You are on page 1of 44

PAT 1 (ต.ค.

59) 1
27 Feb 2021

PAT 1 (ต.ค. 59)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1 ข้อ 1 - 30 ข้อละ 6 คะแนน


1. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็ นประพจน์ใดๆ พิจารณาประพจน์ตอ่ ไปนี ้
(ก) 𝑝 → [(𝑝 → 𝑞) → 𝑞] เป็ นสัจนิรนั ดร์
(ข) 𝑝 ↔ [(𝑝 ∧ (𝑞 → 𝑝)) → 𝑞] ไม่เป็ นสัจนิรนั ดร์
(ค) ถ้า (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑝) มีคา่ ความจริงเป็ น จริง
แล้ว [𝑝 → (𝑝 → 𝑞)] → (𝑝 ∧ 𝑞) มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

2. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ {1, 2, 3, 4} ให้ 𝑃(𝑥) คือ |𝑥 − 2| + |𝑥 − 3| = 1


𝑄(𝑥) คือ 𝑥(𝑥 + 1) > 1
และ 𝑅(𝑥) คือ √𝑥 − 1 < 𝑥 − 3
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี ้ มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
1. ∀𝑥[𝑃(𝑥)] → ∀𝑥[𝑄(𝑥)] 2. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] → ∃𝑥[𝑅(𝑥)]
3. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] ↔ ∀𝑥[~𝑅(𝑥)] 4. ∃𝑥[𝑅(𝑥)] → ∃𝑥[𝑃(𝑥)]
5. ∃𝑥[𝑄(𝑥) → 𝑃(𝑥)] ∨ ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
2 PAT 1 (ต.ค. 59)

3. กาหนดให้ 𝑃(𝑆) แทนเพาเวอร์เซตของเซต 𝑆 ให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเซตใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) (𝐴 ∩ 𝐵) ∪ 𝐶 = 𝐴 ∩ (𝐵 ∪ 𝐶) (ข) 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) ⊂ 𝑃(𝐴 − 𝐵)
(ค) 𝑃(𝑃(∅)) ⊂ 𝑃(𝑃(𝑃(∅))) เมื่อ ∅ แทนเซตว่าง
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

4. ให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริง พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้า 𝑎 > 𝑏 และ 𝑐 > 𝑑 แล้ว 𝑎𝑐 > 𝑏𝑑
(ข) ถ้า 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 < 0 แล้ว |𝑎 − 𝑐| < |𝑏 − 𝑐|
(ค) ถ้า 0 < 𝑎 < 𝑏 และ 0 < 𝑐 < 𝑑 แล้ว 𝑎𝑐 < 𝑏𝑑
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

5. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของสมการ |𝑥 + 1| + |𝑥 + 2| = 3𝑥


แล้วเซต 𝐴 เป็ นสับเซตของเซตในข้อใดต่อไปนี ้
1. { 𝑥 ∈ ℝ | |𝑥 + 2| ≥ 2|𝑥 − 3| } 2. { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < |𝑥| < 3 }
3. { 𝑥 ∈ ℝ | |5 − 2𝑥| > 3 } 4. { 𝑥 ∈ ℝ | (𝑥 − 1)(𝑥 − 2) < 0 }
5. { 𝑥 ∈ ℝ | (𝑥 + 1)(𝑥 − 5) ≥ 0 }
PAT 1 (ต.ค. 59) 3

6. ถ้า 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log 3(4𝑥 + 137) < 2 + log 3 (1 + 2𝑥+2 )


แล้ว 𝐴 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−∞, 0) 2. (−2, 2) 3. (1, 6)
4. (3, 8) 5. (6, ∞)

𝑥 + 1 , −1 < 𝑥 < 1
7. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {
3 , 𝑥≥1
1
และ 𝑔(𝑥) =
√1−𝑥 2
เมื่อ −1 < 𝑥 < 1
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 3 สาหรับทุก 𝑥 ∈ (−1, 1)
1
(ข) (𝑓𝑔)(𝑥) = √1−𝑥 2
+ 1 สาหรับทุก 𝑥 ∈ (−1, 1)
𝑓
(ค) (𝑔) (𝑥) = (𝑥 + 1)√1 − 𝑥 2 สาหรับทุก 𝑥 ∈ (−1, 1)
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

8. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้า 0 < 𝑎 < 1 แล้ว 𝑓(𝑎) > 𝑓(2 − 𝑎)
(ข) 𝑓(𝑥) < 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 < 0
(ค) 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
4 PAT 1 (ต.ค. 59)

9. สาหรับ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวกใดๆ กาหนดให้ 𝑎 ⊗ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวกทีม่ ีสมบัติดงั นี ้


(ก) 1 ⊗ 𝑏 = 𝑏 สาหรับทุกจานวนเต็มบวก 𝑏
(ข) (1 + 𝑎) ⊗ 𝑏 = 𝑎 ⊗ (𝑎 ⊗ 𝑏) สาหรับทุกจานวนเต็มบวก 𝑎 และ 𝑏
ให้ 𝐴 = (2 ⊗ 5) + (5 ⊗ 9)
𝐵 = 2 ⊗ (5 ⊗ (5 ⊗ 9))
𝐶 = ((9 ⊗ 5) ⊗ 5) ⊗ 2
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝐴 < 𝐵 + 𝐶 2. 𝐵<𝐶<𝐴 3. 𝐵<𝐴<𝐶
4. 𝐶 < 𝐴 < 𝐵 5. 𝐶<𝐵<𝐴

10. กาหนดให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ


|(1 + 𝑖)(𝑥 + 𝑦𝑖) − 3| = |3(1 − 𝑖) − 𝑥 − 𝑦𝑖| เมื่อ 𝑖 2 = −1
ค่าของ 𝑥2 + 𝑦2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. 6 3. 9 4. 18 5. 27

3
11. ถ้า cos 𝜃 = 5 และ 𝜋 < 𝜃 < 2𝜋 แล้ว 100 cot 𝜃2 cosec 𝜃2 sin 5𝜃
2
ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. −41 2. −164 3. −205
4. −328 5. −656
PAT 1 (ต.ค. 59) 5

𝑥−1
12. ให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 = √2−𝑥−𝑥 2
} เมื่อ ℝ แทนเซตของจานวนจริง
โดเมนของ 𝑓 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. (−∞, −2) 2. (−∞, −2) ∪ (1, ∞) 3. (−2, 1)
4. (−∞, −1) ∪ (2, ∞) 5. (−1, 2)

13. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ − {5} → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั


โดยที่ 𝑓(𝑥) = 5𝑥+3
𝑥−5
สาหรับจานวนจริง 𝑥 ≠ 5 ค่าของ (𝑓 −1 ∘ 𝑓 −1 )(1) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑓(0) 2. 𝑓(−1) 3. 𝑓(1)
4. 𝑓(−2) 5. 𝑓(2)

14. กาหนดให้ 𝑃 = 4𝑥 + 5𝑦 เป็ นฟั งก์ชนั จุดประสงค์ โดยมีอสมการข้อจากัด ดังนี ้


𝑥 + 2𝑦 ≥ 10 𝑥+𝑦 ≥ 6
3𝑥 + 𝑦 ≥ 8 𝑥≥ 0 และ 𝑦≥0
ค่าของ 𝑃 มีคา่ น้อยที่สดุ ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24.0 2. 26.8 3. 28.0
4. 29.0 5. 40.0
6 PAT 1 (ต.ค. 59)

15. กล่องใบหนึง่ มีลกู แก้วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลกู แก้วสีนา้ เงินเหมือนกันจานวนหนึง่ สุม่ หยิบลูกแก้ว 1 ลูกจาก
กล่อง ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้ลกู แก้วสีนา้ เงินเป็ นสองเท่าของความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู แก้วสีแดง ถ้าสุม่ หยิบลูกแก้ว
2 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู แก้วเหมือนกันทัง้ สองลูกตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 49 2. 12 3. 33 5
4. 16
33
5. 17
33

𝑎 𝑎2 1 1 1 1
16. ให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริกซ์มิติ 3 × 3 กาหนดโดย 𝐴 = [𝑏 𝑏 2 1] และ 𝐵 = [ 𝑎 𝑏 𝑐]
𝑐 𝑐2 1 𝑏𝑐 𝑐𝑎 𝑎𝑏
เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริงบวกทีแ่ ตกต่างกัน ค่าของ det 𝐵 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. det 𝐴 2. − det 𝐴 3. √𝑎𝑏𝑐 (det 𝐴)
4. 𝑎𝑏𝑐(det 𝐴) 5. 𝑎2 𝑏2𝑐 2(det 𝐴)

