You are on page 1of 23

1

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของจำนวนเต็ม


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของจำนวนเต็ม
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของจำนวนเต็มบวก ศูนย์ และจำนวนเต็มลบได้
2. จำแนกจำนวนเต็มแต่ละประเภทได้
จำนวนเต็มแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
1. จำนวนเต็มบวก หมายถึง จำนวนเต็มที่มากกว่า 0 ขึ้นไปเรื่อย ๆ ไม่สิ้นสุด
จำนวนเต็มบวก คือ จำนวนนับ หรือ จำนวนธรรมชาตินั่นเอง ได้แก่ 1 , 2 , 3 , …
1 เป็นจำนวนนับที่น้อยที่สุด
เส้นจำนวนแสดงจำนวนศูนย์และจำนวนเต็มบวก

2. จำนวนศูนย์ ได้แก่ 0
0 ไม่ใช่จำนวนนับ
3. จำนวนเต็มลบ ได้แก่ จำนวนเต็มที่น้อยกว่าศูนย์ และมีค่าลดลงเรื่อย ๆ ไม่สิ้นสุด ได้แก่ –1 ,–2,–3
,… เส้นจำนวนแสดงจำนวนเต็มลบ

ถ้าเรานับเพิ่มจาก 1 ทีละ1 เช่น นี้ไปเรื่อย จะได้จำนวนนับอื่น ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งแสดงด้วยแผนภาพ


ที่นับเพิ่มจาก 1 ไปทางขวาทีละ 1 หน่วยได้ดังนี้

ถ้าเรานับลดจาก 1 ลงทีละ 1 ก็จะได้ 0 , –1, –2, –3,… ไปเรื่อย ๆ ซึ่งแสดงด้วยแผนภาพที่นับลด


จาก 1 ไปทางซ้ายทีละ 1 หน่วยได้ ดังนี้

เขียนแสดงจำนวนเต็มทั้งหมดโดยใช้เส้นจำนวน ดังนี้

บนเส้นจำนวนนี้ จำนวนเต็มที่อยู่ทางขวาของ 0 เป็นจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายขอ 0


เป็นจำนวนเต็มลบ และจำนวนที่อยู่ทางขวาจะมากกว่าจำนวนที่อยู่ทางซ้ายเสมอ
2

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม
รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เปรียบเทียบจำนวนเต็มที่กำหนดให้ได้
การเปรียบเทียบจำนวนเต็มสามารถเปรียบเทียบจากเส้นจำนวนได้ดังนี้

-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3
จากเส้นจำนวนจะพบว่าจำนวนเต็มที่อยู่ทางขวาจะมากกว่าจำนวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายเสมอ
และจำนวนเต็มที่อยู่ทางขวาของศูนย์จะมีค่าเพิ่มขึ้นทีละ 1 ไปเรื่อยๆ ส่วนจำนวนเต็มที่อยู่ทางซ้าย
ของศูนย์จะมีค่าลดลงทีละ 1 ไปเรื่อยๆ
สัญลักษณ์แสดงการเปรียบเทียบจำนวนเต็ม
= แทน เท่ากับ
≠ แทน ไม่เท่ากับ
> แทน มากกว่า
< แทน น้อยกว่า

เช่น เปรียบเทียบ 1 กับ -5 บนเส้นจำนวน


• •
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3
จะเห็นได้ว่า 1 อยู่ทางขวาของ -5 ดังนั้น 1 มากกว่า -5 เขียนแทนด้วย 1 > -5
และ -5 อยู่ทางซ้ายของ 1 ดังนั้น -5 น้อยกว่า 1 เขียนแทนด้วย -5 < 1
และ เปรียบเทียบ 1 กับ 0 กับ -5 บนเส้นจำนวน
• • •
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3
จะเห็นได้ว่า 1 อยู่ทางขวาของ 0
และ 0 อยู่ทางขวาของ -5
ดังนั้น 1 มากกว่า 0 และ 0 มากกว่า -5
นำมาเขียนโดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ 1, 0, -5
และเขียนโดยเรียงลำดับจากน้อยไปมาก ได้ดังนี้ -5, 0, 1

