You are on page 1of 27

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค.

59) 1
16 Nov 2019

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)


วันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม 2559 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบระบายตัวเลขที่เป็ นคาตอบ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน


1. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑥 + 1 , 𝑥 + 2 และ 𝑥 + 3 เป็ นตัวประกอบชอง 𝑃(𝑥) แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 12 2. 24 3. 32 4. 40 5. 46

2. จานวนเต็มบวก 𝑛>2 ที่นอ้ ยที่สดุ ที่หารด้วย 18 และ 24 แล้วเหลือเศษ 2 มีคา่ อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้
1. [73, 77] 2. [78, 82] 3. [83, 87]
4. [88, 92] 5. [93, 97]

𝜋
3. กาหนดให้ 𝐴, 𝐵 ∈ (0, )
2
ถ้า tan 𝐴 = 2 และ tan 𝐵 = 3 แล้ว 𝐴 + 𝐵 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝜋4 2. 𝜋
3
3. 3𝜋
4
4. 4𝜋3
5. 5𝜋4
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

4. ถ้า 𝑎⃑ = 2𝑖⃑ − 𝑗⃑ + 𝑘⃑⃑ และ 𝑏⃑⃑ × 𝑐⃑ = 3𝑖⃑ + 2𝑗⃑ − 𝑘⃑⃑ แล้ว (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ (𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −3 2. −2 3. 2
4. 3 5. 2√21

5. กาหนดให้จดุ (6, 4) อยูบ่ นวงกลม C ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางสองเส้นของวงกลม C คือส่วนของเส้นตรง


2𝑥 + 𝑦 = 5 และ 𝑥 + 3𝑦 = 10 แล้วรัศมีของวงกลมยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. √21 หน่วย 2. √24 หน่วย 3. 5 หน่วย
4. √26 หน่วย 5. 6 หน่วย

6. ผลบวกของคาตอบทัง้ หมดของสมการ log |𝑥 − 2|(𝑥−5) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 4 2. 5 3. 6 4. 8 5. 9
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 3

7. ถ้าผลการเรียนคณิตศาสตร์ของ ด.ช. จ้อย เป็ นดังตารางต่อไปนี ้


คะแนนที่ได้ เกณฑ์การให้นา้ หนัก
(จากคะแนนเต็ม 100) ในการคิดคะแนน
การบ้าน 85 20%
สอบกลางภาค 65 40%
สอบปลายภาค 70 40%

แล้วจานวนเปอร์เซ็นต์ของผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของ ด.ช. จ้อย เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 68 2. 71 3. 74 4. 77 5. 80

8. กาหนดให้ 𝑆 = {1, 2, 3, … , 8, 9} 𝒲 = { 𝐴 | 𝐴 ⊂ 𝑆 และ 𝐴 มีสมาชิก 4 ตัว }


ถ้าสุม่ หยิบเซตหนึง่ เซตจาก 𝒲 แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้เซตที่ไม่มีเลข 9 เป็ นสมาชิก เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 29 2. 13 3. 49 4. 12 5. 59

9. ความน่าจะเป็ นที่ดวงพรจะไปดูหนังและไปซือ้ ของในวันอาทิตย์เป็ น 0.7 และ 0.6 ตามลาดับ ถ้าดวงพรจะทา


กิจกรรมอย่างน้อย 1 อย่างแน่นอน แล้วความน่าจะเป็ นที่ดวงพรจะทากิจกรรมทัง้ 2 อย่างเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.4 5. 0.5
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

(3+2𝑛)13 (5+𝑛)2
10. ถ้าลาดับ 𝑎𝑛 = (1−2𝑛)15
แล้ว nlim

𝑎𝑛 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1
1. −1 2. −2 3. −4 4. 0 5. 2

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
𝑧̅ −1
11. ถ้า 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้อน ซึง่ สอดคล้องกับสมการ 𝑧+|
𝑧−1
| = −3 + 2𝑖
แล้ว |𝑧| มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. √10 3. √13
4. 2√5 5. 4

12. ให้ 𝐴 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนเต็มที่อยูใ่ นช่วง [−10, 10] } 𝐵 = { 𝑥 | (𝑥 + 5)(|𝑥| − 5) ≥ −9 }


จานวนสมาชิกของ 𝐴 ∩ 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 7 2. 14 3. 16 4. 18 5. 21
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 5

13. กาหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก 𝑛 โดยที่ 𝑛 หาร 3,399 แล้วเหลือเศษ 24


จานวนสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11

14. ไฮเพอร์โบลารูปหนึง่ มีโฟกัสอยูท่ จี่ ดุ (−7, 1) และ (5, 1) ถ้าเส้นกากับเส้นหนึง่ ของไฮเพอร์โบลานี ้ ขนานกับ
เส้นตรง √2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0 แล้วสมการของไฮเพอร์โบลาคือข้อใดต่อไปนี ้
(𝑥+1)2 (𝑦−1)2 (𝑥+1)2 (𝑦−1)2 (𝑥−1)2 (𝑦+1)2
1. 24

12
=1 2. 12

24
=1 3. 12

24
=1
(𝑦−1)2 (𝑦+1)2
4. (𝑥 + 1)2 −
2
=1 5. (𝑥 − 1)2 −
2
=1

15. กาหนดรูปสีเ่ หลีย่ ม ABCD ดังรูป


C
โดยมีดา้ น BC, AC และ AD ยาวเท่ากับ 5, 7 และ 8 หน่วยตามลาดับ
มี BÂD = 90° และ CB̂A = 120°
5
พืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม ACD เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 22 ตารางหน่วย B 120°
7

2. 24 ตารางหน่วย
3. 28 ตารางหน่วย
4. 28√2 ตารางหน่วย A 8 D

5. 28√3 ตารางหน่วย
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

16. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑣̅ = (sin 80° + sin 20°)𝑖⃗ + 𝑎𝑗⃗ + 𝑏𝑘⃑⃗
และ |𝑣̅ × 𝑖⃗| = sin 70° + sin 10° แล้ว |𝑣̅ |2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 2. 3 3. 5 4. 6 5. 7

17. ผลบวกของคาตอบทัง้ หมดของสมการ (log 100𝑥)2 + 2 log100 𝑥 + 2 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


11 101 11
1. 1000 2. 1000 3. 100
4. 101 5. 110

𝑎 2 1 𝑥 3
18. กาหนดระบบสมการ 𝐴𝑋 = 𝐵 เมื่อ
𝐴 = [𝑏 0 −1] , 𝑋 = [𝑦] และ 𝐵 = [ 3 ]
𝑐 2 −2 𝑧 −4
𝑎 2 1 3 1 2 1 3
ถ้า [𝑏 0 −1 3 ] ~ [0 1 0 −3] แล้ว det(𝐴) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
𝑐 2 −2 −4 0 0 1 5
1. −8 2. −4 3. −1 4. 4 5. 8
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 7

19. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎9 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มีผลต่างร่วม 𝑑 > 0


และ 𝑏1 , 𝑏2 , 𝑏3 , … , 𝑏9 เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มีอตั ราส่วนร่วม 𝑟 > 0
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
𝑎1 𝑎2 𝑎3 𝑏1 𝑏2 𝑏3
ก. 𝑎
det [ 4 𝑎5 𝑎6 ] = 𝑑 ข. det [𝑏4 𝑏5 𝑏6 ] = 𝑟
𝑎7 𝑎8 𝑎9 𝑏7 𝑏8 𝑏9
2𝑎 1 2𝑎 2 2𝑎 3 𝑏12 𝑏22 𝑏32
ค. det [2𝑎4 2𝑎 5 2𝑎 6 ] = 2𝑑 ง. det [𝑏42 𝑏52 𝑏62 ] = 𝑟 2
2𝑎 7 2𝑎 8 2𝑎 9 𝑏72 𝑏82 𝑏92
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

20. กาหนดให้ 𝐴 = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 } 𝐵 = { 3, 4, 5, 6 }
จานวนสับเซต 𝐶 ของ 𝐴 ซึง่ 𝐶 ∩ 𝐵 มีสมาชิก 2 ตัว เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 32 2. 48 3. 64 4. 80 5. 96

21. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ มีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน


มาตรฐานเท่ากับ 60 และ 10 คะแนน ตามลาดับ ถ้านักเรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 70 คะแนน มี 84.13%
แล้วนักเรียนที่สอบได้ 50 คะแนน จะมีตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 15.87 2. 24.13 3. 34.13
4. 47.61 5. 50
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

22. ตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน เป็ นดังนี ้


ช่วงคะแนน ความถี่
1–5 4
6 – 10 𝑎
11 – 15 6
16 – 20 𝑏
21 – 25 10
26 – 30 4

ถ้าข้อมูลชุดนีม้ มี ธั ยฐานเท่ากับ 17.5 คะแนน แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 16.50 คะแนน 2. 16.75 คะแนน 3. 17.25 คะแนน
4. 17.50 คะแนน 5. 17.75 คะแนน

23. ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีกราฟดังรูป Y


พืน้ ที่ 16 ตารางหน่วย
3
พืน้ ที่ 6 ตารางหน่วย
แล้ว  (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
0

1. 6 2. 10
X
3. 12 4. 16 0 1 3
𝑦 = 𝑓(𝑥)
5. 32

24. ถ้า 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม และกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกราฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5
5
แล้ว  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2

1. 94 2. 104 3. 158 4. 258 5. 264


วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 9

25. กาหนดให้ 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 2 และผลต่างร่วมเท่ากับ − 29


ถ้า 𝑏𝑛 = 2𝑎𝑛 แล้วจานวนเต็มบวก 𝑚 ที่นอ้ ยที่สดุ ที่ทาให้ 𝑏1 ∙ 𝑏2 ∙ 𝑏3 ∙ … ∙ 𝑏𝑚 ≥ 1024 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11

211
26. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นอนุกรมเรขาคณิต ถ้า 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 = 9
 11
และ  𝑎𝑖 = 27 แล้วจานวนจริง 𝑥 ซึง่ ทาให้  |𝑎𝑖 − 𝑥| มีคา่ น้อยที่สดุ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
i 1 i 1
64 16 32 64
1. 81
2. 1 3. 9
4. 27
5. 27

27. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามดีกรีสาม ซึง่ มีคา่ วิกฤตที่ 𝑥 = 4 และ 𝑥 = −4 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. 𝑓 ′′(−4) ∙ 𝑓 ′′(4) < 0
ข. 𝑓(4√3) = 2𝑓(0)
ค. 𝑓(−4) + 𝑓(4) = 2𝑓(0)
ง. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑓(−2) , 𝑓(−1) , 𝑓(0) , 𝑓(1) , 𝑓(2) เท่ากับ 𝑓(0)
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

2 100
28. ถ้า 𝑆 เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก 𝑚 ที่ทาให้ 2100 −𝑚
เป็ นจานวนเต็มบวก
แล้วผลบวกของสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 99(299 ) 2. 100(299) + 1 3. 99(2100 ) + 1
4. 100(2100 ) 5. 101(2101 )

5𝜋 5𝜋 𝑘
cos − 𝑖 sin
29. กาหนดให้ 𝐴 = { 1, 2, 3, … , 99, 100 } และ 𝐵={𝑘∈𝐴| ( 8
3𝜋
cos − 𝑖 sin
8
3𝜋 ) = 𝑖 } โดยที่ 𝑖 2 = −1
4 4
จานวนสมาชิกของ 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 7 3. 9 4. 11 5. 13

0 1 𝑎 𝑏
30. กาหนดให้ 𝑆 = { −2 , −1 , 0 , 1 , 2 } 𝐴=[
−1 1
] 𝑊={[ ] | 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ 𝑆}
𝑐 𝑑
ถ้าสุม่ เมทริกซ์จากเซต 𝑊 มา 1 เมทริกซ์แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้เมทริกซ์ 𝐵 ซึง่ 𝐴𝐵 = 𝐵𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
17 19 21 23 25
1. 625 2. 625 3. 625
4. 625
5. 625
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 11

เฉลย
1. 5 7. 2 13. 5 19. 1 25. 3
2. 1 8. 5 14. 2 20. 5 26. 4
3. 3 9. 3 15. 1 21. 1 27. 4
4. 1 10. 3 16. 2 22. 1 28. 3
5. 4 11. 4 17. 1 23. 3 29. 2
6. 5 12. 2 18. 5 24. 4 30. 2

แนวคิด
1. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑥 + 1 , 𝑥 + 2 และ 𝑥 + 3 เป็ นตัวประกอบชอง 𝑃(𝑥) แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 12 2. 24 3. 32 4. 40 5. 46
ตอบ 5
𝑃(𝑥) เป็ นพหุนามกาลังสาม ที่มี 𝑥 + 1 , 𝑥 + 2 และ 𝑥 + 3 เป็ นตัวประกอบ
ดังนัน้ 𝑃(𝑥) ต้องอยูใ่ นรูป 𝑘(𝑥 + 1)(𝑥 + 2)(𝑥 + 3) เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนจริง
และจากพจน์กาลังสามของ 𝑃(𝑥) คือ 2𝑥 3 ดังนัน้ 𝑘 = 2 → 𝑃(𝑥) = 2(𝑥 + 1)(𝑥 + 2)(𝑥 + 3)
จะกระจาย 𝑃(𝑥) แล้วเทียบสัมประสิทธิ์ก็ได้ แต่สงั เกตว่าถ้าแทน 𝑥 = 1 ก็จะได้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 ได้เหมือนกัน
𝑃(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 2(𝑥 + 1)(𝑥 + 2)(𝑥 + 3) แทน 𝑥 = 1
2(13 ) + 𝑎(12 ) + 𝑏(1) + 𝑐 = 2(1 + 1)(1 + 2)(1 + 3)
2 + 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 48
𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 46

2. จานวนเต็มบวก 𝑛 > 2 ที่นอ้ ยที่สดุ ที่หารด้วย 18 และ 24 แล้วเหลือเศษ 2 มีคา่ อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้
1. [73, 77] 2. [78, 82] 3. [83, 87]
4. [88, 92] 5. [93, 97]
ตอบ 1
ต้องหาจานวนที่นอ้ ยที่สดุ ที่หารด้วย 18 และ 24 ลงตัว แล้วเอามาบวก 2 ก็จะทาให้หารแล้วเหลือเศษ 2
จานวนที่นอ้ ยที่สดุ ที่หารด้วย 18 และ 24 ลงตัว = ค.ร.น. ของ 18 และ 24
6 18 24 → จะได้ ค.ร.น. = 6 × 3 × 4 = 72
3 4 → จะได้ 𝑛 = 72 + 2 = 74 อยูใ่ นช่วงของ ข้อ 1. [73, 77]

3. กาหนดให้ 𝐴, 𝐵 ∈ (0, 𝜋2) ถ้า tan 𝐴 = 2 และ tan 𝐵 = 3 แล้ว 𝐴 + 𝐵 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝜋4 2. 𝜋3 3. 3𝜋
4
4. 4𝜋3
5. 5𝜋4
ตอบ 3
มี tan 𝐴 = 2 และ tan 𝐵 = 3 → สามารถหา tan(𝐴 + 𝐵) = 1tan 𝐴 + tan 𝐵
− tan 𝐴 tan 𝐵
2+3 5
= 1 − (2)(3) = −5 = −1
และจาก 0 < 𝐴 < 𝜋2
𝜋
0 < 𝐵 < 2
3𝜋
ดังนัน้ 0 < 𝐴+𝐵 < 𝜋 จาก tan(𝐴 + 𝐵) = −1 จะได้ 𝐴+𝐵 = 4
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

4. ถ้า 𝑎⃑ = 2𝑖⃑ − 𝑗⃑ + 𝑘⃑⃑ และ 𝑏⃑⃑ × 𝑐⃑ = 3𝑖⃑ + 2𝑗⃑ − 𝑘⃑⃑ แล้ว (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ (𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −3 2. −2 3. 2
4. 3 5. 2√21
ตอบ 1
(𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ (𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑)
กระจาย (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ ในการบวกเวกเตอร์
= (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑎⃑ + (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑏⃑⃑ + (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑐⃑
หมุน × และ ∙ ค่าไม่เปลี่ยน
= (𝑎⃑ × 𝑎⃑) ∙ 𝑐⃑ + (𝑐⃑ × 𝑏⃑⃑) ∙ 𝑎⃑ + (𝑐⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑎⃑
𝑢⃑⃑ × 𝑢⃑⃑ = 0̅
= 0̅ ∙ 𝑐⃑ + (𝑐⃑ × 𝑏⃑⃑) ∙ 𝑎⃑ + 0̅ ∙ 𝑎⃑
0̅ ∙ 𝑢
⃑⃑ = 0
= ⃑⃑
(𝑐⃑ × 𝑏) ∙ 𝑎⃑
𝑢
⃑⃑ × 𝑣⃑ = −(𝑣⃑ × 𝑢
⃑⃑)
= −(𝑏⃑⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑎⃑
= −(3𝑖⃑ + 2𝑗⃑ − 𝑘⃑⃑ ) ∙ (2𝑖⃑ − 𝑗⃑ + 𝑘⃑⃑ )
= −((3)(2) + (2)(−1) + (−1)(1)) = −3

