You are on page 1of 31

การวิเคราะห์

ข้อมูลเบื้องต้น

25 Nov 2019
สารบัญ

ทบทวนค่าเฉลีย่ ........................................................................................................................................................................ 1
ทบทวนมัธยฐาน....................................................................................................................................................................... 3
ทบทวนฐานนิยม ...................................................................................................................................................................... 5
ค่ากึง่ กลางพิสยั ........................................................................................................................................................................ 7
ทบทวนการวัดตาแหน่งข้อมูล .................................................................................................................................................. 8
ทบทวนการวัดการกระจายสัมบูรณ์...................................................................................................................................... 12
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์........................................................................................................................................................... 17
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ................................................................................................................................................................ 20
การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ................................................................................................................................................... 23
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 1

ทบทวนค่าเฉลีย่

𝑥1 +𝑥2 + … +𝑥𝑁 ∑ 𝑥𝑖
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต 𝑥̅ =
𝑁
=
𝑁

กรณีที่ขอ้ มูลเป็ นอันตรภาคชัน้ ทีม่ ีชนั้ เป็ นช่วง จะสมมติให้ “แต่ละตัวในชัน้ มีคา่ เท่ากับจุดกึง่ กลางชัน้ ”
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) จุดกึ่งกลางชัน้ (𝑥) ผลรวมคะแนน (𝑓𝑥)
1 - 10 3 5.5 3 × 5.5 = 16.5
11 - 20 12 15.5 12 × 15.5 = 186.0
21 - 30 15 25.5 15 × 25.5 = 382.5
31 - 40 24 35.5 24 × 35.5 = 852.0
41 - 50 6 45.5 6 × 45.5 = 273.0
𝑁 = ∑ 𝑓𝑖 = 60 ∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖 = 1710.0

∑ 𝑓𝑖 𝑑𝑖 1710
ดังนัน้ 𝑥̅ =
𝑁
=
60
= 28.5 คะแนน

แบบฝึ กหัด
1. นักเรียนห้องหนึง่ สอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนเฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 40 คะแนน ถ้านักเรียนชายสอบได้คะแนน
เฉลีย่ เลขคณิต 35 คะแนนและนักเรียนหญิงสอบได้คะแนนเฉลีย่ เลขคณิต 50 คะแนน อัตราส่วนของนักเรียนชายต่อ
นักเรียนหญิงเท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/21]

2. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 มีการแจกแจงดังนี ้


คะแนน จานวน (คน) ถ้าคะแนนเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบนีเ้ ขียนในรูป 𝑘 + 𝑎𝑏
5–9 40 เมื่อ 𝑘, 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก โดยที่ 𝑎 < 𝑏 และ
10 – 14 50
15 – 19 30
ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1
20 – 24 20 แล้วค่าของ 𝑘 + 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/48]
2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

3. ตารางต่อไปนี ้ เป็ นข้อมูลเกี่ยวกับอายุของพนักงานจานวน 50 คน


อายุไม่เกิน (ปี ) จานวน (คน) ถ้าอายุต่าสุดของพนักงาน คือ 21 ปี แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ
25 9 ข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/22]
30 17
35 24
40 37
45 43
50 50
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 3

ทบทวนมัธยฐาน

ขัน้ 1 : ตาแหน่งมัธยฐาน = 𝑁+1 2


ขัน้ 2 : หาค่าโดยต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก (หรือมากไปน้อยก็ได้) แล้วจิม้ นิว้ ไล่นบั จนกว่าจะถึงตาแหน่งที่ตอ้ งการ
ถ้าตาแหน่งทีค่ านวณได้ ไปตกอยูต่ รงกลางระหว่างข้อมูลสองค่า ให้เอาสองค่านัน้ บวกกัน หารสอง
𝑁
กรณีทขี่ อ้ มูลเป็ นอันตรภาคชัน้ ทีม่ ีชนั้ เป็ นช่วง ให้หาตาแหน่งมัธยฐานจากสูตร 2
𝑁
− 𝐹𝐿
สร้างช่องความถี่สะสม หาชัน้ ที่ Med อยู่ แล้วใช้สตู ร Med = 𝐿 + ( 2 𝑓 )𝐼
𝑚

เช่น คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) ความถี่สะสม (𝐹 ) Med อยูต่ วั ที่ 50


= 25 = ชัน้ ที่ 3
2
25−18
1 - 10 8 8 Med = 20.5 + ( 20 ) (10)
11 - 20 10 18
21 - 30 20 38 = 20.5 + 3.5
31 - 40 12 50 = 24

แบบฝึ กหัด
1. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 6 จานวน คือ 2, 3, 6, 11, 𝑎, 𝑏 ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 8
และค่ามัธยฐาน เท่ากับ 7 แล้ว |𝑎 − 𝑏| เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/46]

2. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 99 จานวน เรียงลาดับจากน้อยไปมากได้เป็ น 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥99 ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้


เท่ากับมัธยฐาน แล้วข้อใดต่อไปนีถ้ กู [PAT 1 (มี.ค. 52)/40]
49 99 49 99
1.  𝑥𝑖 =  𝑥𝑖 2.  (𝑥50 − 𝑥𝑖 ) =  (𝑥50 − 𝑥𝑖 )
i 1 i  51 i 1 i  51
49 99 49 99
3.  |𝑥50 − 𝑥𝑖 | =  |𝑥50 − 𝑥𝑖 | 4.  (𝑥50 − 𝑥𝑖 )2 =  (𝑥50 − 𝑥𝑖 )2
i 1 i  51 i 1 i  51
4 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

3. สร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนการสอบของนักเรียนกลุม่ หนึง่ โดยให้ความกว้างของแต่ละอันตรภาคชัน้ เป็ น


