำนวน ๆ หนึ่งมีค่ามากกว่า
3 x> 8
แปด
จำนวน ๆ หนึง่ บวกด้วยสิบสองน้อยกว่า
x +12≤ 5
หรือเท่ากับห้า
เศษสีส
่ ่วนเจ็ดของจำนวนจำนวนหนึ่งมีค่าไม่ 4
y ≥10
7
น้อยกว่าสิบ
หกเท่าของจำนวน ๆ หนึ่งลบด้วยสี่ มีค่า
6 z−4<5
น้อยกว่าห้า
6. ทักษะ/กระบวนการ
1. การให้เหตุผล
2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ
3. การเชื่อมโยง
4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
8. ชิน
้ งาน/ภาระงาน

ใบงานเรื่องการเขียนประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ใบงานที่เรื่องอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
9. กิจกรรมการเรียนรู้

9.1 ขัน
้ นำ ( 10 นาที )
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนมาเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดย
การถามนักเรียนดังนี ้
1.1 ประโยคสัญลักษณ์ที่เป็ นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอยู่ใน
รูปใด (เป็ นสมการพหุนามที่
อยู่ในรูป ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็ นค่าคงที่ และ a ≠ 0)
1.2 ให้นักเรียนยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ( เช่น
4a = 12 , t + 10 = 15 ) และ
ให้ช่วยกันยกตัวอย่าง
2. > (มากกว่า)
< (น้อยกว่า)
¿ (มากกว่าหรือเท่ากับ)
¿ (น้อยกว่าหรือเท่ากับ)
¿ (ไม่เท่ากับ) เราจะเรียกสัญลักษณ์ดังกล่าวนี ้
ว่า อสมการ

9.2 ขัน
้ สอน ( 30 นาที )

3. อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอยู่ในรูปต่อไปนี ้
1) ax + b < 0
2) ax + b ≤ 0
3) ax + b > 0
4) ax + b ≥ 0
5) ax + b ≠ 0 (เมื่อ a, b เป็ นค่าคงที่โดยที่ a ≠ 0 และ x
เป็ นตัวแปร )
4. ครูนำสนทนาเพิ่มเติมการเขียนประโยคสัญลักษณ์ที่แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่าง
จำนวนสองจำนวน พร้อมติดแถบประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์
เช่น
– ประโยคภาษา คือ สองเท่าของจำนวนหนึ่งบวกด้วย
สิบเท่ากับลบสิบหก
– ประโยคสัญลักษณ์ คือ 2x + 10 = 16
– ประโยคภาษา คือ มนูและมาโนชเลีย
้ งสุนัขไว้รวมกัน
10 ตัว
– ประโยคสัญลักษณ์ คือ x + y = 10
แล้วให้นักเรียนจับคู่แถบประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์ที่เป็ น
สมการ
5. ครูติดแถบประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์ที่แสดงความ
สัมพันธ์ระหว่าง
จำนวนสองจำนวน
– ประโยคภาษา คือ สองเท่าของจำนวนหนึ่งบวกด้วยสิบ
ไม่เท่ากับลบสิบหก
– ประโยคสัญลักษณ์ คือ 2x + 10  -16
– ประโยคภาษา คือ สราวุฒิทำการบ้าน
คณิตศาสตร์เสร็จ 51 ข้อ ปรากฏว่าเหลือการบ้านมากกว่า 24 ข้อที่ยังไม่ได้
ทำ
– ประโยคสัญลักษณ์ คือ x – 51 > 24
– ประโยคภาษา คือ เศษสองส่วนห้าของน้ำหนักสุดารัตน์ไม่น้อย
กว่าสี่สิบห้ากิโลกรัม
2
– ประโยคสัญลักษณ์ คือ 5 x  45
6. ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องการเขียนประโยคสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์และใบงานเรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
9.3 ขัน
้ สรุป ( 10 นาที )
7. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว
อยู่ในรูปเครื่องหมายแ< , > , ≥, ≤ หรือ ≠
8. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัด
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอยู่ในรูปต่อไปนี ้
1) ax + b < 0
2) ax + b ≤ 0
3) ax + b > 0
4) ax + b ≥ 0
5) ax + b ≠ 0 (เมื่อ a, b เป็ นค่าคงที่โดยที่ a ≠ 0 และ x
เป็ นตัวแปร )
10. สื่อ/อุปกรณ์