5. กาหนดให้จดุ (6, 4) อยูบ่ นวงกลม C ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางสองเส้นของวงกลม C คือส่วนของเส้นตรง


2𝑥 + 𝑦 = 5 และ 𝑥 + 3𝑦 = 10 แล้วรัศมีของวงกลมยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. √21 หน่วย 2. √24 หน่วย 3. 5 หน่วย
4. √26 หน่วย 5. 6 หน่วย
ตอบ 4
เส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม จะตัดกันที่จดุ ศูนย์กลางวงกลมเสมอ → หาจุดตัดเส้นตรง 2𝑥 + 𝑦 = 5 …(1)
𝑥 + 3𝑦 = 10 …(2)
(1) × 3 : 6𝑥 + 3𝑦 = 15 …(3)
(3) − (2) : 5𝑥 = 5
𝑥 = 1
(1) : 2(1) + 𝑦 = 5
𝑦 = 3
จะได้จดุ ศุนย์กลางวงกลม = จุดตัดเส้นตรง = (1, 3)
ดังนัน้ รัศมี = ระยะจากจุดศุนย์กลาง ไปจุดไหนก็ได้บนวงกลม
ระยะระหว่าง (𝑥1 , 𝑦1 ) และ (𝑥2 , 𝑦2 )
= ระยะจาก (1, 3) ไป (6, 4)
= √(𝑥2 − 𝑥1 )2 + (𝑦2 − 𝑦1 )2
= √(6 − 1)2 + (4 − 3)2 = √26

6. ผลบวกของคาตอบทัง้ หมดของสมการ log |𝑥 − 2|(𝑥−5) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 4 2. 5 3. 6 4. 8 5. 9
ตอบ 5
log |𝑥 − 2|(𝑥−5) = 0
log แบบไม่มีฐาน คือ log ฐาน 10
|𝑥 − 2|(𝑥−5) = 100
|𝑥 − 2|(𝑥−5) = 1
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 13

ผลยกกาลัง เป็ น 1 ได้ 3 กรณี คือ ฐาน = 1 , เลขชีก้ าลัง = 0 (เมื่อ ฐาน ≠ 0) , (−1)𝑐 เมื่อ 𝑐 เป็ นเลขคู่

|𝑥 − 2| = 1 𝑥−5 = 0 |𝑥 − 2| = −1
𝑥 − 2 = 1 , −1 𝑥 = 5 ค่าสัมบูรณ์เป็ นลบไม่ได้
𝑥 = 3, 1 (𝑥 = 5 จะได้ฐาน |𝑥 − 2| ≠ 0) ไม่มีคาตอบ

จะได้ผลบวกคาตอบ = 3+1+5 = 9

7. ถ้าผลการเรียนคณิตศาสตร์ของ ด.ช. จ้อย เป็ นดังตารางต่อไปนี ้


คะแนนที่ได้ เกณฑ์การให้นา้ หนัก
(จากคะแนนเต็ม 100) ในการคิดคะแนน
การบ้าน 85 20%
สอบกลางภาค 65 40%
สอบปลายภาค 70 40%

แล้วจานวนเปอร์เซ็นต์ของผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของ ด.ช. จ้อย เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 68 2. 71 3. 74 4. 77 5. 80
ตอบ 2
∑ 𝑤𝑖 𝑥 𝑖 (20)(85) + (40)(65) + (40)(70)
จากสูตรค่าเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก จะได้ = ∑ 𝑤𝑖
= 20 + 40 + 40
1700 + 2600 + 2800 7100
= 100
= 100
= 71

8. กาหนดให้ 𝑆 = {1, 2, 3, … , 8, 9} 𝒲 = { 𝐴 | 𝐴 ⊂ 𝑆 และ 𝐴 มีสมาชิก 4 ตัว }


ถ้าสุม่ หยิบเซตหนึง่ เซตจาก 𝒲 แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้เซตที่ไม่มีเลข 9 เป็ นสมาชิก เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 29 2. 13 3. 49 4. 12 5. 59
ตอบ 5
𝑛(𝑆) = จานวนแบบทัง้ หมด = จานวนสับเซตของ 𝑆 ที่มีสมาชิก 4 ตัว
→ เลือก 4 ตัว จากสมาชิกของ 𝑆 (ซึง่ มี 9 ตัว) จะเลือกได้ (49) แบบ
𝑛(𝐸) = จานวนแบบที่โจทย์สนใจ = จานวนสับเซตของ 𝑆 ที่มีสมาชิก 4 ตัว ที่ไม่มีเลข 9 เป็ นสมาชิก
→ เหลือให้เลือกแค่ 1, 2, 3, … , 8 (ทัง้ หมด 8 ตัว) เลือกมา 4 ตัว จะเลือกได้ (84) แบบ
8∙7∙6∙5
𝑛(𝐸) (84) 5
จะได้ความน่าจะเป็ น = 𝑛(𝑆)
=
(94)
= 4∙3∙2∙1
9∙8∙7∙6 = 9
4∙3∙2∙1

9. ความน่าจะเป็ นที่ดวงพรจะไปดูหนังและไปซือ้ ของในวันอาทิตย์เป็ น 0.7 และ 0.6 ตามลาดับ ถ้าดวงพรจะทา


กิจกรรมอย่างน้อย 1 อย่างแน่นอน แล้วความน่าจะเป็ นที่ดวงพรจะทากิจกรรมทัง้ 2 อย่างเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.4 5. 0.5
ตอบ 3
จากโจทย์ จะได้ 𝑃(ดูหนัง) = 0.7 และ 𝑃 (ซือ้ ของ) = 0.6
ทาอย่างน้อย 1 อย่างแน่นอน แสดงว่า 𝑃 (ดูหนัง หรือ ซือ้ ของ) = 1
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

ใช้สตู ร Inclusive – Exclusive : 𝑃(𝐴 ∪ 𝐵) = 𝑃(𝐴) + 𝑃(𝐵) − 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵)


จะได้ 𝑃 (ดูหนัง หรือ ซือ้ ของ) = 𝑃(ดูหนัง) + 𝑃 (ซือ้ ของ) − 𝑃 (ดูหนัง และ ซือ้ ของ)
1 = 0.7 + 0.6 − 𝑃 (ดูหนัง และ ซือ้ ของ)
ดังนัน้ 𝑃 (ดูหนัง และ ซือ้ ของ) = 0.3

(3+2𝑛)13 (5+𝑛)2
10. ถ้าลาดับ 𝑎𝑛 = (1−2𝑛)15
แล้ว nlim

𝑎𝑛 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1
1. −1 2.−2 3. −4 4. 0 5. 2
ตอบ 3
จัดรูป 𝑎𝑛 โดยดึง 𝑛 จากทัง้ เศษและส่วนออกมาตัดกัน
13 2
3 5
(3+2𝑛)13 (5+𝑛)2 (𝑛( + 2)) (𝑛( + 1))
𝑛 𝑛
(1−2𝑛)15
= 15
1
(𝑛( − 2))
𝑛

3 13 5 2
𝑛13 ( + 2) 𝑛2 ( + 1)
𝑛 𝑛
= 1 15
𝑛15 ( − 2)
𝑛
3 13 5 2
( + 2) ( + 1) (0+2)13 (0+1)2 213 1
= 𝑛
1
𝑛
15 → ดังนัน้ nlim

𝑎𝑛 = (0−2)15
= −215
= −4
( − 2)
𝑛

𝑧̅ −1
11. ถ้า 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้อน ซึง่ สอดคล้องกับสมการ 𝑧+|
𝑧−1
| = −3 + 2𝑖
แล้ว |𝑧| มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. √10 3. √13
4. 2√5 5. 4
ตอบ 4
𝑧̅ −1
𝑧+| | = −3 + 2𝑖
𝑧−1
̅
สังยุคของจานวนจริง จะได้เท่าเดิม → 1̅ = 1
𝑧̅ −1
𝑧+| | = −3 + 2𝑖
𝑧−1
̅̅̅̅̅̅
ดึงสังยุคออกนอกการลบ
𝑧−1
𝑧+| | = −3 + 2𝑖
𝑧−1
กระจายค่าสัมบูรณ์ในการคูณ
| ̅̅̅̅̅̅
𝑧−1 |
𝑧+ = −3 + 2𝑖
| 𝑧−1 | จากสมมบัติของค่าสัมบูรณ์ จะได้ | ̅̅̅̅̅̅̅
𝑧−1|=|𝑧−1|
𝑧+ 1 = −3 + 2𝑖
𝑧 = −4 + 2𝑖
จะได้ |𝑧| = √(−4)2 + 22 = √20 = 2√5
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 15