10 แล้วปรากฏว่ามัธยฐานของคะแนนสอบเท่ากับ 57 คะแนนซึง่ อยูใ่ นช่วง 50 - 59 ถ้ามีนกั เรียนที่สอบได้คะแนน
ต่ากว่า 49.5 คะแนน อยูจ่ านวน 12 คน และมีนกั เรียนได้คะแนนต่ากว่า 59.5 คะแนน อยูจ่ านวน 20 คน จงหาว่า
นักเรียนกลุม่ นีม้ ีทงั้ หมดกี่คน [PAT 1 (ก.ค. 53)/44]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 5

ทบทวนฐานนิยม

ฐานนิยม (Mode) คือ ค่าที่ขอ้ มูลที่ “ซา้ มากสุด”

กรณีทขี่ อ้ มูลเป็ นอันตรภาคชัน้ ทีม่ ีชนั้ เป็ นช่วง จะมีขนั้ ตอนดังนี ้


1. หาอันตรภาคชัน้ ที่ Mode ตกอยู่ โดยดูจากชัน้ ที่ความถี่สงู สุด
2. คานวณ “ผลต่างความถี่” ระหว่างชัน้ Mode กับชัน้ ที่อยูต่ ิดกับ Mode ทัง้ ชัน้ บนและชัน้ ล่าง
𝑑1 = ความถี่ชน ั้ Mode − ความถี่ชนั้ ต่ากว่า
𝑑2 = ความถี่ชน ั้ Mode − ความถี่ชนั้ สูงกว่า
3. ใช้สตู ร Mode = 𝐿 + (𝑑 𝑑+𝑑 1
)𝐼
1 2
เช่น คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) ชัน้ ที่ 3 ความถี่มากสุด → Mode อยูช่ นั้ ที่ 3
1 - 10 8 𝑑1 = 20 − 10 = 10 , 𝑑2 = 20 − 12 = 8
11 - 20 10 10
21 - 30 20 Mode = 20.5 + ( ) 10
10+8
31 - 40 12 = 20.5 + 5.56
= 26.06
ความถี่ (𝑓)
กรณีที่อนั ตรภาคชัน้ กว้างไม่เท่ากัน ให้ใช้ ความหนาแน่นของชัน้ = ความกว้
างชัน้ (𝐼)
มาวัดความนิยม และใช้ในการ
คานวณ 𝑑 แทนความถี่ 𝑓
เช่น คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) ความกว้างชัน้ (𝐼) ความหนาแน่น 𝑓
𝐼
1–8 8 8 1
9 – 10 10 2 5 หนาแน่นสุด
11 – 20 20 10 2
16 – 35 12 15 0.8

ชัน้ ที่ 2 หนาแน่นสุด = 5 → Mode อยูช่ น


ั้ ที่ 2
𝐿 = 8.5 , 𝐼 = 2 4
→ Mode = 8.5 + (4+3) 2
𝑑1 = 5 – 1 = 4
= 8.5 + 1.14
𝑑2 = 5 – 2 = 3 = 9.64

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ขอ้ มูลชุดหนึง่ มีดงั นี ้ 2 , 4 , 3 , 5 , 12 , 5 , 18 , 6 , 4 , 2 , 9 , 4
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 56)/24]
1. มัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม 2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตมากกว่ามัธยฐาน
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับมัธยฐาน 4. ฐานนิยมมากกว่าค่าเฉลีย่ เลขคณิต
6 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

2. ข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วยจานวน 11, 3, 6, 3, 5, 3, 𝑥 ให้ 𝑆 เป็ นเซตของ 𝑥 ที่เป็ นไปได้ทงั้ หมด ซึง่ ทาให้ ค่าเฉลีย่
เลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ของข้อมูลชุดนี ้ มีคา่ แตกต่างกันทัง้ หมด และ ในบรรดาค่าเฉลีย่ เลขคณิต มัธยฐาน
และฐานนิยม เหล่านีน้ ามาจัดเรียงกันใหม่จากน้อยไปมากแล้วเป็ นลาดับเลขคณิต จงหาผลบวกของสมาชิกทัง้ หมด
ในเซต 𝑆 [PAT 1 (มี.ค. 55)/42]

3. ถ้าตารางแจกแจงความถี่แสดงนา้ หนักของเด็กจานวน 40 คน เป็ นดังนี ้


นา้ หนัก (กิโลกรัม) จานวน
9 – 11 15
12 – 14 5
15 – 17 5
18 – 20 10
21 – 23 5
ถ้า 𝑥̅ แทนค่าเฉลีย่ ของนา้ หนักเด็กกลุม่ นี ้ แล้วข้อใดต่อไปนีถ้ กู [PAT 1 (มี.ค. 52)/42]
1. 𝑥̅ = 17.444 และมัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม
2. 𝑥̅ = 14.875 และมัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม
3. 𝑥̅ = 17.444 และมัธยฐานมากกว่าฐานนิยม
4. 𝑥̅ = 14.875 และมัธยฐานมากกว่าฐานนิยม

4. เงินเดือนของพนักงานจานวน 50 คนของบริษัทแห่งหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ ดังนี ้


เงินเดือน (บาท) จานวนพนักงาน (คน)
10,000 – 19,999 5
20,000 – 29,999 10
30,000 – 49,999 25
50,000 – 59,999 10

ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 57)/25]


1. ฐานนิยมของเงินเดือนเท่ากับ 39,999.50 บาท
2. มัธยฐานของเงินเดือนเท่ากับ 37,999.50 บาท
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 7

ค่ากึง่ กลางพิสยั

ค่ากึง่ กลางพิสยั คือค่าที่อยูก่ ึ่งกลางระหว่างข้อมูลที่มีคา่ มากที่สดุ กับข้อมูลที่มีคา่ น้อยที่สดุ