1. ใบงาน เรื่อง การเขียนประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

2. ใบงาน เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

3. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน เล่ม 2 ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3

11.การวัดผลและประเมินผล

การวัดผล เครื่องมือวัดผล การประเมินผล

1. สังเกต -การตอบคำถาม
-การมีส่วนร่วม
2. ทำใบงาน -การทำใบงานเรื่อง นักเรียนสามารถทำใบ
การเขียนประโยค งานได้ถูกต้องร้อยละ
สัญลักษณ์ทาง 60 %
คณิตศาสตร์
-การทำใบงานเรื่อง
อสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
ใบงานเรื่องการเขียนประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

จงเขียนประโยคภาษาต่อไปนีใ้ ห้เป็ นประโยคสัญลักษณ์ทาง


คณิตศาสตร์ให้ถูกต้อง
โดยแทนตัวแปรด้วย x

ประโยคภาษา ประโยคสัญลักษณ์

1.ผลบวกของจำนวนหนึ่งกับห้าคูณสองมากกว่า
สิบสอง
2.จำนวนจำนวนหนึ่งหารด้วยห้ามีค่ามากกว่า
เท่ากับสิบสอง
3.สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งบวกเจ็ดมีค่าไม่
มากกว่ายี่สิบเจ็ด
4. สองเท่าของผลบวกของจำนวนหนึ่งกับแปด
น้อยกว่าห้า
5.สี่เท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งบอกด้วยเจ็ดมีค่าไม่
น้อยกว่าเก้า
6.ห้าเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งหารด้วยเก้า
มากกว่าหรือเท่ากับยี่สิบ
7. ผลคูณของห้ากับจำนวนหนึ่งบวกด้วยสองมีค่า
มากกว่าสิบห้า
8. จำนวนจำนวนหนึ่งลบด้วยสิบสองหารด้วยห้ามี
ค่าไม่มากกว่าสิบแปด
9.ผลต่างของจำนวนจำนวนหนึ่งกับเจ็ด เมื่อหาร
ด้วยสามมีค่าไม่เท่ากับ สิบสอง
10.ครึ่งหนึ่งของผลบวกของสิบกับจำนวนหนึ่งมีค่า
ไม่น้อยกว่าสิบ

ใบงานเรื่องอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย () ลงในช่องตารางให้ถูกต้อง

อสมการ อสมการเชิงเส้น
ข้
ประโยคสัญลักษณ์ ตัวแปรเดียว

ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่
1 8x = 16
2 2x + 5 =13
3 3x + 5 > 10
4 2x < 20
3

5 y + 9 ≥ 16
6 2x + x ≤ x +19
7 y 2- 5 ≠0
6
8 5
( x−3 )=10

9 X – 8 ≥ 26
1
0 3x + 9 < x – 12
1 3+7 < 15
1
9 7
1 + <3
8 8
2
1 3x + 9 ≤ x – 12
3
2
1 3
x +9<20+ y

4
1 3y + 9 ≥ 16x + 8
5
เฉลยใบงานที่1 การเขียนประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

จงเขียนประโยคภาษาต่อไปนีใ้ ห้เป็ นประโยคสัญลักษณ์ทาง


คณิตศาสตร์ ให้ถูกต้อง
โดยแทนตัวแปรด้วย x

ประโยค
ประโยคภาษา
สัญลักษณ์

1.ผลบวกของจำนวนหนึ่งกับห้าคูณสองมากกว่าสิบสอง 2 ( 5+ x )> 12

2.จำนวนจำนวนหนึ่งหารด้วยห้ามีค่ามากกว่าเท่ากับสิบ x
≥12
5
สอง
3.สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งบวกเจ็ดมีค่าไม่มากกว่า
3 x+ 7 ≤21
ยี่สิบเจ็ด
4. สองเท่าของผลบวกของจำนวนหนึ่งกับแปดน้อยกว่า
2 ( x+ 8 ) <5
ห้า
5.สี่เท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งบอกด้วยเจ็ดมีค่าไม่น้อย
4 x+7 ≥ 9
กว่าเก้า
6.ห้าเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งหารด้วยเก้ามากกว่าหรือ 5x
≥ 20
9
เท่ากับยี่สิบ
7. ผลคูณของห้ากับจำนวนหนึ่งบวกด้วยสองมีค่า
5 x+ 2> 15
มากกว่าสิบห้า
x−12
8. จำนวนจำนวนหนึ่งลบด้วยสิบสองหารด้วยห้ามีค่าไม่ 5
≤18
มากกว่าสิบแปด
9.ผลต่างของจำนวนจำนวนหนึ่งกับเจ็ด เมื่อหารด้วยสาม x−7
≠ 12
3
มีค่าไม่เท่ากับสิบสอง
10.ครึ่งหนึ่งของผลบวกของสิบกับจำนวนหนึ่งมีค่าไม่ 10+ x
≥10
2
น้อยกว่าสิบ