12. ให้ 𝐴 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนเต็มที่อยูใ่ นช่วง [−10, 10] } 𝐵 = { 𝑥 | (𝑥 + 5)(|𝑥| − 5) ≥ −9 }


จานวนสมาชิกของ 𝐴 ∩ 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 7 2. 14 3. 16 4. 18 5. 21
ตอบ 2
𝑥 , 𝑥≥0
แก้หา 𝐵 → จะแบ่งกรณีให้รูเ้ ครือ่ งหมายของ 𝑥 เพื่อใช้สมบติ |𝑥| = {−𝑥 , 𝑥<0
ในการถอดค่าสัมบูรณ์
กรณี 𝑥 ≥ 0 : กรณี 𝑥 < 0 :
(𝑥 + 5)(|𝑥| − 5) ≥ −9 (𝑥 + 5)(|𝑥| − 5) ≥ −9
(𝑥 + 5)( 𝑥 − 5) ≥ −9 (𝑥 + 5)(−𝑥 − 5) ≥ −9
𝑥 2 − 25 ≥ −9 2
−𝑥 − 5𝑥 − 5𝑥 − 25 ≥ −9
𝑥 2 − 16 ≥ 0 0 ≥ 𝑥 2 + 10𝑥 + 16
(𝑥 + 4)(𝑥 − 4) ≥ 0 0 ≥ (𝑥 + 8)(𝑥 + 2)

+ − + + − +
−4 4 −8 −2
กรณีนคี ้ ือ 𝑥 ≥ 0 → จะเหลือคาตอบคือ [4, ∞) กรณีนคี ้ ือ 𝑥<0 → จะได้คาตอบคือ [−8, −2]
รวมสองกรณี จะได้ 𝐵 = [−8, −2] ∪ [4, ∞)

𝐴∩𝐵 = เอา 𝐵 เฉพาะที่อยูใ่ นช่วง [−10, 10] → [−8, −2] จะมี 7 ตัว
→ [4, 10] จะมี 7 ตัว รวม 14 ตัว

13. กาหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก 𝑛 โดยที่ 𝑛 หาร 3,399 แล้วเหลือเศษ 24


จานวนสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11
ตอบ 5
แสดงว่า ถ้าเอา 3399 มาหักเศษ 24 ออก ผลที่เหลือจะต้องหารด้วย 𝑛 ลงตัว
นั่นคือ 𝑛 ต้องหาร 3399 – 24 = 3375 ลงตัว
เนื่องจาก 3375 แยกตัวประกอบได้เป็ น 33 ∙ 53 ดังนัน้ 𝑛 ต้องอยูใ่ นรูป 3𝑎 ∙ 5𝑏 เมื่อ 𝑎, 𝑏 ∈ {0, 1, 2, 3}
จะเห็นว่าเลือก 𝑎 และ 𝑏 ได้ตวั ละ 4 แบบ (คือ 0 ถึง 3) ดังนัน้ จะมี 3𝑎 ∙ 5𝑏 ได้ทงั้ หมด 4 × 4 = 16 แบบ
นอกจากนี ้ จะเห็นว่า 𝑛 ต้องมากกว่า 24 ด้วย (ไม่งนั้ 𝑛 จะหารแล้วเหลือเศษ 24 ไม่ได้)
ดังนัน้ ต้องหัก 3𝑎 ∙ 5𝑏 ที่ ≤ 24 ออกด้วย ซึง่ จะมี 30 ∙ 50 = 1 , 31 ∙ 50 = 3 , 32 ∙ 50 = 9
30 ∙ 51 = 5 , 31 ∙ 51 = 15
ทัง้ หมด 5 แบบ → เหลือจานวนแบบ = 16 − 5 = 11 แบบ
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

14. ไฮเพอร์โบลารูปหนึง่ มีโฟกัสอยูท่ จี่ ดุ (−7, 1) และ (5, 1) ถ้าเส้นกากับเส้นหนึง่ ของไฮเพอร์โบลานี ้ ขนานกับ
เส้นตรง √2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0 แล้วสมการของไฮเพอร์โบลาคือข้อใดต่อไปนี ้
(𝑥+1)2 (𝑦−1)2 (𝑥+1)2 (𝑦−1)2 (𝑥−1)2 (𝑦+1)2
1. 24

12
=1 2. 12

24
=1 3. 12

24
=1
(𝑦−1)2 (𝑦+1)2
4. (𝑥 + 1)2 −
2
=1 5. (𝑥 − 1)2 −
2
=1
ตอบ 2
จุดโฟกัสเรียงตัวในแนวนอน → เป็ นไฮเพอร์โบลาแนวนอน ดังรูป
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2
จะได้รูปสมการคือ 𝑎2 − 𝑏2
=1 𝐹1 (−7, 1) 𝐹2 (5, 1)

จะได้ระยะโฟกัส 𝑐 = 5−(−7)
2
= 6 แทนในสูตร 𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑏 2
62 = 𝑎2 + 𝑏 2 …(1)
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2
โจทย์ให้เส้นกากับเส้นหนึง่ ของไฮเพอร์โบลา 𝑎2
− 𝑏2
= 1 ขนานกับเส้นตรง √2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2 √2𝑥 +5 = 𝑦
จะได้เส้นกากับคือ 𝑎2
− 𝑏2
= 0
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2 ความชัน = √2
=
𝑎2 𝑏2
𝑏2
(𝑥 − ℎ)2 = (𝑦 − 𝑘)2
𝑎2
𝑏
± (𝑥 − ℎ) = 𝑦−𝑘
𝑎
𝑏
ความชัน = 𝑎𝑏 , − 𝑎𝑏 → ขนานกัน ความชันจะเท่ากัน → 𝑎
= √2
𝑏 2
= 2
𝑎2
𝑏 = 2𝑎2 …(2)
2

แทน (2) ใน (1) จะได้ 62 = 𝑎2 + 2𝑎2


36 = 3𝑎2
12 = 𝑎2 → แทนใน (2) จะได้ 𝑏2 = 2(12) = 24
−7+5 1+1
และ จุดศูนย์กลางต้องอยูต่ รงกลางระหว่างจุดโฟกัสทัง้ สอง จะได้จดุ ศูนย์กลาง (ℎ, 𝑘) = ( 2
, 2 ) = (−1, 1)
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2 (𝑥+1)2 (𝑦−1)2
แทน 𝑎2 , 𝑏 2 , ℎ , 𝑘 ใน 𝑎2
− 𝑏2
=1 จะได้สมการไฮเพอร์โบลาคือ 12
− 24
= 1

15. กาหนดรูปสีเ่ หลีย่ ม ABCD ดังรูป


C
โดยมีดา้ น BC, AC และ AD ยาวเท่ากับ 5, 7 และ 8 หน่วยตามลาดับ
มี BÂD = 90° และ CB̂A = 120°
5
พืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม ACD เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 22 ตารางหน่วย B 120°
7

2. 24 ตารางหน่วย
3. 28 ตารางหน่วย
4. 28√2 ตารางหน่วย A 8 D

5. 28√3 ตารางหน่วย
ตอบ 1
ใช้กฎของ cos กับ ∆ABC เพื่อหา BA → ถ้าให้ BA = 𝑥 จะได้ 72 = 𝑥 2 + 52 − 2(𝑥)(5) cos 120°
1
49 = 𝑥 2 + 25 − 10𝑥 (− 2)
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 17

0 = 𝑥 2 + 5𝑥 − 24
0 = (𝑥 − 3)(𝑥 + 8)
𝑥 = 3 , −8 (ความยาว เป็ นลบไม่ได้)

ลากเส้นประเพิ่มดังรูป จะได้ EF = BA = 3 C
และจะได้ CB̂E เหลือ 120° − 90° = 30°
CE
ใน ∆CBE จะได้ sin 30° = BC 5
1 CE 7
2
= 5 B 30° E
2.5 = CE
จะได้ CF = CE + EF = 2.5 + 3 = 5.5 3