การเปรี ยบเทียบจานวนเต็มสองจานวนใดๆ จะได้ ว่า จานวนที่อยู่


ทางขวาจะมีค่ามากกว่าจานวนที่อยู่ทางซ้ ายของจานวนนัน้
3

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและลักษณะของค่าสัมบูรณ์ได้
2. แสดงวิธีการหาค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มที่กำหนดให้ได้
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม
เมื่อพิจารณาระยะทางระหว่าง 0 ถึง 3 และ 0 ถึง -3 โดยใช้เส้นจำนวนจะเห็นว่า

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
3 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 3 หน่วย
กล่าวว่า ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

-3 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 3 หน่วย


กล่าวว่า ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3
เขียนแทน ค่าสัมบูรณ์ของ a ด้วยสัญลักษณ์ | a |
เช่น ค่าสัมบูรณ์ของ -2 เท่ากับ 2 เขียนแทนด้วย | 2 |

ตัวอย่าง
เนื่องจาก 5 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 5 หน่วย ดังนั้น | 5 | = 5
เนื่องจาก -5 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 5 หน่วย ดังนั้น | -5 | = 5

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม คือ ระยะห่างระหว่างจำนวนนั้นกับศูนย์บนเส้นจำนวน


ดังนั้นค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม จึงเป็นบวกหรือศูนย์
4
57 50
57

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง จานวนตรงข้าม


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง จานวนตรงข้าม
รายวิชาคณิตศาสตร์11 รหัสวิชา คค21101
21101 ภาคเรียนที่ 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ชื่อ……………………………………….นามสกุล…………………………………….ชั้น …………….เลขที่…………..
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบำยจำนวนตรงข้ำมที่กำหนดให้ได้
2. แสดงวิธีกำรหำจำนวนตรงข้ำมของจำนวนเต็มที่กำหนดให้ได้
จานวนตรงข้าม คือ จำนวนที่อยู่ห่ำงจำกศูนย์เป็นระยะเท่ำกันบนเส้นจำนวน และอยู่คนละข้ำงของศูนย์

-3 -2 -1 0 1 2 3
จะเห็นว่ำ -3 และ 3 อยู่ห่ำงจำก 0 เป็นระยะเท่ำกับ 3 หน่วย เท่ำกัน
เรียก -3 และ 3 ว่ำเป็นจำนวนตรงข้ำมซึ่งกันและกัน
นั่นคือ -3 เป็นจำนวนตรงข้ำมของ 3
3 3เป็นเป็
จ�ำนนวนตรงข้
จำนวนตรงข้ ำมของ
ำมของ -3 -3
และ 3 + (-3) = (-3) + 3 = 0

จำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบที่มีค่ำสัมบูรณ์ เท่ำกันเป็นจำนวนตรงข้ำมกัน

หมายเหตุ 0 เป็นจำนวนตรงข้ำมของ 0
สรุป ถ้ำ a เป็นจำนวนใดๆ จำนวนตรงข้ำมของ a เขียนแทนด้วย -a
และ จำนวนตรงข้ำมของ -a คือ a ซึ่งเขียนแทนด้วย -(-a)= a
และ a + (-a) = (-a) + a =0
ตัวอย่างที่ 1 จงหำค่ำของ   4
วิธีทา เนื่องจำก 4 = 4
ดังนั้น   4 = -4
ตอบ -4
ตัวอย่างที่ 2 จงหำจำนวนตรงข้ำมของ  11
วิธีทา เนื่องจำก  11 = 11
ดังนั้น จำนวนตรงข้ำมของ  11 = จำนวนตรงข้ำมของ 11
= -11
ตอบ -11
5

ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกได้
2. แสดงวิธีการหาคำตอบของการบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกได้
การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก คือ การบวกจำนวนนับด้วยจำนวนนับนั่นเอง เช่น 3+2
สามารถแสดงการหาผลบวก โดยใช้เส้นจำนวนได้ดังนี้

–6 –5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6
เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางขวามือถึง 3 เมื่อบวกด้วย 2 ให้นับเพิ่มไปทางขวา 2 หน่วย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 5 จะ
ได้ 5 เป็นผลบวกของ 3 กับ 2 ดังนั้น 3+2 = 5
หรือ อาจหาผลบวกโดยใช้ค่า สัมบูรณ์ โดยการนำค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มบวกมาบวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้
เป็นจำนวนเต็มบวกเช่น
ค่าสัมบูรณ์ของ 19 หรือ |19| = 19
ค่าสัมบูรณ์ของ 11 หรือ |11| = 11
จะได้|19| + |11| = 19 + 11
= 30
ดังนั้น 19 + 11= 30
6