เฉลยใบงานเรื่องอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย () ลงในช่องตารางให้ถูกต้อง

อสมการ อสมการเชิงเส้น
ข้ ประโยคสัญลักษณ์ ตัวแปรเดียว
อ ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่
1 8x = 16  

2 2x + 5 =13  

3 3x + 5 > 10  

4  
2x < 20
3

5 y + 9 ≥ 16  

6 2x + x ≤ x +19  

7 y 2- 5 ≠0  
6  
8 5
( x−3 )=10

9 X – 8 ≥ 26  
1  

0 3x + 9 < x – 12
1 3+7 < 15  

1
9 7  
1 + <3
8 8
2
1 3x + 9 ≤ x – 12  

3
2  
1 3
x +9<20+ y

4
1 3y + 9 ≥ 16x + 8  

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์
รหัสวิชา ค 23102
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภ า ค
เรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เวลาเรียน 10 ชั่วโมง
เรื่อง อสมการ เวลาเรียน 1
ชั่วโมง

1.มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบาย
ความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กำหนดให้
2.ตัวชีว
้ ัด
ค 1.3 ม. 3/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการไม่เท่ากันเพื่อวิเคราะห์
และแก้ปัญหา โดยใช้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถ
1. หาคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยวิธีแทนค่าตัวแปร
ได้
2. เขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวบนเส้น
จำนวนได้
4. สาระสำคัญ
คำตอบของอสมการมี 3 แบบ คือ อสมการที่มีจำนวนจริงบาง
จำนวนเป็ นคำตอบ
อสมการที่มีจำนวนจริงทุกจำนวนเป็ นคำตอบและอสมการที่ไม่มี
จำนวนจริงใดเป็ นคำตอบ
อาจแสดงคำตอบโดยใช้กราฟบนเส้นจำนวนได้
5. สาระการเรียนรู้
คำตอบของอสมการมี 3 แบบ คือ อสมการที่มีจำนวนจริงบาง
จำนวนเป็ นคำตอบ
อสมการที่มีจำนวนจริงทุกจำนวนเป็ นคำตอบและอสมการที่ไม่มี
จำนวนจริงใดเป็ นคำตอบ
คำตอบของอสมการ อาจเขียนแสดงคำตอบโดยใช้กราฟบนเส้นจำนวนได้
ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้แสดงคำตอบของกราฟจะใช้ดังนี ้ คือ
จุด (จุดทึบ) หมายความว่า ตัวเลข ณ จุดนัน
้ คือคำตอบของอสมการ
นัน