17. ให้ P เป็ นพาราโบลาซึง่ มีสมการเป็ น 𝑥 2 + 8𝑥 + 4𝑦 + 12 = 0 ถ้า H เป็ นไฮเพอร์โบลาที่มีแกนตามขวางขนาน


กับแกน 𝑦 มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ จี่ ดุ ยอดของ P ระยะทางระหว่างโฟกัสทัง้ สองของ H เท่ากับ 4√13 หน่วย และเส้น
กากับเส้นหนึง่ ของ H ขนานกับเส้นตรง 2𝑥 − 3𝑦 − 2 = 0 แล้ว สมการของไฮเพอร์โบลา H รูปนีต้ รงกับข้อใด
ต่อไปนี ้
1. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 − 18𝑦 − 109 = 0 2. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 + 32𝑥 − 18𝑦 − 109 = 0
3. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 + 18𝑦 − 109 = 0 4. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 − 18𝑦 − 199 = 0
5. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 + 18𝑦 + 199 = 0
PAT 1 (ต.ค. 59) 7

18. กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลีย่ มโดยที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C เท่ากับ 𝑎 หน่วย 𝑏 หน่วย
และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ ถ้า 𝑏 = √6+1 √2 , 𝑐 = √6−1 √2 และมุม A มีขนาด 60° พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
√3
(ก) 𝑎 =
2
(ข) sin2 𝐵 + sin2 𝐶 = 1

(ค) sin 𝐵 + sin 𝐶 = √23


ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

19. กาหนดให้ P เป็ นพาราโบลามีสมการเป็ น 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 5 เมื่อ 𝑎 > 0 และ 𝑏 < 0 ถ้าระยะทางระหว่าง


โฟกัสกับจุดยอดของ P เท่ากับ 12 หน่วย และเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 − 3 = 0 สัมผัสกับ P ที่จดุ C แล้ว ระยะทาง
ระหว่างจุดยอดของ P และจุด C ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. √2 2. √5 3. √6 4. √8 5. √13

2 0 𝑎 𝑏
20. กาหนดให้ 𝐴 = [−1 1
] และ 𝐵=[ ] เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่ 𝐵 = 𝐴−1 𝐵𝐴
𝑐 𝑑
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 0 2. −𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 0 3. 𝑎−𝑏+𝑐+𝑑=0
4. 𝑎 + 𝑏 − 𝑐 + 𝑑 = 0 5. 𝑎+𝑏+𝑐−𝑑=0
8 PAT 1 (ต.ค. 59)

21. ถ้า 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , 𝑥4 เป็ นข้อมูลของจานวนจริงที่เรียงลาดับจากน้อยไปมาก


โดยมีมธั ยฐานเท่ากับ 14 ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 15 และพิสยั เท่ากับ 8 แล้วสัมประสิทธิ์ของพิสยั ของ
ข้อมูล 2𝑥1 − 4 , 2𝑥2 − 3 , 2𝑥3 − 2 , 2𝑥4 − 1 มีคา่ ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 14 2. 278
3. 118
4. 1959
5. 19 69

22. กาหนดให้เส้นตรง 3𝑥 − 4𝑦 − 6 = 0 ตัง้ ฉากกับเส้นตรง 𝑥 + 𝑎𝑦 + 3 = 0 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง


ถ้าเส้นตรงทัง้ สองตัดกันทีจ่ ดุ A และเส้นตรงทัง้ สองตัดแกน 𝑥 ที่จดุ B และจุด C ตามลาดับ แล้วพืน้ ที่ของรูป
สามเหลีย่ ม ABC ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6 ตารางหน่วย 2. 8 ตารางหน่วย 3. 10 ตารางหน่วย
4. 12 ตารางหน่วย 5. 14 ตารางหน่วย

23. ข้อมูลประชากรชุดหนึง่ ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥10 โดยมีสมั ประสิทธิ์ของการแปรผันเท่ากับ 62.5% และมี


ความแปรปรวนเท่ากับ 25 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑥12 , 𝑥22 , … , 𝑥10
2
เท่ากับ 89
(ข) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ −𝑥1 , −𝑥2 , … , −𝑥10 เท่ากับ 5
10
(ค)  (𝑥𝑖 − 5)2 มีคา่ น้อยที่สดุ
i 1

ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
PAT 1 (ต.ค. 59) 9

24. กาหนดให้ 𝑎⃑ และ 𝑏⃑⃑ เป็ นเวกเตอร์ โดยที่ 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ = 15 , |𝑎⃑| = 6 และ (2𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑) ∙ (𝑎⃑ − 𝑏⃑⃑) = 32
ค่าของ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. √76 3. 9
4. √106 5. √136

25. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับของจานวนจริง โดยที่ 𝑎1 = 1 และ 𝑎𝑛 = 2𝑎𝑛−1 + 3 สาหรับ


𝑎𝑛
𝑛 = 2, 3, 4, … ค่าของ lim 𝑎 −𝑎
n   𝑛+2
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
𝑛+1

1. 0 2. 0.5 3. 1 4. 2.5 5. 4

1 1
26. ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ  𝑎(1 − 𝑥 2 ) 𝑑𝑥 =  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 แล้ว 𝑎 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1 1
2𝜋 2𝜋 3𝜋 𝜋 3𝜋
1. 5
2. 7
3. 7
4. 3
5. 8
10 PAT 1 (ต.ค. 59)

16−𝑥
27. ให้ 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ (log 9 4)𝑥 +2𝑥 < (22 log2(log3 2) )
2

แล้ว 𝐴 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้


1. (−∞, −9) ∪ (3, ∞) 2. (−∞, −7) ∪ (4, ∞) 3. (0, ∞)
4. (−∞, 1) 5. (−9, 5)

28. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎59 เป็ นลาดับของจานวนจริง โดยที่


𝑎2 − 𝑎1 = 𝑎3 − 𝑎2 = … = 𝑎𝑖+1 − 𝑎𝑖 = … = 𝑎59 − 𝑎58
ให้ 𝑏1 = 𝑎1 และ 𝑏𝑛 = 𝑏𝑛−1 + 𝑎𝑛−1 สาหรับ 𝑛 = 2, 3, 4, … , 60 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑏4 = 3𝑎1 + 𝑎4
(ข) 𝑏1 + 𝑏2 + 𝑏3 = 5𝑎1 + 𝑎2
(ค) 𝑏60 = 𝑎1 + 59𝑎30
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

29. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์ตา่ งกัน 3 เล่ม หนังสือวิชาภาษาไทยต่างกัน 2 เล่ม และหนังสือภาษาอังกฤษเหมือนกัน


5 เล่ม ถ้าต้องการจัดเรียงหนังสือ 5 เล่มวางบนชัน
้ โดยมีหนังสือแต่ละวิชาอย่างน้อย 1 เล่ม และมีจานวนหนังสือ
วิชาคณิตศาสตร์และหนังสือวิชาภาษาไทยรวมกันอย่างมาก 3 เล่ม จานวนวิธีจดั เรียงหนังสือ 5 เล่มดังกล่าวเท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี ้
1. 360 วิธี 2. 390 วิธี 3. 660 วิธี
4. 680 วิธี 5. 740 วิธี
PAT 1 (ต.ค. 59) 11

30. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑥 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ 2 log 1 (4𝑥 + 24) + log 2(8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) = 0
4
ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนเต็มในเซต 𝐴 ที่มีคา่ มากที่สดุ แล้วค่าของ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
(𝑎 + 1)2
1. 1 2. 4 3. 9 4. 16 5. 25

ตอนที่ 2 ข้อ 31 - 45 ข้อละ 8 คะแนน


31. ให้ 𝑆 ′ แทนคอมพลีเมนต์ของเซต 𝑆 และ 𝑛(𝑆) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝑆
กาหนดให้ 𝒰 แทนเอกภพสัมพัทธ์ โดยที่ 𝑛(𝒰) = 70 ถ้า 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นสับเซตของ 𝒰 โดยที่ 𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶 ≠ ∅
และ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵′ ) = 25 , 𝑛(𝐵 − 𝐶) = 18 , 𝑛(𝐶 ∩ 𝐴′ ) = 16 และ 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵)′ − 𝐶) = 7
แล้ว 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) เท่ากับเท่าใด

32. ให้เวกเตอร์ 𝑣⃑ = 𝑎𝑖⃑ + 𝑏𝑗⃑ + 𝑐𝑘⃑⃑ เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง และให้เวกเตอร์ 𝑢⃑⃑ = 𝑖⃑ − 𝑘⃑⃑
และ 𝑤 ⃑⃑⃑ = 2𝑖⃑ + 𝑗⃑ + 2𝑘⃑⃑ ถ้าเวกเตอร์ 𝑣⃑ มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢
⃑⃑ × 𝑤⃑⃑⃑ และขนาดของเวกเตอร์ 𝑣⃑ เท่ากับ
6√2 หน่วย แล้วค่าของ 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 เท่ากับเท่าใด
12 PAT 1 (ต.ค. 59)