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.อธิบายการบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบได้
2.แสดงวิธีการหาคำตอบของการบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบได้
การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ เช่น (-3) + (-4) หาผลลบโดยการนับต่อจาก -3 นับลดซึ่งเป็น
การนับไปทางซ้าย 4 หน่วย สามารถแสดงการบวกบนเส้นจำนวนได้ดังนี้

4 หน่วย 3 หน่วย

-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1
ดังนั้น (-3) + (-4) = -7
พิจารณาการหาผลบวกของ (-3) + (-4) โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
ค่าสัมบูรณ์ ของ -3 คือ 3
ค่าสัมบูรณ์ ของ -4 คือ 4
จะเห็นได้ว่า เมื่อนำค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองจำนวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็นจำนวนเต็มลบ จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ -7 เช่นเดียวกับการใช้เส้นจำนวน

การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์
มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มลบ

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ (-3) + (-9)


นำค่าสัมบูรณ์ของ -3 และ -9
วิธีทำ (-3) + (-9) = - (3 + 9) มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มลบ
= - 12

ตอบ - 12
7

ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการบวกจำนวนเต็มลบกับจำนวนเต็มบวกได้
2. แสดงวิธีหาคำตอบของการบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวกได้
การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก สามารถแสดงการหาผลบวกโดยใช้เส้นจำนวนได้
พิจารณาการหาผลบวกของ ( -7) + 9 บนเส้นจำนวน

-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
เริ่มต้นนับจาก 0 ไปทางซ้าย 7 หน่วย เมื่อบวกด้วย 9 นับจาก –7 ไปทางขวา 9 หน่วยซึ่งจะไปสิ้นสุด
ที่ 2 จะได้ 2 เป็นผลบวกของ ( -7) + 9
ดังนั้น ( -7) + 9 = 2

พิจารณา การหาผลบวกของ ( -7) + 9 = 2 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์


ค่าสัมบูรณ์ของ -7 หรือ | -7 | = 7
ค่าสัมบูรณ์ของ 9หรือ | 9 | = 9
นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าเป็นตัวตั้ง แล้วลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า
จะได้ | 9 | - | -7 | = 9–7
= 2
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวก ตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
ดังนั้น (-7) + 9 = 2
พิจารณาการหาผลบวกของ ( -9) + 7 บนเส้นจำนวน

-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

เริ่มต้นนับจาก 0 ไปทางซ้าย 9 หน่วย เมื่อบวกด้วย 7 นับจาก –9 ไปทางขวา 7 หน่วยซึ่งจะ


ไปสิ้นสุดที่ -2 จะได้ -2 เป็นผลบวกของ ( -9) + 7
ดังนั้น ( -9) + 7 = -2
8

พิจารณา การหาผลบวกของ ( -9) + 7 = -2 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์


ค่าสัมบูรณ์ของ -9 หรือ | -9 | = 9
ค่าสัมบูรณ์ของ 7หรือ | 7 | = 7
นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าเป็นตัวตั้ง แล้วลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า
จะได้ |-9 | - | 7 | = 9–7
= 2
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบ ตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
ดังนั้น (-9) + 7 = -2
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลบวกของ (-10) +6
วิธีทำ ( -10) + 6 = -4
ตอบ -4

ตัวอย่างที่ 2จงหาผลบวกของ (-11) +18


วิธีทำ ( -11) + 18 = 7
ตอบ 7

ตัวอย่างที่ 3จงหาผลบวกของ (-9) + (-8) +12


วิธีทำ (-9) + (-8) +12 = (-17) +12
= -5
ตอบ -5

หลักการบวกจำนวนเต็ม
1. การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกใช้วิธีเดียวกับการบวกจำนวนนับด้วยจำนวนนับ ซึ่งจะได้
ผลบวกเป็นจำนวนเต็มบวก
2. การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มลบ
3. การบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบให้นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า
แล้วตอบเป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
9

ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การลบจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกและการลบจำนวนเต็มลบ