ซึง่ จะหาได้จากสูตร ค่ากึง่ กลางพิสยั = 𝑥𝑚𝑎𝑥 2+ 𝑥𝑚𝑖𝑛

ตัวอย่าง จงหาค่ากึง่ กลางพิสยั ของข้อมูลต่อไปนี ้


21 85 32 68 32
71 27 87 25 44

วิธีทา จะได้ขอ้ มูลที่มีคา่ มากสุด 𝑥𝑚𝑎𝑥 = 87 และข้อมูลที่มีคา่ น้อยที่สดุ 𝑥𝑚𝑖𝑛 = 21


87 + 21
ดังนัน้ ค่ากึง่ กลางพิสยั = 2 = 54 #

แบบฝึ กหัด
1. ให้ 𝑥1, 𝑥2, 𝑥3, … , 𝑥10 เป็ นข้อมูลที่เรียงค่าจากน้อยไปหามาก โดยมีคา่ กึ่งกลางพิสยั เท่ากับ 15
และให้ 𝑦𝑖 = 12 (𝑥𝑖 + 𝑥𝑖+1 ) สาหรับ 𝑖 = 1, 2, … , 9 ถ้า 𝑦1 , 𝑦2 , … , 𝑦9 มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 55
3
แล้ว
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑥1 + 1 , 𝑥2 + 2 , 𝑥3 + 3 , … , 𝑥10 + 10 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 60)/8]
8 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

ทบทวนการวัดตาแหน่งข้อมูล

ในการหาค่าของ ควอไทล์ เดไซล์ และ เปอร์เซ็นไทล์ จะมีขนั้ ตอนดังนี ้


1. หา “ตาแหน่ง”
𝑟 𝑟 𝑟
Q𝑟 → ∙ (𝑁 + 1) D𝑟 → ∙ (𝑁 + 1) P𝑟 → ∙ (𝑁 + 1)
4 10 100

หมายเหตุ : ในกรณีที่ 𝑁 + 1 หารด้วย 4 , 10 , 100 ไม่ลงตัว อาจอนุโลมให้ใช้ 𝑁 แบบไม่ + 1 แทนได้

2. เอาตาแหน่งที่ได้ ไปหา “ค่า”


โดยต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก นับจนถึงตาแหน่งที่ตอ้ งการ แล้วตอบค่าข้อมูล ณ ตาแหน่งนัน้
ถ้าตาแหน่งไม่เป็ นจานวนเต็ม ให้ประมาณเอาจากสองตัวทีค่ ร่อมตาแหน่งนัน้ อยู่
เช่น ถ้าต้องการหาค่าข้อมูล ตัวที่ 5.62 จะหาได้ดงั นี ้

ข้อมูลตัวที่ 5.62 = ตัวที่ 5 + 0.62 × (ตัวที่ 6 − ตัวที่ 5)

เราต้องหัดใช้สตู รนีใ้ ห้คล่อง เช่น ตัวที่ 10.3 = ตัวที่ 10 + 0.3 × (ตัวที่ 11 − ตัวที่ 10)
ตัวที่ 8.03 = ตัวที่ 8 + 0.03 × (ตัวที่ 9 − ตัวที่ 8)
ตัวที่ 3.45 = ตัวที่ 3 + 0.45 × (ตัวที่ 4 − ตัวที่ 3) เป็ นต้น

กรณีทขี่ อ้ มูลเป็ นอันตรภาคชัน้ ทีม่ ีชนั้ เป็ นช่วง ให้หาตาแหน่งมัธยฐานจากสูตร


𝑟 𝑟 𝑟
Q𝑟 → ∙ (𝑁) D𝑟 → ∙ (𝑁) P𝑟 → ∙ (𝑁)
4 10 100

ตาแหน่ง − 𝐹𝐿
สร้างช่องความถี่สะสม หาชัน้ ของตาแหน่งที่ตอ้ งการ แล้วใช้สตู ร 𝐿+( 𝑓𝑥
)𝐼

แบบฝึ กหัด
1. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 2 ห้อง ซึง่ ทาคะแนนเฉลีย่ ได้ 60 คะแนน โดยห้องแรกมีนกั เรียนจานวน 40
คน และห้องที่สองมีนกั เรียนจานวน 30 คน ถ้าคะแนนสอบในห้องแรก เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 มีคา่ 64 คะแนนและฐาน
นิยมมีคา่ เป็ น 66 คะแนน แล้วคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนห้องที่สองมีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/45]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 9

2. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 5 จานวนและมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 12


ถ้าควอไทล์ที่ 1 และ 3 ของข้อมูลชุดนีม้ ีคา่ เท่ากับ 5 และ 20 ตามลาดับ แล้ว เดไซล์ที่ 5 ของข้อมูลชุดนีม้ คี า่ เท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 52)/2-23]

3. จากการแจกแจงข้อมูลเงินเดือนของพนักงานบริษัทแห่งหนึง่ พบว่า
เดไซล์ที่ 1 3 5 7 9
เงินเดือน (บาท) 10,000 15,000 20,000 25,000 40,000

ถ้านายเอกและนายยศมีเงินเดือนรวมกันเท่ากับ 40,000 บาท และมีจานวนพนักงานที่ได้เงินเดือนมากกว่านายยศ


อยูป่ ระมาณ 30% ของพนักงานทัง้ หมด แล้วเปอร์เซ็นต์ของจานวนพนักงานที่ได้เงินเดือนน้อยกว่านายเอกเท่ากับ
เท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/42]

4. จากตารางแจกแจงความถี่ตอ่ ไปนี ้
คะแนน ความถี่
10 - 14 2
15 - 19 5 ถ้า 𝑎 เป็ นค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบ และ 𝑏 เป็ น 𝑃88
20 - 24 8 จงหาค่าของ |𝑎 − 𝑏| [PAT 1 (ธ.ค. 54)/21]
25 - 29 6
30 - 34 4
10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

5. กาหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึง่ เป็ นดังนี ้


ความสูง (เซนติเมตร) จานวนนักเรียน (คน)
120 - 129 10
130 - 139 20
140 - 149 40
150 - 159 50
160 - 169 30
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [PAT 1 (ก.ค. 52)/41]
1. มัธยฐานของความสูงมีคา่ น้อยกว่า 149 เซนติเมตร
2. ฐานนิยมของความสูงมีคา่ น้อยกว่า 147 เซนติเมตร
3. ควอไทล์ที่ 3 ของความสูงมีคา่ มากกว่า 150 เซนติเมตร
4. เปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูงมีคา่ มากกว่า 145 เซนติเมตร

6. นักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 50 คน มีสว่ นสูงแสดงดังตารางต่อไปนี ้


ส่วนสูง(เซนติเมตร) จานวนนักเรียน(คน)
156 - 160 6
161 - 165 15
166 - 170 21
171 - 175 8

ให้ 𝑎เป็ นค่าเฉลีย่ เลขคณิตของส่วนสูง และ


𝑏 เป็ นส่วนสูง โดยที่มีจานวนนักเรียน 75% ของนักเรียนทัง้ หมดทีม
่ ีสว่ นสูงน้อยกว่า 𝑏
ค่าของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/21]

7. โรงงานแห่งหนึง่ มีพนักงานจานวน 40 คน และตารางแจกแจงความถี่สะสมของอายุพนักงานเป็ นดังนี ้


อายุ (ปี ) ความถี่สะสม
11 – 20 6
21 - 30 14
31 - 40 26
41 - 50 36
51 - 60 40
ถ้าผูจ้ ดั การมีอายุ 48.5 ปี แล้ว พนักงานทีม่ ีอายุระหว่าง ค่ามัธยฐานของอายุพนักงาน และ อายุของผูจ้ ดั การ
มีจานวนประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ [A-NET 49/1-23]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 11

8. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ มีนกั เรียนจานวน 30 คน ปรากฏว่ามีนกั เรียน 17 คน สอบได้


คะแนนในช่วง 10 – 39 คะแนน มีนกั เรียน 10 คน สอบได้คะแนนในช่วง 40 – 49 คะแนน และมีนกั เรียน 3 คน
สอบได้คะแนนในช่วง 50 – 59 คะแนน ถ้าแบ่งคะแนนเป็ นเกรด 3 ระดับ คือ เกรด A เกรด B และเกรด C โดยที่
10% ของนักเรียนได้เกรด A และ 20% ของนักเรียนได้เกรด B แล้ว คะแนนสูงสุดของเกรด C เท่ากับกี่คะแนน
[PAT 1 (มี.ค. 55)/44]

9. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีนกั เรียนเข้าสอบ 30 คน นาย ก. เป็ นนักเรียนคนหนึง่ ที่เข้าสอบ


ในครัง้ นี ้ นาย ก. สอบได้ 53 คะแนนและมีจานวนนักเรียนที่มีคะแนนสอบน้อยกว่า 53 คะแนนอยู่ 27 คน ถ้ามีการ
จัดกลุม่ คะแนนสอบเป็ นช่วงคะแนนโดยมีอนั ตรภาคชัน้ กว้างเท่าๆกัน คะแนนสอบของนาย ก. อยูใ่ นช่วงคะแนน
51 - 60 จานวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนในช่วงคะแนน 51 - 60 นี ้ มีทงั้ หมดกี่คน [PAT 1 (มี.ค. 54)/23]
12 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

ทบทวนการวัดการกระจายสัมบูรณ์

พิสยั (Range) = ข้อมูลมากสุด − ข้อมูลน้อยสุด

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) หรือเรียกสัน้ ๆว่า 𝑠


สูตรสาหรับหา 𝑠 จะมี 2 สูตร คือ
∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2 ∑ 𝑥𝑖 2
𝑠 = √ 𝑁
𝑠 = √ 𝑁
− 𝑥̅ 2

ความแปรปรวน 𝑣 = 𝑠2 (หรือก็คือ 𝑠 แบบที่ไม่ตอ้ งถอด √ นั่นเอง)

ความแปรปรวนรวม
ถ้า 𝑥̅1 = 𝑥̅2 แล้ว จะได้ ค่าเฉลีย่ รวม 𝑥̅รวม = 𝑥̅1 = 𝑥̅2

𝑁1 𝑆12 +𝑁2 𝑆22


ความแปรปรวนรวม 2
𝑆รวม = 𝑁1 +𝑁2

𝑁1 𝑥̅1 +𝑁2 𝑥̅2


แต่ถา้ 𝑥̅1 ≠ 𝑥̅2 แล้ว จะได้ ค่าเฉลีย่ รวม 𝑥̅รวม =
𝑁1 +𝑁2

𝑁1 (𝑆12 +(𝑥̅1 −𝑥̅รวม )2 )+𝑁2 (𝑆22 +(𝑥̅2 −𝑥̅ รวม)2 )


ความแปรปรวนรวม 2
𝑆รวม =
𝑁1 +𝑁2

แบบฝึ กหัด
1. จากการสารวจนา้ หนักของนักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 4 คน มี 2 คน นา้ หนักเท่ากันและหนักน้อยกว่าอีก 2 คนที่เหลือ
ถ้าฐานนิยม มัธยฐานและพิสยั ของนา้ หนักของนักเรียน 4 คนนีค้ ือ 45, 46 และ 6 กิโลกรัม ตามลาดับ แล้วความ
แปรปรวนของนา้ หนักของนักเรียน 4 คนนีเ้ ท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/43]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 13

2. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 5 จานวน มีมธั ยฐาน = ฐานนิยม = 15 ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 16 ควอไทล์ที่ 1 เท่ากับ 14


และพิสยั เท่ากับ 7 จงหาความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี ้ [PAT 1 (ธ.ค. 54)/35]

3. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงจากน้อยไปหามาก ดังนี ้ 𝑎, 3, 5, 7, 𝑏


ถ้าข้อมูลชุดนีม้ คี า่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 7 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2√10
แล้วค่าของ 2𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/40]

4. ข้อมูลชุดหนึง่ มีคา่ สังเกต (𝑥) และร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์ แสดงดังตารางต่อไปนี ้


ค่าสังเกต (𝑥) ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์
1 20
2 40
𝑎 70
6 90
10 100

เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 4 แล้วความแปรปรวนของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด


[PAT 1 (เม.ย. 57)/40]
14 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

5. ข้อมูลชุดหนึง่ มีการแจกแจงปกติ โดยมีมธั ยฐานเท่ากับ 12


N
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 8 และ  (𝑥𝑖 − 10)2 = 5440 จงหาค่าของ 𝑁 [PAT 1 (ธ.ค. 54)/48]
i 1

6. ถ้าความยาวรัศมีของวงกลม 10 วงมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 3 และมีความแปรปรวนเท่ากับ 5 แล้วผลรวมของพืน้ ที่


วงกลมทัง้ 10 วงนี ้ มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/40]

7. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุม่ หนึง่ เท่ากับ 72 คะแนน ครามแปรปรวน (ประชากร) เท่ากับ 600


ถ้ามีนกั เรียนมาเพิม่ อีก 1 คน ซึง่ สอบได้ 60 คะแนน ทาให้คา่ เฉลีย่ เปลีย่ นไปเป็ น 70 คะแนน ความแปรปรวนของ
ข้อมูลชุดใหม่เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/42]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 15

8. มีนกั เรียน 5 คน ร่วมกันบริจาคเงิน ได้เงินรวม 360 บาท ความแปรปรวน(ประชากร) เท่ากับ 660 ถ้ามีนกั เรียนเพิ่ม
อีก 1 คน มาร่วมบริจาคเป็ นเงิน 60 บาท ความแปรปรวน จะเพิม่ ขึน้ หรือลดลงเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/21]

9. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนจานวน 30 คน มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 25


คะแนนและ 5 คะแนน ตามลาดับ ถ้านาคะแนนของนายสายชลและนางสาวฟ้าซึง่ สอบได้ 20 คะแนนและ 30
คะแนน ตามลาดับ มารวมด้วยแล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/20]
16 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

10. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (ต.ค. 53)/23*]


1. ในการสอบของนักเรียน 3 คน พบว่าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 80 คะแนน ค่ามัธยฐาน เท่ากับ
75 คะแนน และ พิสยั เท่ากับ 25 คะแนน คะแนนสอบของนักเรียนที่ได้คะแนนต่าสุดเท่ากับ 70 คะแนน
2. ข้อมูลชุดที่หนึง่ มี 5 จานวน คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , 𝑥4 , 𝑥5 และข้อมูลชุดที่สองมี 4 จานวน คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 ,
𝑥4 โดยที่คา่ เฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลทัง้ สองชุดเท่ากัน ถ้า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดที่
𝑏
หนึง่ และชุดที่สองตามลาดับ แล้ว 𝑎
=
√5
2
เมื่อ 𝑏 ≠ 0

11. กาหนดให้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥𝑛 เป็ นข้อมูลชุดที่ 1 ซึง่ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 6 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


เท่ากับ 2 ให้ 𝑦1 , 𝑦2 , 𝑦3 , … , 𝑦𝑛 เป็ นข้อมูลชุดที่ 2 โดยที่ 𝑦𝑖 = 𝑎𝑥𝑖 + 𝑏 เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 𝑛 และ 𝑎, 𝑏
เป็ นจานวนจริง และ 𝑎 > 0 ถ้านาข้อมูลทัง้ สองชุดมารวมกัน 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥𝑛 , 𝑦1 , 𝑦2 , … , 𝑦𝑛 พบว่าค่าเฉลีย่ เลข
คณิตเท่ากับ 7 และความแปรปรวนเท่ากับ 21 แล้วค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/39]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 17

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์

ในคณิตศาสตร์พนื ้ ฐาน เราได้เรียนวิธีวดั การกระจายของข้อมูล ด้วย พิสยั และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานไปแล้ว


ในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เราจะได้เรียนเพิ่มอีก 2 ค่า คือ ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ และส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quatile Deviation: Q.D.) คือ ค่าที่บอกว่า ควอไทล์หนึง่ ๆ กว้างประมาณเท่าไหร่


ซึง่ หาได้จากสูตร Q3 −Q1
Q.D. = 2

ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ มีขอ้ มูลดังนี ้


30 95 21 80 20
82 15 75 12 32

วิธีทา ต้องหา Q1 กับ Q3 มาเข้าสูตร ดังนัน้ ต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากก่อน


12 15 20 21 30
→ ทัง้ หมด 10 ตัว
32 75 80 82 95
1
Q1 อยูต
่ วั ที่ 4
∙ (10 + 1) = 2.75 = ตัวที่ 2 + 0.75 × (ตัวที่ 3 − ตัวที่ 2)
= 15 + 0.75 × ( 20 − 15 ) = 18.75
3
Q 3 อยูต
่ วั ที่ ∙ (10 + 1) = 8.25 = ตัวที่ 8 + 0.25 × (ตัวที่ 9 − ตัวที่ 8)
4
= 80 + 0.25 × ( 82 − 80 ) = 80.5
80.5−18.75
ดังนัน้ Q.D. =
2
= 30.875 คะแนน #

ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของอายุคนกลุม่ หนึง่ ซึง่ มีขอ้ มูลดังนี ้


อายุ (ปี ) 10-19 20-29 30-39 40-49
จานวน (คน) 8 13 15 4
ความถี่สะสม 8 21 36 40

วิธีทา ความถี่สะสมช่องสุดท้าย = 40 ดังนัน้ 𝑁 = 40


่ วั ที่ 14 ∙ (40) = 10 → ชัน้ ที่ 2 → Q1
Q1 อยูต = 19.5 + (
10−8
13
) (10) = 21.04
3 30−21
Q 3 อยูต
่ วั ที่ 4
∙ (40) = 30 → ชัน้ ที่ 3 → Q 3 = 29.5 + ( 15
) (10) = 35.5
35.5−21.04
ดังนัน้ Q.D. =
2
= 7.23 ปี #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 21 25 29 32
38 44 44 51
18 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

2. คะแนนสอบ 1-10 11-20 21-30 31-40


จานวนนักเรียน 8 12 8 4

2. ถ้าตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนวิชาหนึง่ ของนักเรียน 20 คน ของโรงเรียนแห่งหนึง่ เป็ นดังนี ้


คะแนน 31 - 39 40 - 48 49 - 57 58 - 66 67 - 75 76 - 84 85 - 93
จน. นักเรียน 2 3 5 4 3 2 1

ข้อใดถูกต้องบ้าง
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตมากกว่าค่าฐานนิยม
2. ค่าการกระจายของคะแนนทีว่ ดั โดยส่วนเบีย่ งเบนควอไทล์เท่ากับ 10.5 คะแนน

3. กาหนดข้อมูล 10 จานวน ดังนี ้ 30 32 28 35 42 45 40 48 50 65


ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (เม.ย. 57)/25]
1. ถ้า D7 แทนข้อมูลที่เป็ นเดไซล์ที่ 7 และ M แทนค่ามัธยฐานของข้อมูล แล้ว D7 – M เท่ากับ 6.5
2. ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ เท่ากับ 8.6
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 19

4. กาหนดตารางแสดงเงินค่าอาหารกลางวันที่นกั เรียนห้องหนึง่ ได้รบั จากผูป้ กครองดังนี ้


ค่าอาหารกลางวัน (บาท) จานวนนักเรียน (คน)
29 - 31 1
32 - 34 4
35 - 37 5
38 - 40 5
41 - 43 5
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ตามลาดับ มีคา่ เท่ากับ เท่าใด [A-NET 51/1-21]
20 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ (Mean Deviation: M.D.) คือ ค่าที่บอกว่า ข้อมูลแต่ละตัว ห่างจาก 𝑥̅ โดยเฉลีย่ เท่าไหร่
ซึง่ หาได้จากสูตร ∑|𝑥𝑖 −𝑥̅ |
M.D. =
𝑁

สูตรนี ้ อ่านสูตรเข้าใจยากนิดหน่อย ดูจากตัวอย่างจะเข้าใจกว่า


เช่น สมมติวา่ ต้องการหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของข้อมูล 2 , 3 , 4 , 5, 7, 9 จะมีขนั้ ตอนดังนี ้
2+3+4+5+7+9
1. หา 𝑥̅ จะได้ 𝑥̅ = 6
= 5
2. หาผลต่างของข้อมูลแต่ละตัว กับ 𝑥̅ ได้เป็ น 𝑥𝑖 − 𝑥̅
เปลีย่ นเครือ่ งหมายผลต่างที่ได้ให้เป็ นบวก ได้เป็ น |𝑥𝑖 − 𝑥̅ |
2 3 4 5 7 9
−3 −2 −1 0 2 ได้ |𝑥𝑖 − 𝑥̅ | คือ 3, 2, 1, 0, 2, 4
4
𝑥̅ = 5

3. เอาผลในข้อ 2 มาหาค่าเฉลีย่ แล้วตอบ


3+2+1+0+2+4 12
M.D. = = = 2
6 6

ในกรณีที่โจทย์ให้ตารางแบบมีอนั ตรภาคชัน้ เป็ นช่วง ให้สมมติวา่ ข้อมูลทุกตัวในชัน้ มีคา่ ประมาณจุดกึง่ กลางชัน้


เช่น ถ้าจะหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของ
อายุ (ปี ) 0-6 7 - 13 14 - 20 21 - 27
จานวน (คน) 3 7 5 5

เราจะสมมติให้อายุในแต่ละชัน้ มีคา่ เท่ากับจุดกึ่งกลางชัน้ แล้วลืมอันตรภาคชัน้ ของเก่าไปซะ


ขัน้ แรก ต้องหา 𝑥̅ ออกมาก่อน
จุดกึ่งกลางชัน้ (𝑥) จานวนคน (𝑓) รวมในชัน้
3 3 9
10 7 70
17 5 85
24 5 120
20 284

จะได้ 𝑥̅ = 28420
= 14.2
ขัน้ ถัดไป หา |𝑥𝑖 − 𝑥̅ | แล้วเฉลีย่
จุดกึ่งกลางชัน้ (𝑥) |𝑥𝑖 − 14.2| จานวนคน (𝑓) รวมในชัน้
3 11.2 3 33.6
10 4.2 7 29.4
17 2.8 5 14.0
24 9.8 5 49.0
20 126.0
126
ดังนัน้ M.D. =
20
= 6.3 #
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 21

แบบฝึ กหัด
1. จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 2 , 3 , 3 , 5 , 7 2. คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน)
1- 3 1
4- 6 5
7- 9 2
10 - 12 1