𝑛2 +𝑎 21
33. ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ  𝑛−1 = แล้วค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
n 1 3 2

34. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑥 ∈ (0, 2𝜋) ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ cos 2𝑥 + sin 𝑥 = tan 225°
ถ้า 𝜃 เป็ นผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐴 แล้วค่าของ cos 𝜃 − cos 𝜃3 เท่ากับเท่าใด

3
35. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = |𝑥 − 1| + |𝑥 + 2| เมื่อ −3 ≤ 𝑥 ≤ 3 ค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด
3
PAT 1 (ต.ค. 59) 13

2 2
36. ค่าของ 13 sin(2 arctan 3) + 4 tan2 (arccos 3) เท่ากับเท่าใด

37. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนจริงทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ √3𝑥 − 5 + √4𝑥 + 3 = √2𝑥 − 3 + √5𝑥 + 1


และให้ 𝐵 = { 𝑥 2 | 𝑥 ∈ 𝐴 } ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดใน 𝐵 เท่ากับเท่าใด

38. จากการสารวจคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ (𝑥𝑖 ) และคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ (𝑦𝑖 ) ของนักเรียนชัน้


มัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 8 คน พบว่า มีความสัมพันธ์เป็ นสมการ 𝑦𝑖 = 10 + 2.5𝑥𝑖 เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 8
ถ้านักเรียนทัง้ 8 คนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนเรียงลาดับจากน้อยไปมากดังนี ้
25 , 32 , 48 , 50 , 𝑎 , 𝑎 + 3 , 𝑎 + 4 , 𝑎 + 6 คะแนน ตามลาดับ
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก และมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ชดุ นีเ้ ท่ากับ 51 คะแนน แล้วผลบวกของ
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์และค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับ
เท่าใด
14 PAT 1 (ต.ค. 59)

39. กาหนดข้อมูล 2 ชุด คือ ข้อมูล (𝑥) และข้อมูล (𝑦) ดังนี ้


𝑥 𝑥1 𝑥2 𝑥3 𝑥4 𝑥5
𝑦 𝑦1 𝑦2 𝑦3 𝑦4 𝑦5

โดยที่ 1 ≤ 𝑥𝑖 ≤ 25 สาหรับ 𝑖 = 1, 2, 3, 4, 5
5 5 5 5
 𝑥𝑖2 = 175 ,  𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 1575 ,  (𝑥𝑖 + 𝑦𝑖 ) = 275 ,  (20𝑥𝑖 − 𝑦𝑖 ) = 250
i 1 i 1 i 1 i 1

และข้อมูลทัง้ สองชุดมีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั แบบเส้นตรงคือ 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑚, 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑥 = 4 แล้วค่าประมาณของ 𝑦 จะเท่ากับเท่าใด

40. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ คะแนนสอบมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ


𝑎 และ 𝑏 คะแนน ตามลาดับ นาย ก. และนาย ข. เป็ นนักเรียนในห้องนี ้ นาย ก. สอบวิชาคณิตศาสตร์ครัง้ นีไ้ ด้
คะแนน 68 คะแนน คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5 ถ้าครูผสู้ อนวิชานี ้ ปรับคะแนนใหม่ โดยเพิ่มคะแนนของนักเรียน
ทุกคนเป็ นสองเท่าของคะแนนเดิม คะแนนใหม่ของนาย ข. มากกว่าคะแนนใหม่ของนาย ก. อยู่ 6 คะแนน และ
คะแนนใหม่ของนาย ข. คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.9 แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ต.ค. 59) 15

41. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง


2k
ให้ 𝑢𝑘 =  𝑎𝑛 สาหรับ 𝑘 = 1, 2, 3, …
nk
60
ถ้า 𝑢5 = 147 และ 𝑢8 = 342 แล้วค่าของ  𝑎𝑛 เท่ากับเท่าใด
n 1

2𝑥 + 22−𝑥 − 5
42. ค่าของ lim
x2 −
𝑥 เท่ากับเท่าใด
2 2 − 21−𝑥

43. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏
2
เป็ นจานวนจริง และสอดคล้องกับ 𝑓 ′′ (1) = 3𝑓 ′ (1) และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 18
1

ถ้าเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥=1 แล้วค่าของ 𝑓(2) เท่ากับเท่าใด


16 PAT 1 (ต.ค. 59)

44. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 2𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥 −1 ) = 𝑥 + 𝑥 −1 เมื่อ
3 𝑎
𝑥 ≠ 0 ถ้า |𝑓 (4)| = 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก โดยที่ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1
แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด

1 2𝑥+3𝑦 12 1 3𝑥−2𝑦 1 5
45. กาหนดให้ 𝑥 ≥ 0 และ 𝑦 ≥ 0 ถ้า (√2−1 ) ≤ (√2 + 1) และ (
√2+1
) ≥ (
√2+1
)
แล้ว 2𝑥 + 5𝑦 มีคา่ มากที่สดุ เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ต.ค. 59) 17

เฉลย
1. 1 11. 4 21. 4 31. 4 41. 5610
2. 2 12. 3 22. 1 32. 12 42. 12
3. 3 13. 4 23. 1 33. 4 43. 30
4. 5 14. 3 24. 2 34. 1.5 44. 37
5. 1 15. 5 25. 2 35. 23 45. 20
6. 3 16. 1 26. 5 36. 17
7. 2 17. 4 27. 2 37. 4
8. 4 18. 1 28. 4 38. 174.5
9. 5 19. 4 29. 3 39. 43.5
10. 3 20. 5 30. 3 40. 64.25

แนวคิด
1. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็ นประพจน์ใดๆ พิจารณาประพจน์ตอ่ ไปนี ้
(ก) 𝑝 → [(𝑝 → 𝑞) → 𝑞] เป็ นสัจนิรนั ดร์
(ข) 𝑝 ↔ [(𝑝 ∧ (𝑞 → 𝑝)) → 𝑞] ไม่เป็ นสัจนิรนั ดร์
(ค) ถ้า (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑝) มีคา่ ความจริงเป็ น จริง
แล้ว [𝑝 → (𝑝 → 𝑞)] → (𝑝 ∧ 𝑞) มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 1
(ก) ใช้วธิ ี สมมติให้เป็ น F (ข) ↔ ต้องเช็คว่า ซ้าย ≡ ขวา หรือไม่
𝑝 → [(𝑝 → 𝑞) → 𝑞] 𝑝≡ ( 𝑝 ∧ (𝑞 → 𝑝)) → 𝑞
F ≡ ( 𝑝 ∧ (~𝑞 ∨ 𝑝)) → 𝑞
T F ≡ ((F ∨ 𝑝) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑝)) → 𝑞
T F ≡ ( (F ∧ ~𝑞) ∨ 𝑝 ) → 𝑞
T F ≡ ( F ∨𝑝 )→𝑞
ขัดแย้ง ≡ 𝑝 →𝑞
เกิดข้อขัดแย่ง แสดงว่าเป็ น F ไม่ได้ จะเห็นว่า ซ้าย กับ ขวา ไม่สมมูลกัน
ดังนัน้ เป็ นสัจนิรนั ดร์ → (ก) ถูก ดังนัน้ ไม่เป็ นสัจนิรนั ดร์ → (ข) ถูก
(ค) (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑝) จะมีสตู รสมมูลกับ 𝑝 ↔ 𝑞 ซึง่ จะเป็ นจริงได้ 2 แบบ คือ 𝑝, 𝑞 ≡ T ทัง้ คู่ กับ 𝑝, 𝑞 ≡ F ทัง้ คู่
กรณี 𝑝, 𝑞 ≡ T ทัง้ คู่ จะได้ [𝑝 → (𝑝 → 𝑞)] → (𝑝 ∧ 𝑞) ≡ [T → (T → T)] → (T ∧ T)
≡ T → T ≡T
เมื่อมีกรณีที่ [𝑝 → (𝑝 → 𝑞)] → (𝑝 ∧ 𝑞) เป็ นจริง จะสรุ ปได้เลยว่า (ค) ผิด โดยไม่ตอ้ งทากรณีที่เหลือ → (ค) ผิด
18 PAT 1 (ต.ค. 59)

2. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ {1, 2, 3, 4} ให้ 𝑃(𝑥) คือ |𝑥 − 2| + |𝑥 − 3| = 1