ด้วยจำนวนเต็มลบ
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. หาผลลบจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกได้
2. หาผลลบจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบได้
การลบจำนวนเต็ม
การลบจำนวนเต็ม เราอาศัยการบวกตามข้อตกลง ดังนี้

ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง +จำนวนตรงข้ามของตัวลบ

ถ้ากำหนดให้ a และ b แทนจำนวนเต็มใดๆ


a -b = a + b
เมื่อเขียนการลบให้อยู่ในรูปการบวกแล้ว จึงหาผลบวกของจำนวนเต็มตามวิธีการบวกจำนวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลบของ 7-9
วิธีทำ 7 - 9 = 7 +(-9) จำนวนตรงข้ามของ 9 คือ -9
= -2
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบของ 13 - 4
วิธีทำ 13 - 4 = 13 +(-4) จำนวนตรงข้ามของ 4 คือ -4
= 9
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลบของ (-15) - (-8)
วิธีทำ (-15) - (-8) = (-15) + 8 จำนวนตรงข้ามของ -8 คือ 8
= -7
ตัวอย่างที่ 4จงหาผลลบของ (-21) - (-32)
วิธีทำ (-21)-(-32) = (-21) +32 จำนวนตรงข้ามของ -32 คือ 32
= 11

หลักเกณฑ์การลบจำนวนเต็ม
ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง +จำนวนตรงข้ามของตัวลบ
10

ใบความรู้ที่ 9
เรื่อง การลบจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการลบจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
เรื่อง การลบจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการลบจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
รายวิชาคณิตศาสตร์1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. หาผลลบจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบได้
2. หาผลลบจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวกได้
การลบจำนวนเต็ม
การลบจำนวนเต็ม เราอาศัยการบวกตามข้อตกลง ดังนี้

ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง +จำนวนตรงข้ามของตัวลบ

ถ้ากำหนดให้ a และ b แทนจำนวนเต็มใดๆ


a - b = a + (- b)
เมื่อเขียนการลบให้อยู่ในรูปการบวกแล้ว จึงหาผลบวกของจำนวนเต็มตามวิธีการบวกจำนวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลบของ 12- (-5)
วิธีทำ 12- (-5)= 12 +5 จำนวนตรงข้ามของ -5 คือ 5
= 17
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบของ 22 - (-6)
วิธีทำ 22-(-6) = 22 + 6 จำนวนตรงข้ามของ -6 คือ 6
= 28

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลบของ (-18)-11


วิธีทำ (-18)-11 =(-18) +(-11) จำนวนตรงข้ามของ 11คือ -11
= -29

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลบของ (-45)-77


วิธีทำ (-45)-77 = (-45) +(-77) จำนวนตรงข้ามของ 77คือ -77
= -122

หลักเกณฑ์การลบจำนวนเต็ม
ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง +จำนวนตรงข้ามของตัวลบ
11

ใบความรู้ที่ 10
เรื่อง การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกและการคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
เรื่อง การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกและการคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. หาผลคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกได้
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัส ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. หาผลคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบได้
การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก
การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก คือ การคูณจำนวนนับด้วยจำนวนนับ เช่น
3×5 = 5+5+5 =15
4 ×6 = 6 + 6 + 6 + 6 = 24
5×2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 10

จะได้ว่าการคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก จะได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มบวก
การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ เป็นไปตามกฎเกณฑ์การคูณจำนวนเต็มที่กล่าวว่า
การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ จะได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากับ
ผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น เช่น
(-3) × (-5) = 15
(-8) × (-4) = 32
(-10) × (-9) = 90
จะได้ว่าการคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ จะได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มบวก

ในทางคณิตศาสตร์ เมื่อ a และ b เป็นจำนวนใด ๆ อาจเขียนแทน a × b ด้วย ab หรือ ab


หรือ (a)(b) เช่น
4 (-3) หมายถึง 4 ×(-3)
(-6)(-5) หมายถึง (-6)×(-5)
(2 7)(-3) หมายถึง (2 ×7)×(-3)