ดังนัน้ พืน้ ที่ ∆ACD = 12 × AD × CF A F D


1 8
= 2
× 8 × 5.5 = 22

16. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑣̅ = (sin 80° + sin 20°)𝑖⃗ + 𝑎𝑗⃗ + 𝑏𝑘⃑⃗
และ |𝑣̅ × 𝑖⃗| = sin 70° + sin 10° แล้ว |𝑣̅ |2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 2. 3 3. 5 4. 6 5. 7
ตอบ 2
ใช้สตู ร sin 𝐴 + sin 𝐵 = 2 sin 𝐴+𝐵2
𝐴−𝐵
cos 2 จัดรู ปผลบวกของ sin ในโจทย์ก่อน ดังนี ้
80°+20° 80°−20° 70°+10° 70°−10°
sin 80° + sin 20° = 2 sin 2 cos 2 sin 70° + sin 10° = 2 sin cos
2 2
= 2 sin 50° cos 30° = 2 sin 40° cos 30°
√3 √3
= 2 sin 50° = 2 sin 40° 2
2
= √3 sin 50° = √3 sin 40°

ดังนัน้ 𝑣̅ = (√3 sin 50°)𝑖⃗ + 𝑎𝑗⃗ + 𝑏𝑘⃑⃗ และ |𝑣̅ × 𝑖⃗| = √3 sin 40°
|𝑣̅ ||𝑖⃗| sin 𝜃 = √3 sin 40° |𝑢̅ × 𝑣̅ | = |𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃
|𝑣̅ | sin 𝜃 = √3 sin 40° 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃
|𝑣̅ |2 sin2 𝜃 = 3 sin2 40° …(1)
จะเห็นว่า ถ้ามี |𝑣̅ |2 cos2 𝜃 อีกตัวมาบวก จะดึง |𝑣̅ |2 แล้วใช้สตู ร sin2 𝜃 + cos2 𝜃 = 1 เพื่อหาสิง่ ที่โจทย์ถามได้
ซึง่ เราหา |𝑣̅ |2 cos 2 𝜃 ได้จากการดอท → 𝑣̅ ∙ 𝑖⃗ = |𝑣̅ ||𝑖⃗| cos 𝜃 = |𝑣̅ | cos 𝜃
√3 sin 50° 1
[ 𝑎 ] ∙ [0] = |𝑣̅ | cos 𝜃
𝑏 0
√3 sin 50° = |𝑣̅ | cos 𝜃
3 sin2 50° = |𝑣̅ |2 cos2 𝜃 …(2)

เอา (1) + (2) จะได้ |𝑣̅ |2 sin2 𝜃 + |𝑣̅ |2 cos 2 𝜃 = 3 sin2 40° + 3 sin2 50° โคฟังก์ชนั
|𝑣̅ |2 (sin2 𝜃 + cos2 𝜃) = 3(sin2 40° + cos2 40°)
2 sin2 𝜃 + cos 2 𝜃 = 1
|𝑣̅ | = 3
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

17. ผลบวกของคาตอบทัง้ หมดของสมการ (log 100𝑥)2 + 2 log100 𝑥 + 2 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


11 101 11
1. 1000 2. 1000 3. 100
4. 101 5. 110
ตอบ 1
(log 100𝑥)2 + 2 log100 𝑥 + 2 = 0 log 𝑀𝑁 = log 𝑀 + log 𝑁
(log 100 + log 𝑥)2 + 2 log100 𝑥 + 2 = 0
(log 102 + log 𝑥)2 + 2 log102 𝑥 + 2 = 0 𝑁
2 log 𝑎𝑏 𝑀𝑁 = log 𝑎 𝑀
(2 log 10 + log 𝑥)2 + log10 𝑥 + 2 = 0 𝑏
2 log ไม่มีฐาน คือ ฐาน = 10
(2 + log 𝑥)2 + log 𝑥 + 2 = 0
2 เปลี่ยนตัวแปร ให้ 2 + log 𝑥 = 𝐴
𝐴 + 𝐴 = 0
𝐴(𝐴 + 1) = 0
𝐴 = 0 , −1
2 + log 𝑥 = 0 , −1
log 𝑥 = −2 , −3
𝑥 = 10−2 , 10−3
1 1 10 + 1 11
จะได้ผลบวกคาตอบ = 10−2 + 10−3 = 100
+ 1000 = 1000
= 1000

𝑎 2 1 𝑥 3
18. กาหนดระบบสมการ 𝐴𝑋 = 𝐵 เมื่อ
𝐴 = [𝑏 0 −1] , 𝑋 = [𝑦] และ 𝐵 = [ 3 ]
𝑐 2 −2 𝑧 −4
𝑎 2 1 3 1 2 1 3
ถ้า [𝑏 0 −1 3 ] ~ [0 1 0 −3] แล้ว det(𝐴) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
𝑐 2 −2 −4 0 0 1 5
1. −8 2. −4 3. −1 4. 4 5. 8
ตอบ 5
1 2 1 3 𝑥 + 2𝑦 + 𝑧 = 3 …(1)
แปลง [0 1 0 −3] กลับเป็ นระบบสมการ จะได้ 𝑦 = −3 …(2)
0 0 1 5 𝑧 = 5 …(3)
แทน (2), (3) ใน (1) : 𝑥 + 2(−3) + 5 = 3
𝑥 = 4
จะเอา 𝑥, 𝑦, 𝑧 ไปแทนใน แล้วหา 𝑎, 𝑏, 𝑐 ก็ได้ แต่ใช้กฎของเครเมอร์กบั ค่า 𝑥 จะหา det(𝐴) ได้โดยตรง
3 2 1
𝑎 2 1 3 |3 0 −1|
จาก [𝑏 0 −1 3 ] ใช้กฎของเครเมอร์ จะได้ 𝑥 = −4
𝑎
2 −2
2 1
𝑐 2 −2 −4 |𝑏 0 −1|
𝑐 2 −2

0+8+6−0+6+12
4 = det(𝐴)
32
det(𝐴) = 4
= 8
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 19

19. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎9 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มีผลต่างร่วม 𝑑 > 0


และ 𝑏1 , 𝑏2 , 𝑏3 , … , 𝑏9 เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มีอตั ราส่วนร่วม 𝑟 > 0
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
𝑎1 𝑎2 𝑎3 𝑏1 𝑏2 𝑏3
ก. 𝑎
det [ 4 𝑎5 𝑎6 ] = 𝑑 ข. det [𝑏4 𝑏5 𝑏6 ] = 𝑟
𝑎7 𝑎8 𝑎9 𝑏7 𝑏8 𝑏9
2𝑎 1 2𝑎 2 2𝑎 3 𝑏12 𝑏22 𝑏32
ค. det [2𝑎4 2𝑎 5 2𝑎 6 ] = 2𝑑 ง. det [𝑏42 𝑏52 𝑏62 ] = 𝑟 2
2𝑎 7 2𝑎 8 2𝑎 9 𝑏72 𝑏82 𝑏92
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 1
ลาดับเลขคณิต พจน์ที่ติดกัน จะห่างกัน = 𝑑 สองหลักเหมือนกัน → det = 0
𝑎1 𝑎2 𝑎3 𝑎1 𝑎2 𝑑 𝑎1 𝑑 𝑑
ก. 𝑎
| 4 𝑎5 𝑎6 | 𝐶3 − 𝐶2 |𝑎4 𝑎5 𝑑| 𝐶2 − 𝐶1 |𝑎4 𝑑 𝑑| = 0 → ก. ผิด
𝑎7 𝑎8 𝑎9 = =
𝑎7 𝑎8 𝑑 𝑎7 𝑑 𝑑

ลาดับเรขาคณิต พจน์ที่ติดกัน จะคูณเพิ่มทีละ 𝑟 สองแถวเหมือนกัน → det = 0


𝑏1 𝑏2 𝑏3 𝑏1 𝑏1 𝑟 𝑏1 𝑟 2 1 𝑟 𝑟2
ข. |𝑏4 𝑏5 𝑏6 | = |𝑏4 𝑏4 𝑟 𝑏4 𝑟 2 | = 𝑏1 𝑏4 | 1 𝑟 𝑟2| = 0 → ข. ผิด
𝑏7 𝑏8 𝑏9 𝑏7 𝑏8 𝑏9 𝑏7 𝑏8 𝑏9