2. อุณหภูมิหอ้ งทางาน 4 ห้อง เมื่อวันจันทร์ตงั้ ไว้ที่ 27, 26, 25 และ 24 องศาเซลเซียส และได้ปรับอุณหภูมิให้ต่าลง
3 องศาเซลเซียส สาหรับทุกห้องในวันอังคาร ข้อใดถูกต้องบ้าง
1. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอุณหภูมิหอ้ งในวันจันทร์มีคา่ ต่ากว่าวันอังคาร
2. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของอุณหภูมหิ อ้ งในวันจันทร์เท่ากับวันอังคาร และมีคา่ เท่ากับ 1 องศาเซลเซียส

3. โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึง่ มีนกั เรียน 80 คน โดยการแจกแจงของอายุนกั เรียนเป็ นดังตาราง


อายุ (ปี ) 3.5 4 4.5 5 5.5 6
จานวนนักเรียน (คน) 𝑎 15 10 20 𝑏 5

ถ้าค่าเฉลีย่ ของอายุนกั เรียนมีคา่ 4.5 ปี แล้วส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของอายุนกั เรียนมีคา่ เท่ากับเท่าใด


[PAT 1 (มี.ค. 52)/41]
22 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

4. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงจากน้อยไปมากเป็ นดังนี ้ 1 , 4 , 𝑥 , 𝑦 , 9 , 10


ถ้ามัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 83
แล้ว 𝑦 − 𝑥 มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-22]

5. ตารางต่อไปนีเ้ ป็ นคะแนนสอบวิชาหนึง่ ของนักเรียน 40 คน


คะแนน จานวนนักเรียน (𝑓𝑖 )
10 - 14 4
15 - 19 6
20 - 24 𝑎
25 - 29 8
30 - 34 4
35 - 39 6
3
โดยมีคะแนนเฉลีย่ (𝜇) เท่ากับ 24.5 และ  𝑓𝑖 (𝑥𝑖 − 𝜇) = −125
i 1
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ และ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ มีคา่ เท่าใด [A-NET 50/1-23]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 23

การวัดการกระจายสัมพัทธ์

ในการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 กลุม่ “ความมากของตัวเลข” จะมีผลในการเปรียบเทียบ


เช่น ข้อมูลชุดที่ 1: 1 , 3 , 4 , 6 , 7
ข้อมูลชุดที่ 2: 991 , 993 , 994 , 996 , 997
คนส่วนใหญ่จะรูส้ กึ ว่า ข้อมูลชุดที่ 2 เกาะกลุม่ กันมากกว่า

หัวข้อที่แล้วใช้ชื่อว่า การวัดการกระจาย “สัมบูรณ์” ซึง่ เป็ นค่าทีใ่ ช้เทียบกับใครไม่ได้


ถ้าเราต้องการเทียบการกระจายของข้อมูล 2 กลุม่ จะต้องนาตัวเลขแบบสัมบูรณ์ มา “ปรับตามขนาดข้อมูล” ก่อน
ตัวเลขที่ปรับตามขนาดเรียบร้อยแล้ว จะมีคาว่า “สัมประสิทธิ์” เติมหน้าชื่อเดิม จึงสามารถนาไปเทียบกันกับข้อมูลอื่นได้
สูตรการวัดการกระจายสัมพัทธ์ มีดงั นี ้

สัมประสิทธิ์ของพิสยั =
𝑥𝑚𝑎𝑥 −𝑥𝑚𝑖𝑛
𝑥𝑚𝑎𝑥 +𝑥𝑚𝑖𝑛

สัมประสิทธิ์ของ Q.D. =
Q3 −Q1
Q3 +Q1

สัมประสิทธิ์ของ M.D. =
M.D.
𝑥̅

สัมประสิทธิ์ของ S.D. =
S.D.
𝑥̅

หมายเหตุ : สัมประสิทธิ์ของ S.D. จะมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า “สัมประสิทธิ์การแปรผัน”

ตัวอย่าง จงใช้สมั ประสิทธิ์ของพิสยั ในการพิจารณาว่าคะแนนสอบห้องไหน กระจายมากกว่า


คะแนนสอบห้อง 5/1 คะแนนสอบห้อง 5/2
45 59 18 71 27 17 51 26 84 95
42 89 11 25 72 20 69 73 55 48
61 33 82 64 71 19 45 33 67 61

วิธีทา สัมประสิทธิ์ของพิสยั ห้อง 5/1 =


89−11
89+11
=
78
100
= 0.78

สัมประสิทธิ์ของพิสยั ห้อง 5/2 = 95−17


95+17
=
78
112
= 0.70
ดังนัน้ ห้อง 5/1 กระจายมากกว่า #

ตัวอย่าง จงหาสัมประสิทธิ์การแปรผัน ของข้อมูล 4 , 5, 6, 7, 8


วิธีทา หา 𝑥̅ ก่อน จะได้ 𝑥̅ = 4+5+6+7+8
5
= 6
(4−6)2 +(5−6)2 +(6−6)2 +(7−6)2 +(8−6)2
จะได้ 𝑠 = √ 5

22 +12 +02 +12 +22


= √ 5
= √2
𝑠
และสุดท้าย จะได้ สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
𝑥̅
= √2
6
#
24 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

แบบฝึ กหัด
1. จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ ของข้อมูลชุดหนึง่ ซึง่ ประกอบด้วย 2 , 9 , 11 , 13 , 15

2. ข้อมูลชุดหนึง่ มีสมั ประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.5 สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ เท่ากับ 10


ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 15 แล้ว จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่

3. นาข้อมูล 3 จานวนที่แตกต่างกัน มารวมกันมีผลรวมเท่ากับ 195


ถ้าข้อมูลชุดนีม้ คี า่ มัธยฐานและสัมประสิทธิ์ของพิสยั เท่ากับ 60 และ 0.2 ตามลาดับ
แล้วความแปรปรวนของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/46]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 25