หลักเกณฑ์การคูณจำนวนเต็ม
1.การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก จะได้ผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าเท่ากับ
ผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
2.การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ จะได้ผลคูณ เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าเท่ากับ
ผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
12
ใบความรู้ที่ 11
เรื่อง การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
เรื่อง การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
รายวิณชจำนวนเต็
1. หาผลคู า คณิตศาสตร์
มบวกด้พวื้นยจำนวนเต็
ฐาน 1 รหัมสลบได้
ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. หาผลคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวกได้
การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ
การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ สามารถหาผลคูณโดยใช้ความหมายของการบวก
จำนวนเต็มลบ ตัวอย่าง
2  (− 3) = (− 3) + (− 3) = −6
3  (− 4) = (− 4) + (− 4) + (− 4) = −12
5  (− 6) = (− 6) + (− 6) + (− 6) + (− 6) + (− 6) = −30
จากข้างต้นการคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ จะได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มลบที่มี
ค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น เช่น
7  ( −4 ) = − ( 7  4 ) = −28
15  ( −3) = − (15  3) = −45
9  ( −10 ) = − ( 9 10 ) = −90

การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก เนื่องจากจำนวนเต็มมีสมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ
ดังนั้นจึงหาผลคูณได้โดยใช้สมบัติการสลับที่ เช่น
(− 4) 7 = 7  (− 4)
= - 28
(− 3)  15 = 15  (− 3)
= - 45
(− 10)  9 = 9  (− 10)
= - 90
13

หลักเกณฑ์การคูณจำนวนเต็ม
1.การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกจะได้ผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าเท่ากับ
ผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
2.การคูณจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบจะได้ผลคูณเป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าเท่ากับ
ผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
3. การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบจะได้ผลคูณเป็นจำนวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์
14

ใบความรู้ที่ 12
เรื่อง การหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกและการหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
เรื่อง การหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกและการหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. หาผลหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกได้
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัส ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. หาผลหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวกได้
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็ม
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัว จะได้ว่า

ตัวตั้ง = ตัวหาร  ผลหาร

นั้นคือ เมื่อ a , b และ c แทนจำนวนเต็มใดๆ โดยที่ b ไม่เท่ากับ 0


ถ้า a  b = c a = b  c
และถ้า a = b  c แล้ว a  b = c
เราใช้หลักการข้างต้นหาผลหารของจำนวนเต็ม ดังนี้
พิจารณา 10  2
ทำได้โดยการหาจำนวนที่คูณกับ 2 แล้วได้ 10
เนื่องจาก 2  5 = 10
จำนวนเต็มที่ต้องการคือ 5
นั่นคือ 10  2 = 5
พิจารณา (-10)  (-2)
ทำได้โดยการหาจำนวนที่คูณกับ -2 แล้วได้ -10
เนื่องจาก (-2)  5 = -10
จำนวนเต็มที่ต้องการคือ 5
นั่นคือ (-10)  (-2) = 5
จากตัวอย่าง สามารถสรุปหลักเกณฑ์การหารจำนวนเต็ม ได้ดังนี้

1.ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มบวกทั้งคู่ ใช้วิธีการเดียวกับการหารจำนวนนับด้วยจำนวนนับ
และหารลงตัวจะได้ ผลหารเป็นจำนวนเต็มบวก
2.ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มลบทั้งคู่ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของ
ตัวหารและหารลงตัวจะได้ ผลหารเป็นจำนวนเต็มบวก
15

ใบความรู้ที่ 13
เรื่อง การหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
เรื่อง การหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
หาผลหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและหาผลหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวกได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัว ซึ่งมีผลหารเป็นจำนวนเต็มและเศษเป็น 0 การหาร
จำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัวเราอาศัยการคูณตามข้อตกลงดังนี้

ตัวหาร  ผลหาร = ตัวตั้ง

นั่นคือ เมื่อ a , b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ไม่เท่ากับ 0


ถ้า a  b = c แล้ว a = b  c
และ ถ้า a = b  c แล้ว a  b = c
a
ในทางคณิตศาสตร์ อาจเขียนแทน a ÷b ด้วย
b
เราใช้หลักข้างต้นหาผลหารของจำนวนเต็ม ดังเช่น
−20
1. การหาผลหาร
5
ทำได้โดยการหาจำนวนเต็มที่คูณกับ 5 แล้วได้ −20
เนื่อง 5(−4) = −20
จำนวนเต็มที่ต้องการ คือ −4
20
2. การหาผลหาร
−5
ทำได้โดยการหาจำนวนเต็มที่คูณกับ −5 แล้วได้ 20
เนื่อง (−5)(−4) = 20
จำนวนเต็มที่ต้องการ คือ −4
16