จุด (จุดโปร่ง) หมายความว่า ตัวเลข ณ จุดนัน
้ ไม่ใช่คำตอบของ
อสมการ
(ลูกศร) หมายความว่า ถ้าชีไ้ ปทางขวามือจะแสดงจำนวนที่มีค่า
มากขึน
้ ถ้าชีไ้ ปทางซ้ายมือจะแสดงจำนวนที่มีค่าน้อยลง
6. ทักษะ/กระบวนการ
1. การให้เหตุผล
2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ
3. การเชื่อมโยง
4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
8. ชิน
้ งาน/ภาระงาน
ใบงานเรื่องการเขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้น
ตัวแปร
9. กิจกรรมการเรียนรู้
9.1 ขัน
้ นำ ( 10 นาที )
1. ครูสนทนาเกี่ยวกับอสมการว่า อสมการคือประโยคสัญลักษณ์
ที่มีเครื่องหมาย < , > , ≥, ≤ หรือ≠
ซึ่งอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอยู่ในรูปต่อไปนี ้
1) ax + b < 0 2) ax + b ≤ 0
3) ax + b > 0 4) ax + b ≥ 0
5) ax + b ≠ 0 (เมื่อ a, b เป็ นค่าคงที่โดยที่ a ≠ 0 และ x เป็ นตัวแปร )
ซึ่งสมการเราสามารถหาค่าตัวแปรได้ และในทำนองเดียวกันอสมการก็
สามารถหาค่าของตัวแปรได้เหมือนกัน
2. การเขียนกราฟบนเส้นจำนวนมีขน
ั ้ ตอนการพิจารณาตัวเลขคำ
ตอบ
1. ดูตัวเลขที่เป็ นคำตอบ
2. วงกลมลงเหนือตัวเลขนัน
้ และพิจารณาว่าตัวนัน
้ เป็ นคำตอบของ
อสมการหรือไม่ ถ้าตัวเลข ณ จุดนัน
้ คือคำตอบของอสมการใช้
สัญลักษณ์ ถ้าตัวเลข ณ จุดนัน
้ ไม่ใช่คำตอบของอสมการใช้
สัญลักษณ์
3.พิจารณาเครื่องหมาย ถ้าเครื่องหมายมากกว่าลูกศรจะชีไ้ ปทางขวา (
) ถ้าเครื่องหมายน้อยกว่าลูกศรจะชีไ้ ปทางซ้าย ( )
หมายเหตุ ถ้าเป็ นเครื่องหมาย ≠ ใช้จุดโปร่ง และลูกศรชีอ
้ อกทัง้
สองข้าง
คำตอบของอสมการอาจแสดงให้เห็นได้โดยใช้กราฟบนเส้นจำนวนแสดง
จำนวนจริงที่เป็ นคำตอบ
1. คำตอบที่มีสัญลักษณ์ “ ¿” กราฟคำตอบจะเป็ นจุดโปร่งที่คำตอบวิ่ง
ไปทางขวา

2. คำตอบที่มีสัญลักษณ์ “ ¿” กราฟคำตอบจะเป็ นจุดโปร่งที่คำตอบวิ่ง


ไปทางซ้าย

3. คำตอบที่มีสัญลักษณ์ “ ≥” กราฟคำตอบจะเป็ นจุดทึบที่คำตอบวิ่ง


ไปทางขวา

4. คำตอบที่มีสัญลักษณ์ “ ≤” กราฟคำตอบจะเป็ นจุดทึบที่คำตอบวิ่ง


ไปทางซ้าย

5. คำตอบที่มีสัญลักษณ์ “ ≠” กราฟคำตอบจะเป็ นจุดโปร่งที่คำตอบวิ่ง


ท้ะงสองข้าง

9.2 ขัน
้ สอน ( 20 นาที )
3. ครูอธิบายว่าการแก้อสมการมี 2 วิธี คือ บนเส้นจำนวนและ
สมบัติการไม่เท่ากัน คำตอบและกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียวอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อาจมีคำตอบได้หลายลักษณะ
ดังตัวอย่างต่อไปนี ้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาคำตอบของอสมการ x ≥ 5
วิธีทำ หาจำนวนแทนใน x ถ้าแทนค่า x = 5 จะได้อสมการ 5 ≥ 5
เป็ นจริง
หาจำนวนแทนใน x ถ้าแทนค่า x = 6 จะได้อสมการ 6 ≥ 5
เป็ นจริง
หาจำนวนแทนใน x ถ้าแทนค่า x = 7 จะได้อสมการ 7 ≥ 5
เป็ นจริง
หาจำนวนแทน x = 100 แทนในสมการ
ดังนัน
้ คำตอบของอสมการ x ≥ 5 คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า
หรือเท่ากับ 5
ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 5

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบของอสมการ a ≠ 2
วิธีทำ หาจำนวนแทนใน a ถ้าแทนค่า a = 5 ในอสมการจะได้ 5 ≠
2 เป็ นจริง
หาจำนวนแทนใน a ถ้าแทนค่า x = 12 จะได้อสมการ 6 ≠ 2
เป็ นจริง
หาจำนวนแทนใน a ถ้าแทนค่า x = 30 จะได้อสมการ 7 ≠ 2
เป็ นจริง
หาจำนวนแทน a = 145 แทนในสมการ
ดังนัน
้ คำตอบของอสมการ a ≠ 2 คือ จำนวนจริงทุกจำนวนยกเว้น 2
ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนยกเว้น 2