𝑄(𝑥) คือ 𝑥(𝑥 + 1) > 1
และ 𝑅(𝑥) คือ √𝑥 − 1 < 𝑥 − 3
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี ้ มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
1. ∀𝑥[𝑃(𝑥)] → ∀𝑥[𝑄(𝑥)] 2. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] → ∃𝑥[𝑅(𝑥)]
3. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] ↔ ∀𝑥[~𝑅(𝑥)] 4. ∃𝑥[𝑅(𝑥)] → ∃𝑥[𝑃(𝑥)]
5. ∃𝑥[𝑄(𝑥) → 𝑃(𝑥)] ∨ ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
ตอบ 2
จะดูเป็ นข้อๆ และหาค่าความจริงเท่าทีจ่ าเป็ น
1. ∀𝑥[𝑃(𝑥)] จะพยายามหาตัวที่ทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นเท็จ
จะเห็นว่า ถ้า 𝑥 = 4 จะได้ |4 − 2| + |4 − 3| = 2 + 1 ≠ 1 เป็ นเท็จ ดังนัน้ ∀𝑥[𝑃(𝑥)] ≡ F
ดังนัน้ ข้อ 1. ∀𝑥[𝑃(𝑥)] → ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
F → ??? ≡ T
2. ดู ∃𝑥[𝑅(𝑥)] ก่อน เพราะง่ายกว่า จะพยายามหาตัวที่ทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นจริง
𝑥 = 1 : √1 − 1 < 1 − 3 𝑥 = 2 : √2 − 1 < 2 − 3
0 < −2  1 < −1 
𝑥 = 3 : √3 − 1 < 3 − 3 𝑥 = 4 : √4 − 1 < 4 − 3 𝑅(𝑥) ผิดหมด
√2 < 0  √3 < 1  ดังนัน้ ∃𝑥[𝑅(𝑥)] ≡ F
พิจารณา 𝑄(𝑥) เนื่องจาก 𝑥 ≥ 1 จะทาให้ 𝑥 + 1 ≥ 2 → คูณสองอสมการ จะได้ 𝑥(𝑥 + 1) ≥ 2
จึงทาให้ 𝑥(𝑥 + 1) > 1 เป็ นจริงเสมอ ดังนัน้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริงเสมอ ซึง่ จะได้วา่ ∀𝑥[𝑄(𝑥)] ≡ T
ดังนัน้ 𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥) อยูใ่ นรูป ??? → T ซึง่ จะเป็ นจริงเสมอ ดังนัน้ ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] ≡ T
ดังนัน้ ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] → ∃𝑥[𝑅(𝑥)]
T → F ≡ F

3. จากข้อ 2. 𝑅(𝑥) ผิดหมด ดังนัน้ ~𝑅(𝑥) จะเป็ นจริงทุกตัว ดังนัน้ ∀𝑥[~𝑅(𝑥)] ≡ T


และจากข้อ 2. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] ≡ T ดังนัน้ ∀𝑥[𝑄(𝑥)] ↔ ∀𝑥[~𝑅(𝑥)]
T ↔ T ≡ T
4. จากข้อ 2. ∃𝑥[𝑅(𝑥)] ≡ F จะได้ ∃𝑥[𝑅(𝑥)] → ∃𝑥[𝑃(𝑥)]
F → ??? ≡ T
5. จากข้อ 2. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] ≡ T จะได้ ∃𝑥[𝑄(𝑥) → 𝑃(𝑥)] ∨ ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
??? ∨ T ≡ T
PAT 1 (ต.ค. 59) 19

3. กาหนดให้ 𝑃(𝑆) แทนเพาเวอร์เซตของเซต 𝑆 ให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเซตใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) (𝐴 ∩ 𝐵) ∪ 𝐶 = 𝐴 ∩ (𝐵 ∪ 𝐶) (ข) 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) ⊂ 𝑃(𝐴 − 𝐵)
(ค) 𝑃(𝑃(∅)) ⊂ 𝑃(𝑃(𝑃(∅))) เมื่อ ∅ แทนเซตว่าง
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 3
(ก) จะเห็นว่า ไม่เคยมีสตู รนีใ้ ห้ทอ่ ง ที่เคยท่องจะมีแต่สตู ร (𝐴 ∩ 𝐵) ∪ 𝐶 = (𝐴 ∪ 𝐶) ∩ (𝐵 ∪ 𝐶)
ถ้าให้ 𝐴 = {1} , 𝐵 = {2} , 𝐶 = {3} จะได้ (ก) คือ ({1} ∩ {2} ) ∪ {3} = {1} ∩ ({2} ∪ {3})
∅ ∪ {3} = {1} ∩ {2, 3}
{3} = ∅ → (ก) ผิด
(ข) 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) จะมี สับเซตของ 𝐴 ที่ไม่ใช่สบั เซตของ 𝐵
𝑃(𝐴 − 𝐵) จะมี สับเซตของ 𝐴 − 𝐵 → จะไม่มท ี างมีสมาชิกของ 𝐵 ออกมาให้เห็นใน 𝑃(𝐴 − 𝐵)
ในขณะที่ 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) ยังอาจมีสมาชิกของ 𝐵 ออกมาได้ ถ้ามันจับคูก่ บั สมาชิกของ 𝐴 ทาให้ไม่เป็ นสับเซตของ 𝐵
เช่น 𝐴 = {1, 2} → 𝑃(𝐴) = { ∅ , {1} , {2} , {1,2} }
𝐵 = {1} → 𝑃(𝐵) = { ∅ , {1} }
จะเห็นว่า 𝑃(𝐴 − 𝐵) = 𝑃({2}) = { ∅ , {2} } → จะไม่มี 1 เพราะ ถูกหักทิง้ ไปตัง้ แต่ก่อนหาเพาเวอร์เซต
แต่ 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) = { {2} , {1,2} } → มี 1 ได้ เพราะ 1 ไปจับคูก่ บั 2 กลายเป็ น {1, 2} ที่ไม่เป็ นสับเซตของ 𝐵
ดังนัน้ อาจมีบางตัวใน 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) ที่ไม่อยูใ่ น 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐵) → (ข) ผิด
(ค) จาก ∅ ⊂ 𝑃(∅) (เซตว่าง เป็ นสับเซตของทุกเซต)
𝑃(∅) ⊂ 𝑃(𝑃(∅)) (ใส่ 𝑃 ทัง้ สองข้าง) ถ้า 𝐴 ⊂ 𝐵
𝑃(𝑃(∅)) ⊂ 𝑃(𝑃(𝑃(∅))) → (ค) ถูก แล้ว 𝑃(𝐴) ⊂ 𝑃(𝐵)

4. ให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริง พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้า 𝑎 > 𝑏 และ 𝑐 > 𝑑 แล้ว 𝑎𝑐 > 𝑏𝑑
(ข) ถ้า 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 < 0 แล้ว |𝑎 − 𝑐| < |𝑏 − 𝑐|
(ค) ถ้า 0 < 𝑎 < 𝑏 และ 0 < 𝑐 < 𝑑 แล้ว 𝑎𝑐 < 𝑏𝑑
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 5
(ก) จะไม่จริงเมื่อมีจานวนลบมาเกี่ยวด้วย (เมื่อคูณอสมการด้วยเลขลบ ต้องกลับเครือ่ งหมาย มากกว่า ↔ น้อยกว่า)
เช่น 2 > 1 และ −3 > −4 แต่ (2)(−3) > (1)(−4)
−6 > −4 ผิด → (ก) ผิด
20 PAT 1 (ต.ค. 59)

(ข) เนื่องจาก 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 ดังนัน้ 𝑎 − 𝑐 และ 𝑏 − 𝑐 จะติดลบทัง้ คู่


จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์ ถ้า 𝑥 ติดลบ จะได้ |𝑥| = −𝑥 ดังนัน้ |𝑎 − 𝑐| < |𝑏 − 𝑐|
−(𝑎 − 𝑐) < −(𝑏 − 𝑐)
−𝑎 + 𝑐 < −𝑏 + 𝑐
−𝑎 < −𝑏
𝑏 < 𝑎 ขัดแย้ง →(ข) ผิด
(ค) อสมการเลขยกกาลัง จะมีขอ้ ยกเว้นกรณีที่ ฐาน < 1 อยู่ (ถ้า ฐาน < 1 แล้ว ยิ่งยกกาลังมาก ค่าจะยิ่งน้อย)
เช่น 0 < 0.1 < 0.2 และ 0 < 1 < 2 แต่ 0.11 < 0.22
0.1 < 0.04 ผิด → (ค) ผิด

5. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของสมการ |𝑥 + 1| + |𝑥 + 2| = 3𝑥


