You are on page 1of 5

ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง เอกนามคล้าย


จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกเอกนามที่คล้ายกันได้
คำชีแ้ จง ให้นักเรียนจับคู่เอกนำมที่คล้ำยกันต่อไปนี้ (ข้อละ1 คะแนน)

............. 1) 4 ก) 3
............. 2) -12 ข) 6xy )
............. 3) 32xy ค 2
............. 4) -9 ง) -zx
1
............. 5) 3 จ)
2
............. 6) -10x ฉ) -
............. 7) 16xz ช) -7
............. 8) ซ) 5 y
............. 9) -35 ฌ) x
.............10) 15 ญ) 2

คะแนนที่ได้

10
ชื่อ …………………………………………………………….……………………………..…….…….. ชั้น…………...……….. เลขที่ ………………….

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม


จุดประสงค์ นักเรียนสามารถหาผลบวกและผลลบของเอกนามได้
คำชีแ้ จง ให้นักเรียนเติมคำตอบกำรบวกและกำรลบเอกนำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (ข้อละ1 คะแนน)

1. 5x + 10x = ………………………………

2. 24m - 12m = ………………………………

3. 8x + 16x = ………………………………

4. 18xy - 12xy = ………………………………

5. a – 5a = ………………………………

6. 16 + 20 = ………………………………

7. -9m + 3m = ………………………………

8. 12mn + 14mn + (-3mn) = ………………………………

9. 7abc - 21abc = ………………………………

10. 11x - 33x + 2x = ……………………………….

คะแนนที่ได้

10
ใบความรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง การบวกและการลบเอกนาม
นาม
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถหาผลบวกและผลลบของเอกนามได้
1. ผลบวกของเอกนาม
การหาผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน
= (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) × (ส่วนที่อยู่ในรูปของตัวแปร หรือการคูณกันของตัวแปร)
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ y + (-7y)
วิธีทา y + (-7y) = 1+ (-7)  y
= (-6)y
= -6y
ตอบ -6y
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของ 4xy2 + 9xy2
วิธีทา 4xy2 + 9xy2= 1+ 4)  xy2
= (13)xy2
= 13xy2
ตอบ 13xy2
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวกของ (-2y2) + 9y2+ 11y2
วิธีทา (-2y2) + 9y2+ 11 y2 =  (-2) + 9 +11) y2
= (18)y2
= 18y2
ตอบ 18y2
2. ผลลบของเอกนาม
การลบเอกนามที่คล้ายกันใช้หลักการเช่นเดียวกับการลบจานวนสองจานวนตามข้อตกลงดังนี้
a – b = a + (-b) เมื่อ a, b เป็นจานวนใดๆ และ –b เป็นจานวนตรงข้ามของ b
นั่นคือ การลบเอกนามสองเอกนามที่คล้ายกัน จะเขียนการลบนั้นให้อยู่ในรูปการบวกของเอกนามแล้ว
ใช้หลักเกณฑ์ที่ได้จากการบวกเอกนามที่คล้ายกันหาผลลัพธ์ต่อไป
การหาผลลบของเอกนามที่คล้ายกัน ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
ผลลบของเอกนามที่คล้ายกัน
= (ผลลบของสัมประสิทธิ์) × (ส่วนที่อยู่ในรูปของตัวแปร หรือการคูณกันของตัวแปร)

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลบวกของ 3y – 5x2y


วิธีทา 3y - 5x2y = 3 - 5 x2
= (-2)x2y
= -2x2y
เฉลยใบงานที่ 2.1 เรื่อง เอกนามคล้าย
หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
รายวิ 2 y ตศาสตร์ 3 รหัสวิชา ค22101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ตอบ ช-2าxคณิ

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถบอกเอกนามที่คล้ายกันได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่เอกนามที่คล้ายกันต่อไปนี้ (ข้อละ1 คะแนน)

ญ 1) 4 ก) 3
ซ 2) -12 ข) 6XY
ข 3) 32XY ค 2
ก 4) -9 ง) -ZX
1
จ 5) 3 จ)
2
ฌ 6) -10X ฉ) -
ง 7) 16XZ ช) -7
ค 8) ซ) 5 Y
ช 9) -35 ฌ) X
ฉ 10) 15 ญ) 2
เฉลยใบงานที่ 2.2 เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 รหัสวิชา ค22101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาผลบวกและผลลบของเอกนามได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบการบวกและการลบเอกนามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (ข้อละ1 คะแนน)

1. 5X + 10X = X
15(…….)

2. 24M - 12M = 12M


………………………………

3. 8X + 16X = 24X
………………………………

4. 18XY - 12XY = 6XY


………………………………

5. A – 5A = -4AB
………………………………

6. 16 + 20 = 20X2Y
………………………………

7. -9M + 3M = -6M
………………………………

8. 12MN + 14MN + (-3MN) = 33M


………………………………,

9. 7ABC - 21ABC = -14ABC


………………………………

10. 11X - 33X + 2X = -20X


……………………………….

You might also like