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

ตัวอย่างที่ 3 จงหาคำตอบของอสมการ x < x + 1


วิธีทำ หาจำนวนแทนใน x ถ้าแทนค่า x = 3 ในอสมการจะได้ 3 <
3 + 1 = 3 < 4 เป็ นจริง
หาจำนวนแทนใน x ถ้าแทนค่า x = 8 ในอสมการจะได้ 8 < 8 +
1 = 8 < 9 เป็ นจริง
หาจำนวนแทนใน x ถ้าแทนค่า x = 500 ในอสมการจะได้ 500
< 500 + 1 = 500 < 501 เป็ นจริง
หาจำนวนแทน x = 100 แทนในสมการ
ดังนัน
้ คำตอบของอสมการ x < x + 1 คือ จำนวนจริงทุกจำนวน
ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวน

ตัวอย่างที่ 4 จงหาคำตอบของอสมการ m – 3 > m


วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนใดแทน m ใน m – 3 > m แล้วทำให้
อสมการเป็ นจริง
ดังนัน
้ ไม่มีจำนวนจริงใดเป็ นคำตอบของอสมการ m – 3 > m
ตอบ ไม่มีจำนวนจริงใดเป็ นคำตอบ
4. ครูอธิบายว่าตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นว่าคำตอบของอสมการมี
3 แบบ คือ
1. อสมการที่มีจำนวนจริงบางจำนวนเป็ นคำตอบ เช่น
อสมการในตัวอย่างที่ 1 และตัวอย่างที่ 2
2. อสมการที่มีจำนวนจริงทุกจำนวนเป็ นคำตอบ เช่น
อสมการในตัวอย่างที่ 3
3. อสมการที่ไม่มีจำนวนจริงใดเป็ นคำตอบ เช่น อสมการใน
ตัวอย่างที่ 4
และให้นักเรียนศึกษาพิจารณาตัวอย่าง
ตัวอย่าง 5 จงหาคำตอบของอสมการต่อไปนีพ
้ ร้อมทัง้ เขียน
กราฟแสดงบนเส้นจำนวน
1. x – 5 > 6
2. x + 10 < 15
วิธีทำ 1. จากอสมการ x–5>6
x – 5 + 5 > 6 + 5 (บวกทัง้ สองข้างของ
อสมการด้วย 5)
x > 11

ดังนัน
้ คำตอบของอสมการคือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากก
ว่า 11
2. จากอสมการ x + 10 < 15
x + 10 + (–10) < 15 + (–10) (บวกทัง้ สองข้าง
ของอสมการด้วย –10)
x<5

ตัวอย่าง 6 จงหาคำตอบของอสมการต่อไปนีพ
้ ร้อมทัง้ เขียน
กราฟแสดงบนเส้นจำนวน
1. 3x – 4  2
x
2. 2 +6–5
วิธีทำ 1. จากอสมการ 3x – 4  2
3x – 4 + 4  2 + 4 (บวกทัง้ สอง
ข้างของอสมการด้วย 4)
3x  6
1 1
3× 3 x6× 3 (คูณทัง้ สองข้าง
1
ของอสมการด้วย 3 )
x2
ดังนัน
้ คำตอบของอสมการคือ จำนวนจริงทุกจำนวนตัง้ แต่ 2
ลงมา
x
2. จากอสมการ 2+ 6 > –5
x+ 6 + (–6)  (–5) + (–6) (บวกทัง้ สองข้าง
2