แล้วเซต 𝐴 เป็ นสับเซตของเซตในข้อใดต่อไปนี ้
1. { 𝑥 ∈ ℝ | |𝑥 + 2| ≥ 2|𝑥 − 3| } 2. { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < |𝑥| < 3 }
3. { 𝑥 ∈ ℝ | |5 − 2𝑥| > 3 } 4. { 𝑥 ∈ ℝ | (𝑥 − 1)(𝑥 − 2) < 0 }
5. { 𝑥 ∈ ℝ | (𝑥 + 1)(𝑥 − 5) ≥ 0 }
ตอบ 1
จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์ จะได้ |𝑥 + 1| ≥ 0 และ |𝑥 + 2| ≥ 0 ดังนัน้ |𝑥 + 1| + |𝑥 + 2| ≥ 0
โจทย์ให้ |𝑥 + 1| + |𝑥 + 2| = 3𝑥 3𝑥 ≥ 0
𝑥 ≥ 0
เมื่อได้วา่ 𝑥≥0 จะสรุปได้วา่ 𝑥+1 และ 𝑥+2 เป็ นบวก
𝑎 , 𝑎≥0
ซึง่ จากสมบัติ |𝑎| = {
−𝑎 , 𝑎<0
จะได้ |𝑥 + 1| = 𝑥 + 1 และ |𝑥 + 2| = 𝑥 + 2
ดังนัน้ |𝑥 + 1| + |𝑥 + 2| =
3𝑥
𝑥 + 1 + 𝑥 + 2 = 3𝑥
3 = 𝑥
แทน 𝑥 = 3 ในตัวเลือกแต่ละข้อ แล้วดูวา่ ข้อไหนเป็ นจริง
1. |3 + 2| ≥ 2|3 − 3| 2. 0 < |3| < 3 3. |5 − 2(3)| > 3
5 ≥ 0  0< 3 <3  1 > 3 
4. (3 − 1)(3 − 2) < 0 5. (3 + 1)(3 − 5) ≥ 0
2 < 0  −8 ≥ 0  → ตอบข้อ 1.

6. ถ้า 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log 3(4𝑥 + 137) < 2 + log 3 (1 + 2𝑥+2 )


แล้ว 𝐴 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−∞, 0) 2. (−2, 2) 3. (1, 6)
4. (3, 8) 5. (6, ∞)
ตอบ 3
log 3 (4𝑥 + 137) < 2 + log 3(1 + 2𝑥+2 ) แปลง 2 ให้เป็ น log ฐาน 3
log 3 (4𝑥 + 137) < log 3 9 + log 3 (1 + 2𝑥+2 )
log 𝑎 𝑀 + log 𝑎 𝑁 = log 𝑎 𝑀𝑁
log 3 (4𝑥 + 137) < log 3 (9)(1 + 2𝑥+2 )
4𝑥 + 137 < (9)(1 + 2𝑥+2 ) ตัด log 3 ทัง้ สองข้าง (3 > 1 ไม่ตอ้ งกลับเครือ่ งหมาย)
22𝑥 + 137 < 𝑥
(9)(1 + 2 ∙ 2 ) 2

22𝑥 + 137 < 9 + 36 ∙ 2𝑥


PAT 1 (ต.ค. 59) 21

22𝑥 − 36 ∙ 2𝑥 + 128 < 0


(2𝑥 − 4)(2𝑥 − 32) < 0

2𝑥 ∈ (4, 32)
+ − +
2𝑥 ∈ (22 , 25 )
4 32 𝑥 ∈ (2, 5) → เป็ นสับเซตของ ข้อ 3.
𝑥 + 1 , −1 < 𝑥 < 1
7. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {
3 , 𝑥≥1
1
และ 𝑔(𝑥) =
√1−𝑥 2
เมื่อ −1 < 𝑥 < 1
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 3 สาหรับทุก 𝑥 ∈ (−1, 1)
1
(ข) (𝑓𝑔)(𝑥) = √1−𝑥 2
+ 1 สาหรับทุก 𝑥 ∈ (−1, 1)
(ค) (𝑔𝑓 ) (𝑥) = (𝑥 + 1)√1 − 𝑥 2 สาหรับทุก 𝑥 ∈ (−1, 1)
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 2
1 1
(ก) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥)) = 𝑓(
√1−𝑥 2
) → จะพิจารณาค่าของ √1−𝑥 2
เพื่อดูเงื่อนไขของ 𝑓(𝑥)
เมื่อ 𝑥 ∈ (−1, 1) จะได้ 0 ≤ 𝑥2 < 1 คูณ −1 ตลอด (ต้องกลับ มากกว่า ↔ น้อยกว่า)
0 ≥ −𝑥 2 > −1 บวก 1 ตลอด
1 ≥ 1 − 𝑥2 > 0
ถอดรูทตลอด (1 − 𝑥 2 > 0 ไม่ตอ้ งกลัวว่าในรูทจะติดลบ)
1 ≥ √1 − 𝑥 2 > 0
1 ÷ √1 − 𝑥 2 ตลอด (√1 − 𝑥 2 > 0 ไม่ตอ้ งกลับ
≥ 1 > 0
√1−𝑥 2 มากกว่า ↔ น้อยกว่า)
1 1
จะได้ √1−𝑥 2
≥ 1 ดังนัน้ 𝑓(
√1−𝑥 2
) ต้องใช้สตู รล่าง → = 3 จะได้ (ก) ถูก
(ข) (𝑓𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑥) ∙ 𝑔(𝑥)
1
𝑥 ∈ (−1, 1) ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ต้องใช้สตู รบน
= (𝑥 + 1) ∙
√1−𝑥 2
𝑥 1
=
√1−𝑥 2
+
√1−𝑥 2
→ ไม่ตรงกับที่ (ข) บอก → (ข) ผิด
𝑓 𝑓(𝑥)
(ค) (𝑔) (𝑥) = 𝑔(𝑥)
𝑥 ∈ (−1, 1) ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ต้องใช้สตู รบน
𝑥+1
= 1
√1−𝑥2

= (𝑥 + 1)√1 − 𝑥 2 → (ค) ถูก


22 PAT 1 (ต.ค. 59)

8. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้า 0 < 𝑎 < 1 แล้ว 𝑓(𝑎) > 𝑓(2 − 𝑎)
(ข) 𝑓(𝑥) < 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 < 0
(ค) 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 4
(ก) 𝑓(𝑎) > 𝑓(2 − 𝑎)
𝑎3 − 3𝑎2 + 4 > (2 − 𝑎)3 − 3(2 − 𝑎)2 + 4
𝑎3 − 3𝑎2 > (2 − 𝑎)3 − 3(2 − 𝑎)2
น2 − ล2 = (น − ล) (น + ล)
3(2 − 𝑎)2 − 3𝑎2 > (2 − 𝑎)3 − 𝑎3 น3 − ล3 = (น − ล) (น2 + นล + ล2 )
3[(2 − 𝑎)2 − 𝑎2 ] > (2 − 𝑎)3 − 𝑎3
3(2 − 𝑎 − 𝑎)(2 − 𝑎 + 𝑎) > (2 − 𝑎 − 𝑎)((2 − 𝑎)2 + (2 − 𝑎)𝑎 + 𝑎2 )
3(2 − 2𝑎 )(2 ) > (2 − 2𝑎 )((2 − 𝑎)2 + 2𝑎 − 𝑎2 + 𝑎2 ) 0<𝑎<1
6 > (2 − 𝑎)2 + 2𝑎 …(∗) ดังนัน้ 2 − 2𝑎 เป็ นบวก
จึงตัดได้โดยไม่ตอ้ งกลับ
เนื่องจาก 0<𝑎<1 ดังนัน้ (2 − 𝑎)2 < 4 …(1) มากกว่า ↔ น้อยกว่า
เนื่องจาก 0<𝑎<1 ดังนัน้ 2𝑎 < 2 …(2)
(1) + (2) : (2 − 𝑎)2 + 2𝑎 < 6 → (∗) จริง ดังนัน้ (ก) ถูก
(ข) 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥
= 3𝑥(𝑥 − 2)
จะเห็นว่าในช่วง (−∞, 0] ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของ 𝑓(𝑥) เกิดเมื่อ 𝑥 = 0
+ − +
0 2 ดังนัน้ เมื่อ 𝑥 < 0 จะได้ 𝑓(𝑥) < 𝑓(0) = 03 − 3(02 ) + 4 = 4 → (ข) ถูก
(ค) จากเส้นจานวนในข้อ (ข) จะได้ ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2 → (ค) ถูก

9. สาหรับ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวกใดๆ กาหนดให้ 𝑎 ⊗ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวกทีม่ ีสมบัติดงั นี ้