ดึง 𝑏1 ออกจากแถว 1 , ดึง 𝑏4 ออกจากแถว 2

ค. 2𝑎 1 , 2𝑎 2 , 2𝑎 3 , 2 𝑎 4 , … คือ 2𝑎1 , 2𝑎1 +𝑑 , 2𝑎1 +2𝑑 , 2𝑎1 +3𝑑 , …


คือ 2𝑎1 , 2𝑎1 ∙ 2𝑑 , 2𝑎1 ∙ 22𝑑 , 2𝑎1 ∙ 23𝑑 , …
→ เป็ นลาดับเรขาคณิต (คูณเพิม่ ทีละ 2𝑑 )
2𝑎 1 2𝑎 2 2𝑎 3
ซึง่ จากข้อ ข. ถ้าเอาลาดับเรขาคณิตมาใส่เมทริกซ์ จะได้ det = 0 ดังนัน้ |2𝑎4 2𝑎 5 2𝑎 6 | = 0 → ค. ผิด
2𝑎 7 2𝑎 8 2𝑎 9
ง. 𝑏12 , 𝑏22 , 𝑏32 , 𝑏42 , … คือ 𝑏12 , (𝑏1 𝑟)2 , (𝑏1 𝑟 2 )2 , (𝑏1 𝑟 3 )2 , …
คือ 𝑏12 , 𝑏12 𝑟 2 , 𝑏12 𝑟 4 , 𝑏12 𝑟 6 , …
→ เป็ นลาดับเรขาคณิต (คูณเพิม่ ทีละ 𝑟 2)
𝑏12 𝑏22 𝑏32
ซึง่ จากข้อ ข. ถ้าเอาลาดับเรขาคณิตมาใส่เมทริกซ์ จะได้ det = 0 ดังนัน้ |𝑏42 𝑏52 𝑏62 | = 0 → ง. ผิด
𝑏72 𝑏82 𝑏92
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

20. กาหนดให้ 𝐴 = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 } 𝐵 = { 3, 4, 5, 6 }
จานวนสับเซต 𝐶 ของ 𝐴 ซึง่ 𝐶 ∩ 𝐵 มีสมาชิก 2 ตัว เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 32 2. 48 3. 64 4. 80 5. 96
ตอบ 5
𝐶 ∩ 𝐵 มีสมาชิก 2 ตัว → แสดงว่า ต้องเลือก 2 ตัวจาก 4 ตัวใน 𝐵 = { 3, 4, 5, 6 } มาไว้ใน 𝐶
→ เลือกได้ (42) แบบ
และเนื่องจาก 𝐶 ⊂ 𝐴 ดังนัน้ สมาชิกส่วนที่เหลือของ 𝐶 ต้องมาจาก 𝐴 เท่านัน้
ที่เหลือใน 𝐴 คือ 1, 2, 7, 8 มี 4 ตัว → แต่ละตัวเลือก เอา หรือ ไม่เอา ให้ 𝐶 ได้ตวั ละ 2 แบบ
→ เลือกได้ 24 แบบ
ดังนัน้ จานวนแบบของ 𝐶 คือ (42) × 24 = 42∙ 3 × 16 = 96

21. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ มีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน


มาตรฐานเท่ากับ 60 และ 10 คะแนน ตามลาดับ ถ้านักเรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 70 คะแนน มี 84.13%
แล้วนักเรียนที่สอบได้ 50 คะแนน จะมีตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 15.87 2. 24.13 3. 34.13
4. 47.61 5. 50
ตอบ 1
ใช้สตู ร 𝑧𝑖 = 𝑥𝑖 𝑠− 𝑥̅ แปลง 70 คะแนน เป็ นค่ามาตรฐาน = 0.8413 – 0.5
= 0.3413
จะได้ 𝑧 = 7010 − 60
= 1
โจทย์ให้ น้อยกว่า 70 คะแนน มี 84.13% 0.8413
แสดงว่า พืน้ ที่ทางซ้าย 𝑧 = 1 คือ 0.8413 1 1
จะได้ พืน้ ที่จากแกนกลางถึง 𝑧 = 1 คือ 0.8413 − 0.5 = 0.3413 ดังรูป
แปลง 50 คะแนนเป็ นค่ามาตรฐาน จะได้ 𝑧 = 5010 − 60
= −1
0.3413
= 0.5 − 0.3413 จากความสมมาตร จะได้พนื ้ ที่จากแกนกลางถึง 𝑧 = −1 คือ 0.3413 ด้วย
= 0.1587
ดังนัน้ จะเหลือพืน้ ที่ทางซ้าย = 0.5 − 0.3413 = 0.1587
−1
ดังนัน้ จะมี 15.87% ได้นอ้ ยกว่า 50 คะแนน → ตรงกับ 𝑃15.87
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 21

22. ตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน เป็ นดังนี ้


ช่วงคะแนน ความถี่
1–5 4
6 – 10 𝑎
11 – 15 6
16 – 20 𝑏
21 – 25 10
26 – 30 4

ถ้าข้อมูลชุดนีม้ มี ธั ยฐานเท่ากับ 17.5 คะแนน แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 16.50 คะแนน 2. 16.75 คะแนน 3. 17.25 คะแนน
4. 17.50 คะแนน 5. 17.75 คะแนน
ตอบ 1
สร้างช่องความถี่สะสมดังรูป
ช่วงคะแนน ความถี่ ความถี่สะสม
โจทย์ให้จานวนนักเรียน = 40 คน → 24 + 𝑎 + 𝑏 = 40
𝑎 = 16 − 𝑏 …(∗) 1–5 4 4
6 – 10 𝑎 4+𝑎
มัธยฐาน = 17.5 อยูใ่ นช่วง 16 – 20 จะได้ 𝐿 = 15.5 11 – 15 6 10 + 𝑎
𝐼 = 20.5 – 15.5 = 5 16 – 20 𝑏 10 + 𝑎 + 𝑏
𝑓𝑀𝑒𝑑 = 𝑏 21 – 25 10 20 + 𝑎 + 𝑏
26 – 30 4 24 + 𝑎 + 𝑏
𝐹𝐿 = 10 + 𝑎
𝑁
− 𝐹𝐿
จากสูตรมัธยฐาน Med = 𝐿 + ( 2𝑓 )𝐼
𝑀𝑒𝑑
40
− (10+𝑎)
17.5 = 15.5 + ( 2 𝑏
) (5)
จาก (∗)
20 − (10+16−𝑏)
2 = ( 𝑏
) (5)
2𝑏 = (20 − 26 + 𝑏)(5)
2𝑏 = −30 + 5𝑏
30 = 3𝑏
10 = 𝑏 → แทนใน (∗) : 𝑎 = 16 − 10 = 6
หา 𝑥̅ → ประมาณแต่ละชัน้ ด้วยจุดกึง่ กลางชัน้
ช่วงคะแนน ความถี่ (𝑓𝑖 ) จุดกึ่งกลางชัน้ (𝑥𝑖 ) 𝑓𝑖 𝑥𝑖
1–5 4 3 12
6 – 10 6 8 48
11 – 15 6 13 78
16 – 20 10 18 180
21 – 25 10 23 230
26 – 30 4 28 112 ∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖 660
660 จะได้ 𝑥̅ = 𝑁
= 40
= 16.5
22 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

23. ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีกราฟดังรูป Y


พืน้ ที่ 16 ตารางหน่วย
3
พืน้ ที่ 6 ตารางหน่วย
แล้ว  (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
0

1. 6 2. 10
X
3. 12 4. 16 0 1 3
𝑦 = 𝑓(𝑥)
5. 32
ตอบ 3
𝑎 , 𝑎≥0
แบ่งการอินทิเกรตเป็ นช่วง เพื่อให้รูเ้ ครือ่ งหมายบวกลบ แล้วใช้สมบัติ |𝑎| = {
−𝑎 , 𝑎<0
ถอดค่าสัมบูรณ์
3 1 3
 (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 =  ( |𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 +  (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥
0 0 1

จากกราฟ ช่วง (0, 1) → 𝑓(𝑥) เป็ นลบ ช่วง (1, 3) → 𝑓(𝑥) เป็ นบวก
ดังนัน้ |𝑓(𝑥)| = −𝑓(𝑥) ดังนัน้ |𝑓(𝑥)| = 𝑓(𝑥)
1 3
=  (−𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 +  ( 𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥
0 1
1 3
=  −2𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  0 𝑑𝑥
0 1
1

จากกราฟ (พืน้ ที่ใต้ = −2  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 + 0


0
แกน X จะเป็ นลบ) = −2 (−6) = 12

24. ถ้า 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม และกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกราฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5
5
แล้ว  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2

1. 94 2. 104 3. 158 4. 258 5. 264


ตอบ 4
โจทย์ให้กราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกราฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5