ของอสมการด้วย –6)
x
2  –11

x× 2  (–11) × 2 (คูณทัง้ สองข้าง


2

ของอสมการด้วย 2)
x  –22

ดังนัน
้ คำตอบของอสมการคือ จำนวนจริงทุกจำนวนตัง้ แต่ –22
ขึน
้ ไป
9.3 ขัน
้ สรุป ( 20 นาที )
4. ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องการเขียนกราฟแสดงคำตอบของ
อสมการเชิงเส้นตัวแปร
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า คำตอบของอสมการมี 3
แบบ คือ อสมการที่มีจำนวนจริงบางจำนวนเป็ นคำตอบ อสมการที่มี
จำนวนจริงทุกจำนวนเป็ นคำตอบ และอสมการที่ไม่มีจำนวนจริงใด
เป็ นคำตอบ และสามรถเขียนคำตอบของอสมการโดยใช้กราฟบนเส้น
จำนวนแทนได้ซึ่งมีขน
ั ้ ตอนดังนี ้
1.ดูตัวเลขที่เป็ นคำตอบ 2.วงกลมลงเหนือตัวเลขนัน
้ และพิจารณาว่าตัว
นัน
้ เป็ นคำตอบของอสมการหรือไม่ ถ้าตัวเลข ณ จุด นัน
้ คือคำตอบ
ของอสมการใช้สัญลักษณ์ ถ้าตัวเลข ณ จุดนัน
้ ไม่ใช่คำตอบของ
อสมการใช้สัญลักษณ์ 3.พิจารณาเครื่องหมายถ้าเครื่องหมายมากกว่าลูก
ศรจะชีไ้ ปทางขวา ( )
ถ้าเครื่องหมายน้อยกว่าลูกศรจะชีไ้ ปทางซ้าย ( )
หมายเหตุ ถ้าเป็ นเครื่องหมาย ≠ ใช้จุดโปร่ง และลูกศรชีอ
้ อกทัง้
สองข้าง
10. สื่อ/อุปกรณ์
1.ใบงาน เรื่อง การเขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้น
ตัวแปร
2.หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน เล่ม 2 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 3 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์

11. การวัดและประเมินผล

การวัดผล เครื่องมือวัดผล การประเมินผล

1. สังเกต -การตอบคำถาม
-การมีส่วนร่วม
2. ทำใบงาน -การทำใบงานเรื่อง นักเรียนสามารถทำใบ
อสมการเชิงเส้น งานได้ถูกต้องร้อยละ
ตัวแปรเดียว 60 %
ใบงานเรื่องการเขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปร

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนหาคำตอบของอสมการในข้อต่อไปนี ้ โดยทดลอง
แทนค่าและเขียนกราฟแสดงคำตอบ (ข้อละ 2 คะแนน)
1. x + 7 > 3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………

2. 2x – 6 ≤ 4
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………............................
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………

3. 4x – 5 ≥ 15
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………

4. x - 5 ≥ -4
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

5. -7x ≠ 35
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
เฉลยใบงานเรื่องการเขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้น
ตัวแปร

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนหาคาตอบของอสมการในข้อต่อไปนี ้ โดยทดลอง
แทนค่าและเขียนกราฟแสดงคำตอบ (ข้อละ 2 คะแนน)
1. x + 7 > 3
วิธีทำ จาก x+7 > 3
ถ้าแทน x ด้วย -4
จะได้ว่า -4+7 > 3
3>3 ไม่เป็ นจริง
ถ้าแทน x ด้วย -3
จะได้ว่า -3+7>3
4>3 เป็ นจริง
ดังนัน
้ -3 แทนลงใน x แล้วจะทำให้ x+7>3 เป็ นจริง
แสดงว่า -3 เป็ นคำตอบของอสมการ x+7>3
เมื่อแทน x ด้วยจำนวนจริงอื่นๆ อีก จะพบว่ามีจำนวนอีก
หลายจำนวนที่ทำให้อสมการ x+7>3 เป็ นจริง เช่น -2,-1,0,1,2,…
นั่นคือ คำตอบของอสมการ x+7>3 คือจำนวนจริงทุกจำนวน
ที่มากกว่า -4

เขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการ x+7>3 ได้ดงั นี ้

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า -4

เกณฑ์การให้คะแนน
ส่วนที่เป็ นสีฟ้าได้ 1 คะแนน
ส่วนที่เป็ นสีส้มได้ 1 คะแนน
2. 2x – 6 ≤ 4

วิธีทำ จาก 2 x−6 ≤ 4

ถ้าแทน x ด้วย 6
จะได้ว่า 2(6)−6 ≤ 4

6≤4 ไม่เป็ นจริง


ถ้าแทน x ด้วย 5
จะได้ว่า 2(6)−6 ≤ 4

4≤4 เป็ นจริง


ดังนัน
้ แทน x ด้วย 5 และ 4 แล้วจะทำให้ 2 x−6 ≤ 4 เป็ นจริง

แสดงว่า 5,4 เป็ นคำตอบของอสมการ 2 x−6 ≤ 4

เมื่อแทน x ด้วยจำนวนจริงอื่นๆ อีก จะพบว่ามีจำนวนอีก


หลายจำนวนที่ทำให้อสมการ 2 x−6 ≤ 4 เป็ นจริง เช่น 4,3,2,1,0,…
นั่นคือ คำตอบของอสมการ 2 x−6 ≤ 4 คือจำนวนจริงทุกจำนวน