เนื่องจากการหารมีความสัมพันธ์กับการคูณ และการหาผลคูณสามารถทำได้โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนั้น


การหาผลหารของจำนวนเต็มจึงสามารถหาได้โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ดังนี้
หลักเกณฑ์การหารจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการหารจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
มีดังนี้
ถ้าทั้งตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำนวนเต็มลบโดยที่อีกตัวหนึ่ง เป็น
จำนวนเต็มบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหารแล้วตอบ
เป็นจำนวนเต็มลบ

บทนิยาม จำนวนคู่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ลงตัว


จำนวนคี่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของ 15  (–3)
วิธีทำ 15  (–3) = –5
ตอบ –5
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหารของ (–15)  (–3)
วิธีทำ (–15)  (–3) = 5
ตอบ 5
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลหารของ (–100)  (2)
วิธีทำ (–100)  (2) = −50
ตอบ −50
17

ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง การบวก ลบ คูณ และหารจำนวนเต็ม


หน่วยที่ 1 จำนวนเต็ม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 เรื่อง การบวก ลบ คูณ และหารจำนวนเต็ม
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร จำนวนเต็มได้
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัวหรือเป็นการหารที่ไม่ลงตัวก็ได้ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึง
เฉพาะการหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัว ซึ่งมีผลหารเป็นจำนวนเต็มและ
เศษเป็น 0
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัวเราอาศัยการคูณตามข้อตกลงดังนี้

ตัวหาร  ผลหาร = ตัวตั้ง

นั่นคือ เมื่อ a , b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ไม่เท่ากับ 0


ถ้า a  b = c แล้ว a = b  c
และ ถ้า a = b  c แล้ว a  b = c
a
ในทางคณิตศาสตร์ อาจเขียนแทน a ÷b ด้วย
b
หลักเกณฑ์การหารจำนวนเต็ม มีดังนี้
1. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มบวกทั้งคู่ใช้วิธีเดียวกับการหารจำนวนนับด้วยจำนวนนับและหารลง
ตัวซึ่งจะได้ผลหารเป็นจำนวนเต็มบวก
2.ถ้าทั้งตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มลบทั้งคู่ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์
ของตัวหารและหารลงตัว แล้วผลหารเป็นจำนวนเต็มบวก
3. ถ้าทั้งตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำนวนเต็มลบโดยที่อีกตัวหนึ่ง เป็นจำนวนเต็มบวก ให้นำค่า
สัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหารและหารลงตัว แล้วผลหารเป็นจำนวนเต็มลบ
บทนิยาม จำนวนคู่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ลงตัว
จำนวนคี่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหาร 180 ÷ 60


วิธีทำ (180)  (60) = 3
ตอบ 3
18

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหาร (−300) ÷ 5


วิธีทำ (−300) ÷ 5 = −60
ตอบ −60

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์ของ 48 ÷ [(−6) ÷(−3)]


วิธีทำ 48 ÷ [(−6) ÷(−3)]= 48 ÷ 2
= 24
ตอบ 24
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลัพธ์ของ [[(–12) × (–3)] + (–4) ]  (–8)
วิธีทำ [[(–12) × (–3) ] + (–4) ]  (–8) = [36 + (–4) ]  (–8)
= 32  (–8)
= –4
ตอบ –4
19
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาจำนวนเต็ม
หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาจำนวนเต็ม
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณและหารได้
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัวหรือเป็นการหารที่ไม่ลงตัวก็ได้ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึง
เฉพาะการหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัว ซึ่งมีผลหารเป็นจำนวนเต็มและเศษเป็น 0
การหารจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มที่เป็นการหารลงตัวเราอาศัยการคูณตามข้อตกลงดังนี้
ตัวหาร  ผลหาร = ตัวตั้ง

นั่นคือ เมื่อ a , b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ไม่เท่ากับ 0