(ก) 1 ⊗ 𝑏 = 𝑏 สาหรับทุกจานวนเต็มบวก 𝑏
(ข) (1 + 𝑎) ⊗ 𝑏 = 𝑎 ⊗ (𝑎 ⊗ 𝑏) สาหรับทุกจานวนเต็มบวก 𝑎 และ 𝑏
ให้ 𝐴 = (2 ⊗ 5) + (5 ⊗ 9)
𝐵 = 2 ⊗ (5 ⊗ (5 ⊗ 9))
𝐶 = ((9 ⊗ 5) ⊗ 5) ⊗ 2
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝐴 < 𝐵 + 𝐶 2. 𝐵<𝐶<𝐴 3. 𝐵<𝐴<𝐶
4. 𝐶 < 𝐴 < 𝐵 5. 𝐶<𝐵<𝐴
ตอบ 5
สังเกตว่า ข้อ (ข) จะใช้ทาให้ตวั เลขฝั่งซ้ายของ ⊗ น้อยลง 1 เช่น 5 ⊗ 9 = (1 + 4) ⊗ 9 = 4 ⊗ (4 ⊗ 9)
และถ้าใช้ (ข) ไปเรือ่ ยๆ จนตัวเลขฝั่งซ้ายของ ⊗ เหลือ 1 ก็จะใช้ขอ้ (ก) คิดได้ผลลัพธ์ได้เป็ นตัวเลขฝั่งขวา
PAT 1 (ต.ค. 59) 23

เช่น 2 ⊗ 𝑏 = (1 + 1) ⊗ 𝑏
จาก (ข) 3 ⊗ 𝑏 = (1 + 2) ⊗ 𝑏
จาก (ข)
= 1 ⊗ (1 ⊗ 𝑏) จาก (ก) = 2 ⊗ (2 ⊗ 𝑏) จาก (∗)
= 1⊗ 𝑏 = 2⊗ 𝑏
2⊗𝑏 = 𝑏 …(∗) 3⊗𝑏 = 𝑏 …(∗∗)

4 ⊗ 𝑏 = (1 + 3) ⊗ 𝑏
จาก (ข)
= 3 ⊗ (3 ⊗ 𝑏) จาก (∗∗)
จะเห็นว่าเราสามารถทาซา้ กระบวนการดังกล่าวได้เรือ่ ยๆ = 3⊗ 𝑏
4⊗𝑏 = 𝑏 …(∗∗∗)
ดังนัน้ จะสรุปได้วา่ 𝑎 ⊗ 𝑏 = 𝑏 เมือ่ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวกใดๆ
ดังนัน้ 𝐴 = (2 ⊗ 5) + (5 ⊗ 9) 𝐵 = 2 ⊗ (5 ⊗ (5 ⊗ 9)) 𝐶 = ((9 ⊗ 5) ⊗ 5) ⊗ 2
= 5 + 9 = 2 ⊗ (5 ⊗ 9 ) = ??? ⊗2
= 14 = 2⊗ 9 = 2
= 9
ดังนัน้ 𝐶 < 𝐵 < 𝐴

10. กาหนดให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ


|(1 + 𝑖)(𝑥 + 𝑦𝑖) − 3| = |3(1 − 𝑖) − 𝑥 − 𝑦𝑖| เมื่อ 𝑖 2 = −1
ค่าของ 𝑥2 + 𝑦2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. 6 3. 9 4. 18 5. 27
ตอบ 3
|(1 + 𝑖)(𝑥 + 𝑦𝑖) − 3| = |3(1 − 𝑖) − 𝑥 − 𝑦𝑖|
|𝑥 + 𝑦𝑖 + 𝑥𝑖 + 𝑦𝑖 2 − 3| = | 3 − 3𝑖 − 𝑥 − 𝑦𝑖|
|𝑥 − 𝑦 − 3 + 𝑦𝑖 + 𝑥𝑖| = | 3 − 𝑥 − 3𝑖 − 𝑦𝑖|
|𝑥 − 𝑦 − 3 + (𝑦 + 𝑥)𝑖| = | 3 − 𝑥 − (3 + 𝑦)𝑖|
|𝑎 ± 𝑏𝑖| = √𝑎2 + 𝑏 2
√(𝑥 − 𝑦 − 3)2 + (𝑦 + 𝑥)2 = √(3 − 𝑥)2 + (3 + 𝑦)2
(𝑥 − 𝑦 − 3)2 + (𝑦 + 𝑥)2 = (3 − 𝑥)2 + (3 + 𝑦)2 ย้ายข้างให้เข้าสูตร น2 − ล2
(𝑥 − 𝑦 − 3)2 − (3 + 𝑦)2 = (3 − 𝑥)2 − (𝑦 + 𝑥)2
(𝑥 − 𝑦 − 3 + 3 + 𝑦)(𝑥 − 𝑦 − 3 − 3 − 𝑦) = (3 − 𝑥 + 𝑦 + 𝑥)(3 − 𝑥 − 𝑦 − 𝑥)
(𝑥 )(𝑥 − 2𝑦 − 6) = (3 +𝑦 )(3 − 2𝑥 − 𝑦)
2
𝑥 − 2𝑥𝑦 − 6𝑥 = 9 − 6𝑥 − 3𝑦 + 3𝑦 − 2𝑥𝑦 − 𝑦 2
𝑥2 + 𝑦2 = 9

3
11. ถ้า cos 𝜃 =
5
และ 𝜋 < 𝜃 < 2𝜋 แล้ว 100 cot 𝜃2 cosec 𝜃2 sin 5𝜃
2
ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. −41 2. −164 3. −205
4. −328 5. −656
ตอบ 4
𝜃
𝜃 𝜃 5𝜃 cos 1 5𝜃
2
100 cot cosec sin = 100 ∙ 𝜃 ∙ 𝜃 ∙ sin
2 2 2 sin 2
sin
2 2
5𝜃 𝜃
2 sin cos
2 2
= 100 ∙ 𝜃
2 sin2
2
5𝜃 𝜃 5𝜃 𝜃
sin( + ) + sin( − )
2 2 2 2
= 100 ∙ 1−cos 𝜃
sin 3𝜃 + sin 2𝜃
= 100 ∙ 1−cos 𝜃
…(∗)

จะหาค่าที่ตอ้ งใช้มาแทนใน (∗) โจทย์ให้ 𝜋 < 𝜃 < 2𝜋 (คือ 𝑄3 หรือ 𝑄4)


24 PAT 1 (ต.ค. 59)

แต่ cos 𝜃 = 35 เป็ นบวก → 𝜃 อยูใ่ น 𝑄4 จะได้ sin 𝜃 เป็ นลบ


จะใช้สามเหลีย่ มมาช่วยหาค่า sin 𝜃 แล้วค่อยเติมเครือ่ งหมายลบ ดังนี ้
3 ชิด 5 ข้าม 4
cos 𝜃 = = ฉาก → =4 → sin 𝜃 = − ฉาก = − 5
5 𝜃
3
4 3 24
จะได้ sin 2𝜃 = 2 sin 𝜃 cos 𝜃 = 2 (− 5) (5) = − 25
4 4 3 12 256 −300 + 256 44
และ sin 3𝜃 = 3 sin 𝜃 − 4 sin3 𝜃 = 3 (− ) − 4 (− ) = −
5 5 5
+
125
=
125
= −
125
44 24 −44−120
− + (− ) 164 5
แทนใน (∗) จะได้ = 100 ∙ 125
1−
3
25
= 100 ∙ 125
1−
3 = 100 ∙ (−
125
)∙
2
= −328
5 5

𝑥−1
12. ให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 = √2−𝑥−𝑥 2
} เมื่อ ℝ แทนเซตของจานวนจริง
โดเมนของ 𝑓 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. (−∞, −2) 2. (−∞, −2) ∪ (1, ∞) 3. (−2, 1)
4. (−∞, −1) ∪ (2, ∞) 5. (−1, 2)
ตอบ 3
จาก ในรูท ≥ 0 และ ส่วน ≠ 0 จะได้ 2 − 𝑥 − 𝑥 2 > 0
0 > 𝑥2 + 𝑥 − 2
0 > (𝑥 + 2)(𝑥 − 1)
+ − + → 𝑥 ∈ (−2, 1)
−2 1

13. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ − {5} → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั


โดยที่ 𝑓(𝑥) = 5𝑥+3
𝑥−5
สาหรับจานวนจริง 𝑥 ≠ 5 ค่าของ (𝑓 −1 ∘ 𝑓 −1 )(1) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑓(0) 2. 𝑓(−1) 3. 𝑓(1)
4. 𝑓(−2) 5. 𝑓(2)
ตอบ 4
(𝑓 −1 ∘ 𝑓 −1 )(1) = 𝑓 −1(𝑓 −1(1)) → จะหา 𝑓 −1 ก่อน
5𝑥+3 5𝑥+3
𝑓(𝑥) = 𝑥−5 คือ 𝑦 = 𝑥−5 หา 𝑓 −1 โดยการสลับ 𝑥 ↔ 𝑦
5𝑦+3
𝑥 = 𝑦−5 ดังนัน้ (𝑓 −1 ∘ 𝑓 −1 )(1) = 𝑓 −1(𝑓 −1(1))
𝑥𝑦 − 5𝑥 = 5𝑦 + 3 5(1)+3
𝑥𝑦 − 5𝑦 = 5𝑥 + 3 = 𝑓 −1 ( 1−5 )
𝑦(𝑥 − 5) = 5𝑥 + 3 = 𝑓 −1( −2 )
5𝑥+3 5𝑥+3 5(−2)+3
𝑦 = → 𝑓 −1 (𝑥) = 𝑥−5
= −2−5
= 1
𝑥−5

สังเกตว่าตัวเลือกทุกตัว มี 𝑓 อยู่ → จะหา 𝑘 ที่ทาให้ 𝑓(𝑘) = 1


𝑘 = 𝑓 −1 (1)
5(1)+3
𝑘 = 1−5
𝑘 = −2
PAT 1 (ต.ค. 59) 25

14. กาหนดให้ 𝑃 = 4𝑥 + 5𝑦 เป็ นฟั งก์ชนั จุดประสงค์ โดยมีอสมการข้อจากัด ดังนี ้


𝑥 + 2𝑦 ≥ 10 𝑥+𝑦 ≥ 6
3𝑥 + 𝑦 ≥ 8 𝑥≥ 0 และ 𝑦≥0
ค่าของ 𝑃 มีคา่ น้อยที่สดุ ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24.0 2. 26.8 3. 28.0
4. 29.0 5. 40.0
ตอบ 3
หาจุดตัดแกน 𝑥 (โดยแทน 𝑦 = 0) และจุดตัดแกน 𝑦 (โดยแทน 𝑥 = 0) ของแต่ละอสมการ และแรเงาตามเครือ่ งหมาย
(𝑥 ≥ 0 และ 𝑦 ≥ 0 แปลว่าเอาเฉพาะใน Q1)
𝑥 + 2𝑦 ≥ 10 𝑥+𝑦≥6 3𝑥 + 𝑦 ≥ 8

8
6
5

10 6 8
3

8 A
นารูปทัง้ 3 มาซ้อนกัน จะได้ดงั รูป 6 B
จะได้จดุ มุมคือ A(0, 8) และ D(10, 0)
5 C กับ B กับ C ที่ยงั ไม่รูพ้ ิกดั
D
8 6 10
3
𝑥 + 2𝑦 ≥ 10
𝑥+𝑦≥6
3𝑥 + 𝑦 ≥ 8

หา B : 3𝑥 + 𝑦 = 8 …(1) หา C : 𝑥 + 𝑦 = 6 …(2)
𝑥+𝑦 = 6 …(2) 𝑥 + 2𝑦 = 10 …(3)
(1) − (2) : 2𝑥 = 2 (3) − (2) : 𝑦 = 4
𝑥 = 1 (2) : 𝑥+4 = 6
(2) : 1+𝑦 = 6 𝑥 = 2
𝑦 = 5 จะได้ C(2, 4)
จะได้ B(1, 5)
แทนจุดมุมทุกจุดใน 𝑃 = 4𝑥 + 5𝑦 แล้วเลือกจุดที่ได้คา่ 𝑃 น้อยที่สดุ
A(0, 8) 𝑃 = 4(0) + 5(8) = 40
B(1, 5) 𝑃 = 4(1) + 5(5) = 29
C(2, 4) 𝑃 = 4(2) + 5(4) = 28 → 𝑃 น้อยสุด = 28
D(10, 0) 𝑃 = 4(10) + 5(0) = 40
26 PAT 1 (ต.ค. 59)

15. กล่องใบหนึง่ มีลกู แก้วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลกู แก้วสีนา้ เงินเหมือนกันจานวนหนึง่ สุม่ หยิบลูกแก้ว 1 ลูกจาก
กล่อง ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้ลกู แก้วสีนา้ เงินเป็ นสองเท่าของความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู แก้วสีแดง ถ้าสุม่ หยิบลูกแก้ว
2 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู แก้วเหมือนกันทัง้ สองลูกตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 49 2. 12 3. 33 5
4. 16
33
5. 17
33
ตอบ 5
ในการหยิบ 1 ลูก โจทย์ให้ 𝑃(ได้สีนา้ เงิน) = 2 𝑃(ได้สเี ดง) → แสดงว่าต้องมีลกู แก้วสีนา้ เงินเป็ น 2 เท่าของสีแดง
แต่โจทย์กาหนดให้มีสแี ดง 4 ลูก ดังนัน้ จะมีลกู แก้วสีนา้ เงิน 8 ลูก รวมลูกแก้วทัง้ หมด 4 + 8 = 12 ลูก
12 ∙ 11
ถัดมา หยิบ 2 ลูก จะได้จานวนแบบทัง้ หมด 𝑛(𝑆) = (12 2
) = 2 = 66 แบบ
จานวนแบบที่ได้สเี หมือนกัน จะแบ่งเป็ น 2 กรณี
กรณีได้สแี ดงเหมือนกันทัง้ 2 ลูก : มีสแี ดง 4 ลูก ดังนัน้ จะได้จานวนแบบ = (42) = 42∙ 3 = 6 แบบ
กรณีได้สนี า้ เงินเหมือนกันทัง้ 2 ลูก : มีสนี า้ เงิน 8 ลูก ดังนัน้ จะได้จานวนแบบ = (82) = 82∙ 7 = 28 แบบ
รวมสองกรณี จะได้ 𝑛(𝐸) = 6 + 28 = 34 แบบ
จะได้ความน่าจะเป็ น = 𝑛(𝐸) 𝑛(𝑆)
34
= 66 = 33
17

𝑎 𝑎2 1 1 1 1
16. ให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริกซ์มิติ 3 × 3 กาหนดโดย 𝐴 = [𝑏 2
𝑏 1 ] และ 𝐵 = [ 𝑎 𝑏 𝑐]
2 𝑏𝑐 𝑐𝑎 𝑎𝑏
𝑐 𝑐 1
เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริงบวกทีแ่ ตกต่างกัน ค่าของ det 𝐵 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. det 𝐴 2. − det 𝐴 3. √𝑎𝑏𝑐 (det 𝐴)
4. 𝑎𝑏𝑐(det 𝐴) 5. 𝑎2 𝑏2𝑐 2(det 𝐴)
ตอบ 1
ใช้สตู ร det ของเมทริกซ์ 3 × 3 จะได้ det 𝐴 = 𝑎𝑏2 + 𝑎2 𝑐 + 𝑏𝑐 2 − 𝑏2 𝑐 − 𝑎𝑐 2 − 𝑎2 𝑏
เท่ากัน
และ det 𝐵 = 𝑎𝑏2 + 𝑏𝑐 2 + 𝑎2 𝑐 − 𝑏2 𝑐 − 𝑎𝑐 2 − 𝑎2 𝑏
ดังนัน้ det 𝐴 = det 𝐵
หมายเหตุ : ข้อนีจ้ ะใช้วิธีแปลงรูปเมทริกซ์ก็ได้ ดังนี ้
𝑎 𝑎2 1 1
𝑎 𝑎2 𝑎𝑏𝑐 𝑎∙𝑏∙𝑐
1 𝑎 𝑏𝑐 1 𝑎 𝑏𝑐 1 1 1
|𝑏 𝑏2 1| = 𝑎𝑏𝑐
|𝑏 𝑏2 𝑎𝑏𝑐 | = 𝑎𝑏𝑐
|1 𝑏 𝑎𝑐 | = |1 𝑏 𝑎𝑐 | = | 𝑎 𝑏 𝑐|
𝑐 𝑐2 1 𝑐 𝑐2 𝑎𝑏𝑐 1 𝑐 𝑎𝑏 1 𝑐 𝑎𝑏 𝑏𝑐 𝑐𝑎 𝑎𝑏

ดึง 𝑎 ออกจากแถว 1
คูณ 𝑎𝑏𝑐 ให้หลัก 3 ทรานสโพส → det ไม่เปลี่ยน
ดึง 𝑏 ออกจากแถว 2
ดึง 𝑐 ออกจากแถว 3
PAT 1 (ต.ค. 59) 27

17. ให้ P เป็ นพาราโบลาซึง่ มีสมการเป็ น 𝑥 2 + 8𝑥 + 4𝑦 + 12 = 0 ถ้า H เป็ นไฮเพอร์โบลาที่มีแกนตามขวางขนาน


