You are on page 1of 4

คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

ภาคเรี ยนที่ 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ

1. การแยกตัวประกอบ

1.1การเขียนกระจายผลคูณ

ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 24

24 = 2 x 12 12 ยังไม่เป็ นตัวประกอบเฉพาะ

24 =2x2x6 6 ยังไม่เป็ นตัวประกอบเฉพาะ

24 =2x2x2x3 เป็ นตัวประกอบเฉพาะทั้งหมดแล้ว

ตัวประกอบเฉพาะของ 24 = 2 x 2 x 2 x 3

1.2 การตั้งหาร ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 40

2) 40

2) 20

2) 10

2) 5
ดังนั้นตัวประกอบของ 40 คือ 2 x 2 x 2 x 5

3. ตัวหารร่ วม หรื อตัวประกอบร่ วมของจำนวนตั้งแต่ 2 จำนวนขึ้นไป

​ ตัวอย่าง 15 มีตวั หาร คือ 1, 3, 5, 15

45 มีตวั หาร คือ 1, 3, 5, 3, 15, 45

​ จากตัวอย่าง 1, 3, 5, 15 หาร 15 และ 45 ได้ลงตัว

​ ดังนั้น 1, 3, 5, 15 จึงเป็ นตัวประกอบร่ วมของ 15 และ 45

4. ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)

​ ตัวอย่าง 25 มีตวั หาร คือ 1, 5, 25

40 มีตวั หาร คือ 1, 2, 4, 5, 8, 10, 20, 40

จากตัวอย่าง ตัวหารร่ วมของ 25 และ 40 คือ 1 และ 5 ซึ่งตัวหารร่ วมมากที่สุดคือ 5

5.วิธีการหา ห.ร.ม. โดยการหารสั้น

1 ให้จ ำนวนทุกจำนวนเป็ นตัวตั้ง

2 นำจำนวนที่สามารถหารทุกจำนวนในตัวตั้ง มาเป็ นตัวหารและทำการหารแบบสั้น

3 ทำไปเรื่ อย ๆ จนกระทัง่ ไม่มีจ ำนวนใดหารได้ ผลคูณของตัวหารทุกจำนวน คือ ห.ร.ม


​ ตัวอย่าง จงหา ห.ร.ม. ของ 234, 270 และ 288

​ 2)234 270 288

​ 3)117 135 144

​ 3)39 45 48

​ 13 15 16

นำตัวหารมาคูณกัน คือ 2 x 3 x 3

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 234, 270 และ 288 คือ 2 x 3 x 3 = 18 นัน่ เอง

6.วิธีหาตัวคูณร่ วมน้อยโดยการหารสั้น

1 ให้ทุกจํานวนที่กาํ หนดเป็ นตัวตั้ง

2 นําจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนที่กาํ หนดให้อย่างน้อย 1 จำนวน

ลงตัวมาเป็ นตัวหาร และหารแบบสั้น

3 จํานวนที่หารไม่ลงตัวให้คงไว้ และให้นาํ มาเป็ นตัวตั้งของการหารครั้งต่อไป

4 ทําไปเรื่ อย ๆ จนได้ผลหารของทุก

จํานวนเป็ นจํานวนเฉพาะที่ไม่เหมือนกันหรื อเป็ น 1


5 ค.ร.น. คือ ผลคูณของจำนวนเฉพาะที่เป็ นตัวหารทุกตัวกับผลหารที่ได้ใน

บรรทัดสุ ดท้ายทุกตัว

​ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 12, 20 และ 24

​ 2)12 20 24

​ 3)6 10 12

​ 3)3 5 6

​ 1 5 2

นำตัวหารมาคูณกัน คือ2 x 2 x 3 x 1 x 5 x 2

ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12, 20 และ 24 คือ 2 x 2 x 3 x 1 x 5 x 2= 120 นัน่ เอง

You might also like