ที่ 𝑥=2 จะได้ 𝑦 = 3(2) − 4 = 2 แสดงว่า 𝑓(2) = 2


ที่ 𝑥=5 จะได้ 𝑦 = 3(5) − 4 = 11 และ 𝑓(5) = 11 ด้วย …(∗)

พิจารณาค่าที่โจทย์ถาม จะเห็นว่ามี 2𝑥 และ 𝑥 2 − 1 → ถ้าให้ 𝑢 = 𝑥2 − 1 จะได้ 𝑢′ = 2𝑥


ให้ 𝑣 = 𝑓(𝑥) จะได้ 2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′(𝑥) = (𝑢′ )(𝑣) + (𝑢)(𝑣 ′ )
สูตรดิฟผลคูณ
= (𝑢𝑣)′
5
5
ดังนัน้  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 = 𝑢𝑣 |
2 2
5
= (𝑥 2 − 1)𝑓(𝑥) |
2
= (52 − 1)𝑓(5) − − 1)𝑓(2) (22
จาก (∗)
= (24) (11) − (3) (2)
= 258
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 23

25. กาหนดให้ 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 2 และผลต่างร่วมเท่ากับ − 29


ถ้า 𝑏𝑛 = 2𝑎𝑛 แล้วจานวนเต็มบวก 𝑚 ที่นอ้ ยที่สดุ ที่ทาให้ 𝑏1 ∙ 𝑏2 ∙ 𝑏3 ∙ … ∙ 𝑏𝑚 ≥ 1024 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11
ตอบ 3
𝑏1 ∙ 𝑏2 ∙ 𝑏3 ∙ … ∙ 𝑏𝑚 ≥ 1024
จาก 𝑏𝑛 = 2𝑎𝑛
2𝑎 1 ∙ 2𝑎 2 ∙ 2𝑎 3 ∙ … ∙ 2𝑎 𝑚 ≥ 1024
ฐาน 2 เหมือนกัน คูณกัน → เอาเลขชีก้ าลังมาบวกกัน
2𝑎1 +𝑎2 +𝑎3 + … +𝑎𝑚 ≥ 210
ตัดฐาน 2 ทัง้ สองข้าง (ฐาน > 1 → ไม่ตอ้ งกลับ มากกว่า ↔ น้อยกว่า)
𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎𝑚 ≥ 10
𝑚 จากสูตรอนุกรมเลขคณิต
(2𝑎1 + (𝑚 − 1)𝑑) ≥ 10
2
𝑚 2
โจทย์ให้ 𝑎1 = 2 , 𝑑 = − 29
2
(2(2) + (𝑚 − 1) (− 9)) ≥ 10
𝑚2 −𝑚
2𝑚 − 9 ≥ 10
18𝑚 − (𝑚2 − 𝑚) ≥ 90
0 ≥ 𝑚2 − 19𝑚 + 90
0 ≥ (𝑚 − 9)(𝑚 − 10)

+ − + จะได้ 𝑚 ∈ [9, 10]


9 10 → จานวนเต็มบวก 𝑚 น้อยสุด = 9

211
26. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นอนุกรมเรขาคณิต ถ้า 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 = 9
 11
และ  𝑎𝑖 = 27 แล้วจานวนจริง 𝑥 ซึง่ ทาให้  |𝑎𝑖 − 𝑥| มีคา่ น้อยที่สดุ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
i 1 i 1
64 16 32 64
1. 81
2. 1 3. 9
4. 27
5. 27
ตอบ 4

𝑎1
จากสูตรอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ จะได้  𝑎𝑖 = 1−𝑟
= 27 …(∗)
i 1

และจากสูตรอนุกรมเรขาคณิต จะได้
𝑎1 (1−𝑟 5 ) 211
𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 = =
1−𝑟 9 จาก (∗)
211
27(1 − 𝑟 5 ) =
9
211
1 − 𝑟5 = 243
32 5
243
= 𝑟
2 𝑎1
3
= 𝑟 → แทนใน (∗) จะได้ 1−
2 = 27
3
2
𝑎1 = 27(1 − 3) = 9
11
จากสมบัติของค่ากลางในเรือ่ งสถิติ  |𝑎𝑖 − 𝑥| จะมีคา่ น้อยที่สดุ เมือ่ 𝑥 = มัธยฐานของข้อมูล 𝑎1 , 𝑎2 , … , 𝑎11
i 1
𝑁+1 11+1
มีขอ้ มูล 11 ตัว → มัธยฐานอยูต่ วั ที่ 2
=
2
= 6 → มัธยฐาน = 𝑎6
2 5 25 32
ซึง่ จากสูตรลาดับเรขาคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1 จะได้ 𝑎6 = 𝑎1 𝑟 6−1 = 9 (3) = 33
= 27
24 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

27. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามดีกรีสาม ซึง่ มีคา่ วิกฤตที่ 𝑥 = 4 และ 𝑥 = −4 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. 𝑓 ′′(−4) ∙ 𝑓 ′′(4) < 0
ข. 𝑓(4√3) = 2𝑓(0)
ค. 𝑓(−4) + 𝑓(4) = 2𝑓(0)
ง. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑓(−2) , 𝑓(−1) , 𝑓(0) , 𝑓(1) , 𝑓(2) เท่ากับ 𝑓(0)
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 4
จาก 𝑓(𝑥) มีดีกรี 3 จะได้ 𝑓 ′(𝑥) มีดีกรี 2
ค่าวิกฤตเกิดที่ 𝑥 = 4 และ 𝑥 = −4 ดังนัน้ สมการ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 มีคาตอบคือ 4, −4
จะได้ 𝑓 ′(𝑥) ต้องอยูใ่ นรูป 𝑎(𝑥 + 4)(𝑥 − 4)
= 𝑎𝑥 2 − 16𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริงใดๆ ที่ 𝑎 ≠ 0
𝑎𝑥 3
ดิฟต่อจะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 อินทิเกรตจะได้ 𝑓(𝑥) = 3
− 16𝑎𝑥 + 𝑐
ก. 𝑓 ′′ (−4) ∙ 𝑓 ′′ (4) = 2𝑎(−4) ∙ 2𝑎(4) = −64𝑎2 < 0 → ก. ถูก
(เมื่อ 𝑎 ≠ 0 → 𝑎2 จะเป็ นบวกเสมอ)
3
𝑎(4√3) 𝑎(03 )
ข. 𝑓(4√3) = 3
− 16𝑎(4√3) + 𝑐 2𝑓(0) = 2 ( 3
− 16𝑎(0) + 𝑐)
= 64√3𝑎 − 64√3𝑎 + 𝑐 = 2( 𝑐)
= 𝑐 = 2𝑐
จะเห็นว่า 𝑐 ≠ 2𝑐 ดังนัน
้ 𝑓(4√3) ≠ 2𝑓(0) → ข. ผิด
𝑎(−4)3 𝑎(4)3
ค. 𝑓(−4) + 𝑓(4) = 3
− 16𝑎(−4) + 𝑐 + 3
− 16𝑎(4) + 𝑐 → ตัดกันเหลือ 𝑐 + 𝑐 = 2𝑐
เท่ากับ 2𝑓(0) ที่เคยทา
ตัดกันได้ ตัดกันได้
ในข้อ ข. → ค. ถูก
𝑓(−2) + 𝑓(−1) + 𝑓(0) + 𝑓(1) + 𝑓(2)
ง. ค่าเฉลีย่ = 5
𝑎𝑥 3
สังเกตว่า 𝑥 ทุกตัวที่อยูใ่ น 𝑓(𝑥) = 3 − 16𝑎𝑥 + 𝑐 ถูกยกกาลังคี่ (𝑥 3 , 𝑥 1 )
ดังนัน้ 𝑓(𝑘) กับ 𝑓(−𝑘) จะตัดกันได้เสมอ (เหมือนกับ 𝑓(−4) + 𝑓(4) ในข้อ ค.)
𝑎(−2)3 𝑎(2)3
𝑓(−2) + 𝑓(2) = 3
− 16𝑎(−2) + 𝑐 + 3
− 16𝑎(2) + 𝑐 → ตัดกันเหลือ 𝑐 + 𝑐 = 2𝑐
𝑎(−1)3 𝑎(1)3
𝑓(−1) + 𝑓(1) = 3
− 16𝑎(−1) + 𝑐 + 3
− 16𝑎(1) + 𝑐 → ตัดกันเหลือ 𝑐 + 𝑐 = 2𝑐
𝑎(03 )
และ 𝑓(0) = 3
− 16𝑎(0) + 𝑐 = 𝑐
𝑓(−2)+𝑓(−1)+𝑓(0)+𝑓(1)+𝑓(2) 𝑓(−2)+𝑓(2) + 𝑓(−1)+𝑓(1) + 𝑓(0)
ดังนัน้ 5
= 5
2𝑐 + 2𝑐 + 𝑐 5𝑐
= 5
= 5
= 𝑐 = 𝑓(0) → ง. ถูก
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 25