ถ้า a  b = c แล้ว a = b  c
และ ถ้า a = b  c แล้ว a  b = c
a
ในทางคณิตศาสตร์ อาจเขียนแทน a ÷ b ด้วย
b
หลักเกณฑ์การหารจำนวนเต็ม มีดังนี้
1. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มบวกทั้งคู่ใช้วิธีเดียวกับการหารจำนวนนับด้วยจำนวนนับและหารลง
ตัวซึ่งจะได้ผลหารเป็นจำนวนเต็มบวก
2. ถ้าทั้งตัวตั้งและตัวหารเป็นจำนวนเต็มลบทั้งคู่ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์
ของตัวหารและหารลงตัว แล้วผลหารเป็นจำนวนเต็มบวก
3. ถ้าทั้งตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำนวนเต็มลบโดยที่อีกตัวหนึ่ง เป็นจำนวนเต็มบวก ให้นำค่า
สัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหารและหารลงตัว แล้วผลหารเป็นจำนวนเต็มลบ
บทนิยาม จำนวนคู่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ลงตัว
จำนวนคี่ คือ จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว
ตัวอย่างที่ 1 นายมนตรีมีเงินอยู่ 700 บาท ซื้อมะม่วง 6 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 45 บาท ซื้อข้าวเหนียวมูล 2 กิโลกรัม
กิโลกรัมละ 150 บาท นำเงินที่เหลือแบ่งให้น้อง 2 คน คนละเท่า ๆ กัน น้องได้เงินคนละเท่าไร
วิธีทำ
ซื้อมะม่วง 6 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 45 บาท เป็นเงิน 6 × 45 = 270 บาท
ซื้อข้าวเหนียวมูล 2 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 150 บาท เป็นเงิน 2 × 150 = 300 บาท
รวมเงินที่ซื้อ 270 + 300 = 570 บาท
มีเงินอยู่ 700 บาท จะเหลือเงิน 700 – 570 = 130 บาท
แบ่งเงินให้น้อง 2 คน คนละเท่า ๆ กัน
ดังนั้น น้องได้รับเงินคนละ 130 ÷ 2 = 65 บาท
20

ตัวอย่างที่ 2 ซื้อผ้ามา 20 เมตร ขายไปเมตรละ 35 บาท ได้กำไร 400 บาท ซื้อผ้าราคาเมตรละเท่าไร


วิธีทำ ซื้อผ้ามา 20 เมตร ขายไปเมตรละ 35 บาท
ขายได้ทั้งหมด 20 × 35 = 700 บาท
ได้กำไร 400 บาท
แสดงว่า ซื้อผ้ามา 700 – 400 = 300 บาท
ดังนั้น ซื้อผ้ามาราคาเมตรละ 300 ÷ 20 = 15 บาท
21

ใบความรู้ที่ 16 เรื่อง สมบัติของจานวนเต็ม


หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง สมบัติของจานวนเต็ม
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา ค21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้
1.อธิบายสมบัติของหนึ่ง ศูนย์ และนาไปใช้ได้
2.อธิบายเกี่ยวกับการบวก การคูณ จานวนเต็มและนาไปใช้ได้
1. สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจานวนเต็ม
1.1 สมบัติการสลับที่
1) เมื่อมีจานวนเต็มสองจานวนบวกกัน เราสามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและตัวบวกได้โดยที่
ผลลัพธ์ยังคงเท่ากัน เช่น
3 +(5) = (5) + 3 = 2
นั่นคือ ถ้า a และ b แทนจานวนเต็มใด ๆ แล้ว a + b = b + a สมบัตินี้เรียกว่า
สมบัติการสลับที่สาหรับการบวก
2) เมื่อมีจานวนเต็มสองจานวนคูณกัน เราสามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและตัวคูณได้โดยที่ผลลัพธ์
ยังคงเท่ากัน เช่น
8  (9) = (9)  8 = 72
นั่นคือ ถ้า a และ b แทนจานวนเต็มใด ๆ แล้ว a  b = b  a สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติการ
สลับที่สาหรับการคูณ
1.2 สมบัติการเปลี่ยนหมู่
1) เมื่อมีจานวนเต็มสามจานวนบวกกัน เราสามารถบวกจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก็ได้ โดย
ที่ผลลัพธ์สุดท้ายยังคงเท่ากัน เช่น
[(5) +7] + (10) = (5) + [7 + (10)] = 8
นั่นคือ ถ้า a, b และ c แทนจานวนเต็มใด ๆ แล้ว
( a + b) + c = a + ( b + c)
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก
2) เมื่อมีจานวนเต็มสามจานวนคูณกัน เราสามารถคูณจานวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก็ได้ โดยที่
ผลลัพธ์สุดท้ายยังคงเท่ากัน เช่น
[(-12) (-11)]  3 = (-12)  [(-11) 3 ] = 396
นั่นคือ ถ้า a, b และ c แทนจานวนเต็มใด ๆ แล้ว
( a  b)  c = a  ( b  c)
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ
22