ที่น้อยกว่าเท่ากับ 5

เขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการ 2 x−6 ≤ 4 ได้ดง


ั นี ้

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5
3. 4x – 5 ≥ 15

วิธีทำ จาก 4 x−5 ≥15

ถ้าแทน x ด้วย 4
จะได้ว่า 4 (5)−5 ≥ 15

11≥ 15 ไม่เป็ นจริง


ถ้าแทน x ด้วย 5
จะได้ว่า 4 (5)−5 ≥ 15

15≥ 15 เป็ นจริง


ถ้าแทน x ด้วย 6
จะได้ว่า 4 (6)−5≥ 15

19≥ 15 เป็ นจริง


ดังนัน
้ แทน x ด้วย 5 แล้วจะทำให้ 4 x−5 ≥15 เป็ นจริง

แสดงว่า 5 เป็ นคำตอบของอสมการ 4 x−5 ≥15


เมื่อแทน x ด้วยจำนวนจริงอื่นๆ อีก จะพบว่ามีจำนวนอีก
หลายจำนวนที่ทำให้อสมการ 4 x−5 ≥15 เป็ นจริง เช่น 7,8,9,…
นั่นคือ คำตอบของอสมการ 4 x−5 ≥15 คือจำนวนจริงทุกจำนวน

ที่มากกว่าเท่ากับ 5

เขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการ 4 x−5 ≥15 ได้ดังนี ้

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8

ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 5

4. x - 5 ≥ -4

วิธีทำ จาก x−5 ≥−4

ถ้าแทน x ด้วย -1
จะได้ว่า -1- 5 ≥ -4
-6≥−4 ไม่เป็ นจริง
ถ้าแทน x ด้วย 0
จะได้ว่า 0−5 ≥−4

-5≥−4 ไม่เป็ นจริง


ถ้าแทน x ด้วย 1
จะได้ว่า 1−5 ≥−4

-4≥−4 เป็ นจริง


ถ้าแทน x ด้วย 2
จะได้ว่า 2−5 ≥−4

-3≥−4 เป็ นจริง


ดังนัน
้ แทน x ด้วย 1,2 แล้วจะทำให้ x−5 ≥−4 เป็ นจริง

แสดงว่า 5 เป็ นคำตอบของอสมการ x−5 ≥−4

เมื่อแทน x ด้วยจำนวนจริงอื่นๆ อีก จะพบว่ามีจำนวนอีก


หลายจำนวนที่ทำให้อสมการ x−5 ≥−4 เป็ นจริง เช่น 3,4,5,…
นั่นคือ คำตอบของอสมการ x−5 ≥−4 คือจำนวนจริงทุกจำนวน
ที่มากกว่าเท่ากับ 1

เขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการ x−5 ≥−4 ได้ดงั นี ้

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8

ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1
5. −4 x ≠ 12

วิธีทำ จาก −4 x ≠ 12

ถ้า x ด้วย 0 จะได้ −4(0) ≠12 เป็ นจริง


ถ้า x ด้วย 2 จะได้ −4(2)≠ 12 เป็ นจริง
ถ้า x ด้วย -3 จะได้ −4(−3) ≠12 ไม่เป็ นจริง
ถ้า x ด้วย -6 จะได้ −4(−6)≠ 12 เป็ นจริง
เมื่อแทน x ด้วยจำนวนจริงอื่นๆ อีกมากมายที่ทำให้
อสมการเป็ นจริง จะพบว่า
−4 x ≠ 12 เป็ นจริง เมื่อจริง เมื่อแทน x ได้ทุกจำนวนยกเว้น -3
นั่นคือ คำตอบของอสมการ −4 x ≠ 12 คือ
จำนวนจริงทุกจำนวนยกเว้น -3

เขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการ −4 x ≠ 12ได้ดังนี ้

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3

ตอบ จำนวนจริงทุกจำนวนยกเว้น -3

You might also like