2 100
28. ถ้า 𝑆 เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก 𝑚 ที่ทาให้ 2100 −𝑚
เป็ นจานวนเต็มบวก
แล้วผลบวกของสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 99(299 ) 2. 100(299) + 1 3. 99(2100 ) + 1
4. 100(2100 ) 5. 101(2101 )
ตอบ 3
2100 − 𝑚 ต้องเป็ นตัวประกอบที่เป็ นบวก ของ 2100
ตัวประกอบทีเ่ ป็ นบวกของ 2100 จะมี 20 , 21 , 22 , … , 299 , 2100
ดังนัน้ 2100 − 𝑚 = 20 , 21 , 22 , … , 299 , 2100
𝑚 = 2100 − 20 , 2100 − 21 , 2100 − 22 , … , 2100 − 299 , 2100 − 2100
ใช้ไม่ได้ (𝑚 ต้องเป็ นบวก)
ดังนัน้ ผลบวก 𝑚 = (2100 − 20 ) + (2100 − 21 ) + (2100 − 22 ) + … + (2100 − 299 )
= 100(2100 ) − (20 + 21 + 22 + ⋯ + 299 ) 0, 1, … , 99 มี 100 ตัว
299 (2)−20
= 100(2100 ) − ( 2−1
)
𝑎𝑛 𝑟 − 𝑎1
= 100(2100 ) − (2100 − 1)
อนุกรมเรขาคณิต 𝑆𝑛 = 𝑟−1
= 100(2100 ) − 2100 + 1
= 99(2100 ) +1

5𝜋 5𝜋 𝑘
cos − 𝑖 sin
29. กาหนดให้ 𝐴 = { 1, 2, 3, … , 99, 100 } และ 𝐵={𝑘∈𝐴| ( 8
3𝜋
cos − 𝑖 sin
8
3𝜋 ) = 𝑖 } โดยที่ 𝑖 2 = −1
4 4
จานวนสมาชิกของ 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 7 3. 9 4. 11 5. 13
ตอบ 2
จัดรูปให้เป็ นเชิงขัว้ ก่อน sin(−𝜃) = − sin 𝜃
เปลี่ยนให้เครือ่ งหมายตรงกลางเป็ นบวก เปลี่ยนมุมให้ตรงกับมุมของ sin cos(−𝜃) = cos 𝜃
5𝜋 5𝜋 5𝜋 5𝜋 5𝜋 5𝜋 5𝜋
cos 8
− 𝑖 sin 8
= cos 8
+ 𝑖 sin (− 8
) = cos (− 8
)+ 𝑖 sin (− 8
) = cis (− 8
)
3𝜋 3𝜋 3𝜋 3𝜋 3𝜋 3𝜋 3𝜋
cos 4 − 𝑖 sin 4 = cos 4 + 𝑖 sin (− 4 ) = cos (− 4 ) + 𝑖 sin (− 4 ) = cis (− 4 )
5𝜋 5𝜋 5𝜋
cos − 𝑖 sin cis(− ) 5𝜋 3𝜋 −5𝜋 + 6𝜋 𝜋
ดังนัน้ 8
3𝜋
cos − 𝑖 sin
8
3𝜋 = 8
3𝜋 = cis (− 8
− (− 4
)) = cis ( 8
) = cis 8
4 4
cis(− )
4

𝜋 𝑘
แทนในสมการเงื่อนไขของ 𝐵 จะได้ (cis 8 ) = 𝑖 𝑖
𝑘𝜋 𝜋
cis 8
= cis 2
𝑘𝜋 𝜋
8
= 2𝑛𝜋 + 2 ; เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็ม
𝑘 = 16𝑛 + 4
เงื่อนไขของ 𝐵 คือ 𝑘∈𝐴 ดังนัน้ 1 ≤ 16𝑛 + 4 ≤ 100
3 96
− 16 ≤ 𝑛 ≤ 16


3
16
≤ 𝑛 ≤ 6 → 𝑛 = 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 → มีทงั้ หมด 7 จานวน
26 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59)

0 1 𝑎 𝑏
30. กาหนดให้ 𝑆 = { −2 , −1 , 0 , 1 , 2 } 𝐴=[
−1 1
] 𝑊={[ ] | 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ 𝑆}
𝑐 𝑑
ถ้าสุม่ เมทริกซ์จากเซต 𝑊 มา 1 เมทริกซ์ แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้เมทริกซ์ 𝐵 ซึง่ 𝐴𝐵 = 𝐵𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
17 19 21 23 25
1. 625 2. 625 3. 625
4. 625
5. 625
ตอบ 2
𝑎 𝑏 0 1 𝑎 𝑏 𝑎 𝑏 0 1
ให้ 𝐵=[ ] แทนในเงื่อนไจ 𝐴𝐵 = 𝐵𝐴 จะได้ [ ][
−1 1 𝑐 𝑑
] = [ ][ ]
𝑐 𝑑 𝑐 𝑑 −1 1
𝑐 𝑑 −𝑏 𝑎 + 𝑏
[ ]= [ ]
−𝑎 + 𝑐 −𝑏 + 𝑑 −𝑑 𝑐 + 𝑑

เทียบสมาชิกตาแหน่งต่อตาแหน่ง จะได้ระบบสมการ 𝑐 = −𝑏 …(1)


𝑑 = 𝑎+𝑏 …(2)
−𝑎 + 𝑐 = −𝑑 …(3)
−𝑏 + 𝑑 = 𝑐+𝑑 …(4)
จะเห็นว่า (3) ซา้ กับ (1) และ (2) (แทน 𝑐 = −𝑏 จาก (1) ลงใน (3) จะได้ −𝑎 − 𝑏 = −𝑑
𝑎+𝑏 = 𝑑 → ซา้ กับ (2) )
และ (4) ซา้ กับ (1) (เอา (4) มาตัด 𝑑 ทัง้ สองข้าง จะได้เหมือน (1) )
ดังนัน้ สนใจแค่ (1) และ (2) ก็พอ เพราะถ้า (1) กับ (2) จริง จะทาให้ (3) และ (4) จริงโดยอัตโนมัติ
และจาก 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ {−2, −1, 0, 1, 2} จะได้ 𝑎, 𝑏, 𝑐. 𝑑 ที่สอดคล้องกับ (1) และ (2) ดังนี ้
กรณี 𝑏 = −2 : จาก (1) จะได้ 𝑐 = 2 และจาก (2) จะได้ 𝑑 = 𝑎 − 2
−2 = 0 − 2
−1 = 1 − 2 3 แบบ
0 = 2−2

กรณี 𝑏 = −1 : → 𝑐=1 และ 𝑑 = 𝑎−1 กรณี 𝑏 = 0 : → 𝑐=0 และ 𝑑 = 𝑎


−2 = −1 − 1 −2 = −2
−1 = 0−1 −1 = −1
4 แบบ 5 แบบ
0 = 1−1 0 = 0
1 = 2−1 1 = 1
2 = 2
กรณี 𝑏 = 1 : → 𝑐 = −1 และ 𝑑 = 𝑎+1 กรณี 𝑏 = 2 : → 𝑐 = −2 และ 𝑑 = 𝑎+2
−1 = −2 + 1 0 = −2 + 2
0 = −1 + 1 1 = −1 + 2 3 แบบ
4 แบบ
1 = 0+1 2 = 0+2
2 = 1+1
รวมทุกกรณี จะได้จานวนแบบ = 3 + 4 + 5 + 4 + 3 = 19 แบบ → 𝑛(𝐸) = 19
หาจานวนแบบทัง้ หมด 𝑛(𝑆) → 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 แต่ละตัวเป็ น −2, −1, 0, 1, 2 ได้ตวั ละ 5 แบบ
19
ดังนัน้ 𝑛(𝑆) = 54 = 625 → จะได้ความน่าจะเป็ น = 625
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 59) 27

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ และเฉลยคาตอบ จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค 081-8285490
และ คุณ Potae Kitti ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร
ขอบคุณ คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book สาหรับเฉลยข้อ 16.

You might also like