1.3 สมบัติการแจกแจง
สมบัติการแจกแจง เป็นสมบัติที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณ ที่กล่าว
ว่า ถ้า a , b และ c แทนจานวนเต็มใด ๆ แล้ว
a  (b + c) = (a  b) + ( a  c)
และ (b + c)  a = (b a) + (ca)
เช่น (7) [( 4) +9] = [(7) ( 4)] + [(7) 9] =28 + (63) = 35
[( 4) +9] (7) = [( 4) (7)]+[ 9(7] = 35
สมบัติของหนึ่งและศูนย์
1. สมบัติของหนึ่ง
1) การคูณจานวนใด ๆ ด้วยหนึ่งหรือคูณหนึ่งด้วยจานวนใด ๆ จะได้ผลคูณเท่ากับจานวนนั้น
เช่น
25  1 = 1  25 = 25
(27) 1 = 1 (27) = 27
นั่นคือ ถ้า a แทนจานวนใดๆ แล้ว a  1 = 1 a = a
2) การหารจานวนใดๆ ด้วยหนึ่งจะได้ผลหารเท่ากับจานวนนั้น เช่น
19 37
 19  37
1 1

a
นั่นคือ ถ้า a แทนจานวนใดๆ แล้ว a
1
2. สมบัติของศูนย์
1) การบวกจานวนใด ๆ ด้วยศูนย์หรือการบวกศูนย์ด้วยจานวนใดๆจะได้ผลบวกเท่ากับจานวน
นั้น เช่น
3+0=0+3=3
(53) + 0 = 0 + (53) = 53
0+0=0
นั่นคือ ถ้า a แทนจานวนใด ๆ แล้ว a +0 = 0 + a = a
2) การคูณจานวนใด ๆ ด้วยศูนย์หรือการคูณศูนย์ด้วยจานวนใดๆจะได้ผลคูณเท่ากับศูนย์ เช่น
15  0 = 0  15 = 0
(34)  0 = 0 (34) = 0
0  0=0
นั่นคือ ถ้า a แทนจานวนใด ๆ แล้ว a  0 = 0  a = 0
23

3) ถ้าหารศูนย์ด้วยจานวนใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ จะได้ผลหารเท่ากับ ศูนย์ เช่น


0
0
21
0
0
27
0
นั่นคือ ถ้า a แทนจานวนใด ๆ ที่ไม่ใช่ 0 แล้ว 0
a
หมายเหตุ ในทางคณิตศาสตร์เราไม่ใช้ 0 เป็นตัวหาร นั่นคือ
a
ถ้า a แทนจานวนใด ๆแล้ว ไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์
0
4) ถ้าผลคูณของจานวนสองจานวนใดเท่ากับศูนย์ จานวนใด จานวนหนึ่งอย่างน้อยหนึ่งจานวนต้อง
เป็นศูนย์
กล่าวคือ ถ้า a และ b แทนจานวนใดๆ และ a b =0 แล้วจะได้ a = 0 หรือ b = 0
เราสามารถนาสมบัติของจานวนเต็มดังกล่าวข้างต้นมาใช้ในการคานวณและในการแก้ปัญหา
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณ (–8)×(–2)×(–10)
วิธีทา (–8)(–2)(–10) = (–8)×[(–2)(–10) ]
= (–8) × (20)
= –160
ตอบ –160
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์ 10a + 12a เมื่อ a แทนจานวนใด ๆ (สมบัติการแจกแจง)
วิธีทา 10a + 12a = (10+12)a
= 22a

You might also like