4. ถ้าข้อมูลชุดหนึง่ มีสมั ประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ เท่ากับ 0.12 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ เท่ากับ 6 และส่วนเบี่ยงเบน


มาตรฐานเท่ากับ 10 แล้ว สัมประสิทธิ์ของการแปรผันมีคา่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/2-5]

5. พิจารณาข้อมูลชุดหนึง่ ซึง่ เรียงลาดับจากน้อยไปมาก ดังต่อไปนี ้


8 𝑎 12 17 22 𝑏 26
ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 17 และควอไทล์ที่ 1 เท่ากับ 10 แล้ว สัมประสิทธิ์ของส่วนเบีย่ งเบนเฉลีย่
และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ตามลาดับ เท่ากับเท่าใด [A-NET 51/1-22]

6. ในการทดสอบวิชาคณิตศาสตร์พบว่า คะแนนสอบของนักเรียนมีการแจกแจงปกติ ส่วนเบีย่ งเบนควอไทล์เท่ากับ 6


สัมประสิทธิ์ควอไทล์เท่ากับ 0.6 คะแนนเฉลีย่ ของการสอบครัง้ นีม้ คี า่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 50/2-9]
26 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

7. นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 20 คน แบ่งเป็ น 2 กลุม่ ๆละ 10 คน ทาแบบทดสอบวัดความถนัดฉบับหนึง่ มี


คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนของนักเรียนแต่ละคนดังนี ้

กลุม่ ที่ 1 7 6 5 8 3 6 9 7 6 10
กลุม่ ที่ 2 6 9 15 12 1 8 7 7 5 6

ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 55)/23]


1. ความสามารถของนักเรียนกลุม่ ที่ 1 มีความแตกต่างกันมากกว่านักเรียนกลุม่ ที่ 2
2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของกลุม่ ที่ 1 และกลุม่ ที่ 2 เท่ากับ 14
5 3
และ 14 ตามลาดับ

8. ครอบครัวหนึง่ มีสมาชิก 6 คน มีอายุเฉลีย่ 34 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุเท่ากับ 8 ปี อีก 6 ปี ตอ่ มามีญาติ


สองคนมาขออยูอ่ าศัยด้วย โดยทีญ ่ าติทงั้ สองคนนีม้ ีอายุเท่ากัน เท่ากับอายุเฉลีย่ ของคนทัง้ 6 คนในครอบครัวนีพ้ อดี
สัมประสิทธิ์การแปรผันของอายุของคนทัง้ 8 คนนีเ้ ท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/23]
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 27

9. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 57)/24]


1. ถ้าข้อมูลชุดหนึง่ มีสว่ นเบีย่ งเบนควอไทล์เท่ากับ 20 และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 23
แล้วสรุปได้วา่ ร้อยละ 50 ของข้อมูลชุดนีม้ คี า่ ระหว่าง 10 กับ 50
2. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ มีนกั เรียนชาย 20 คน และนักเรียนหญิง 40 คน นักเรียนชาย
ได้คะแนนสอบคนละ 32 คะแนน ส่วนคะแนนสอบของนักเรียนหญิง มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ
20 คะแนน และความแปรปรวนของคะแนนสอบเท่ากับ 90 สรุ ปว่าความแปรปรวนของคะแนนสอบของ
นักเรียนห้องนีเ้ ท่ากับ 36 คะแนน
28 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

ทบทวนค่าเฉลีย่

1. 2:1 2. 28 3. 35

ทบทวนมัธยฐาน

1. 10 2. 3 3. 36

ทบทวนฐานนิยม

1. 2 2. 22 3. 4 4. 1, 2

ค่ากึง่ กลางพิสยั

1. 23.5

ทบทวนการวัดตาแหน่งข้อมูล

1. 56 2. 10 3. 30% 4. 7.75
5. 3 6. 166.1, 169.43 7. 35% 8. 43.5
9. 4

ทบทวนการวัดการกระจายสัมบูรณ์

1. 6 2. 5.6 3. 21 4. 7
5. 80 6. 140𝜋 7. 520 8. ลดลง 90
9. 5 10. 1, 2 11. 109

ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์

1. 1. 9 2. 7.5

2. 1, 2
2(−2)+3(−1)+5(0)+4(1)+3(2)+2(3)+1(4) 13
𝑑̅ = 2+3+5+4+3+2+1
= 20 = 0.65 → 𝑥̅ = 0.65×9 + 53 = 58.85
Mode อยูใ่ นชัน
้ 49 – 57 → 1 ถูก
20(1)
Q1 อยูต่ วั ที่
4
=5 → ตัวสุดท้ายของชัน้ ที่ 2 พอดี → Q1 = ขอบบนชัน้ ที่ 2 = 48.5
20(3)
Q3 อยูต่ วั ที่
4
= 15 → ตัวแรกของชัน้ 67 – 75 → Q3 = 66.5 + 13(9) = 69.5
69.5−48.5
QD =
2
= 10.5 → 2 ถูก

3. - 4. 37.35, 37.5, 3
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น 29

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่

1. 1. 1.6 2. 2

2. 2
การเพิม่ หรือลดข้อมูลเท่าๆกันทุกตัว จะไม่ทาให้การกระจายเปลีย่ น → 1 ผิด
1.5+0.5+0.5+1.5
𝑥̅ = 25.5 → MD = 4
= 1 → 2 ถูก

11
3. 16
4. 2 5. 5, 6.25

การวัดการกระจายสัมพัทธ์

1. 0.36 2. 20 3. 134 4. 0.2


6 7 √3
5. ,
17 17
6. 10 7. - 8. 10
9. 1

เครดิต
ขอบคุณ คุณ ฐาปกรณ์ ฐานวัฒนกิจ
และ คุณ Gunta Serikijcharoen
และ คุณ Piyawat Kantagowit
และ คุณ Theerat Piyaanangul ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like