กับแกน 𝑦 มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ จี่ ดุ ยอดของ P ระยะทางระหว่างโฟกัสทัง้ สองของ H เท่ากับ 4√13 หน่วย และเส้น
กากับเส้นหนึง่ ของ H ขนานกับเส้นตรง 2𝑥 − 3𝑦 − 2 = 0 แล้ว สมการของไฮเพอร์โบลา H รูปนีต้ รงกับข้อใด
ต่อไปนี ้
1. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 − 18𝑦 − 109 = 0 2. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 + 32𝑥 − 18𝑦 − 109 = 0
3. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 + 18𝑦 − 109 = 0 4. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 − 18𝑦 − 199 = 0
5. 9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 32𝑥 + 18𝑦 + 199 = 0
ตอบ 4
จะเห็นว่าต้องใช้จดุ ยอดของ P มาเป็ น ศก ของ H → จัดรูป P จะได้ 𝑥 2 + 8𝑥 = −4𝑦 − 12
𝑥 2 + 8𝑥 + 16 = −4𝑦 − 12 + 16
(𝑥 + 4)2 = −4𝑦 + 4
(𝑥 + 4)2 = −4(𝑦 − 1)
→ จุดยอด (−4 , 1) = ศก ของ H
(𝑦−1)2 (𝑥+4)2
โจทย์ให้ H มีแกนตามขวางขนานแกน Y → เป็ นไฮเพอร์แนวตัง้ จะได้สมการคือ 𝑎2
− 𝑏2
= 1
4√13
ระยะระหว่างโฟกัส = 4√13 จะได้ระยะโฟกัส 𝑐 =
2
= 2√13
2
จากสูตร 𝑎2 + 𝑏 2 = 𝑐 2 จะได้ 𝑎2 + 𝑏 2 = (2√13)
𝑎2 + 𝑏 2 = 52 …(∗)
โจทย์ให้เส้นกากับเส้นหนึง่ ขนานกับเส้นตรง 2𝑥 − 3𝑦 − 2 = 0 → ขนานกัน ความชันเท่ากัน
2𝑥 − 2 = 3𝑦
2 2
3
𝑥 −3 = 𝑦 → ความชันเส้นตรง = 23
2 (𝑥+4)2
จากสมการไฮเพอร์โบลา (𝑦−1)
𝑎2

𝑏2
= 1 จะได้เส้นกากับคือ 𝑦−1
𝑎

𝑥+4
𝑏
𝑎
𝑦−1 = ± (𝑥
𝑏
+ 4) → ความชัน = ± 𝑎𝑏
𝑎 2 2 2 2
ขนานกัน ความชันต้องเท่ากัน ดังนัน้ 𝑏
=
3
จะได้ 𝑎= 𝑏 →
3
แทนใน (∗) จะได้ (3 𝑏) + 𝑏 2 = 52
4 2
9
𝑏 + 𝑏2 = 52
13 2
2 𝑏 = 52
𝑎 = 3 (6) 9
2
𝑏 = 36
𝑎= 4
𝑏 = 6
(𝑦−1)2 (𝑥+4)2
จะได้สมการไฮเพอร์โบลาคือ 42
− 62
= 1
32 (𝑦 2 −2𝑦+1) − 22 (𝑥 2 +8𝑥+16)
122
= 1
9𝑦 2 − 18𝑦 + 9 − 4𝑥 2 − 32𝑥 − 64 = 144
9𝑦 2 − 4𝑥 2 − 18𝑦 − 32𝑥 − 199 = 0
28 PAT 1 (ต.ค. 59)

18. กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลีย่ มโดยที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C เท่ากับ 𝑎 หน่วย 𝑏 หน่วย
และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ ถ้า 𝑏 = √6+1 √2 , 𝑐 = √6−1 √2 และมุม A มีขนาด 60° พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
√3
(ก) 𝑎 =
2
(ข) sin2 𝐵 + sin2 𝐶 = 1

(ค) sin 𝐵 + sin 𝐶 = √23


ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 1
ก. จากกฎของ cos จะได้ 𝑎2 = 𝑏2 + 𝑐2 − 2𝑏𝑐 cos 𝐴
1 2 1 2 1 1
2
𝑎 = ( 6+ 2) + ( 6− 2) − 2( ) ( 6− 2) cos 60°
√ √ √ √ √6+√2 √ √
1 1 1 1
𝑎2 = 6+2√12+2
+ 6−2 12+2 − 2 (6−2) 2

1 1 1
𝑎2 = 8+4√3
+ 8−4 3 − 4

16 1
𝑎2 = 64−48
− 4
1 3
𝑎2 = 1 − =
4 4
√3
𝑎 = 2
→ ก. ถูก
𝑎 𝑏 𝑐
ข. จากกฎของ sin จะได้ sin 𝐴
=
sin 𝐵
= แต่จากข้อ ก. จะได้ sin𝑎 𝐴 =
sin 𝐶
√3/2
sin 60°
=
√3/2
√3/2
= 1
ดังนัน้ sin𝑏 𝐵 = sin𝑐 𝐶 = 1 ซึง่ จะได้วา่ sin 𝐵 = 𝑏 และ sin 𝐶 = 𝑐
จะได้ sin2 𝐵 + sin2 𝐶 = 𝑏 2 + 𝑐 2
ในข้อ ก. เราเคยหา 𝑏 2 + 𝑐 2 ไปแล้ว ได้ = 1
= 1 → ข. ถูก
1 1
ค. แทน sin 𝐵 = 𝑏 และ sin 𝐶 = 𝑐 จากข้อ ข. จะได้ sin 𝐵 + sin 𝐶 = 𝑏 + 𝑐 = 6+
√ √ 2
+ 6− 2
√ √
2√6
= 6−2
√6
= 2
→ ค. ผิด

19. กาหนดให้ P เป็ นพาราโบลามีสมการเป็ น 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 5 เมื่อ 𝑎 > 0 และ 𝑏 < 0 ถ้าระยะทางระหว่าง


โฟกัสกับจุดยอดของ P เท่ากับ 12 หน่วย และเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 − 3 = 0 สัมผัสกับ P ที่จดุ C แล้ว ระยะทาง
ระหว่างจุดยอดของ P และจุด C ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. √2 2. √5 3. √6 4. √8 5. √13
ตอบ 4
จากรูปสมการ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 5 และ 𝑎 > 0 จะได้วา่ P เป็ นพาราโบลาหงาย
ดังนัน้ จะได้สมการของ P ในรูป (𝑥 − ℎ)2 = 4𝑐(𝑦 − 𝑘) เมื่อ 𝑐 > 0
(𝑥 − ℎ)2 = 4 ( ) (𝑦 − 𝑘)
1 โจทย์ให้ระยะโฟกัส = 12
2
(𝑥 − ℎ)2 = 2 (𝑦 − 𝑘)
PAT 1 (ต.ค. 59) 29

และจาก 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 5 จะเห็นว่า เมื่อ 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 = 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 5 = 5


ดังนัน้ (0, 5) จะต้องสอดคล้องกับสมการของ P ในรูป (𝑥 − ℎ)2 = 2(𝑦 − 𝑘) ด้วย
(0 − ℎ)2 = 2(5 − 𝑘)
ℎ2 = 10 − 2𝑘 …(∗)
เนื่องจาก P สัมผัสกับเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 − 3 = 0 ที่ C แสดงว่าถ้าแก้ระบบสมการ P กับเส้นตรง จะต้องได้คาตอบเดียว
2𝑥 −3=𝑦
(𝑥 − ℎ)2 = 2( 𝑦 − 𝑘)
แทนในสมการของ P (𝑥 − ℎ)2 = 2(2𝑥 − 3 − 𝑘)
𝑥 − 2𝑥ℎ + ℎ2
2
= 4𝑥 − 6 − 2𝑘
จาก (∗) 𝑥 2 − 2𝑥ℎ + 10 − 2𝑘 = 4𝑥 − 6 − 2𝑘
𝑥 2 − 2𝑥ℎ − 4𝑥 + 16 = 0
𝑥 2 − (2ℎ + 4)𝑥 + 16 = 0 …(∗∗)
ซึง่ จะมีคาตอบเดียว เมื่อ 2
(−(2ℎ + 4)) − 4(1)(16) = 0
สมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0
(2ℎ + 4)2 = 64
จะมีคาตอบเดียวเมื่อ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 = 0 2ℎ + 4 = 8 , −8
ℎ = 2 , −6
𝑏 4𝑎𝑐−𝑏 2 𝑏
แต่จากสูตรจุดยอดของพาราโบลา 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 คือ (− 2𝑎 , 4𝑎 ) ดังนัน ้ ℎ = − 2𝑎
แต่โจทย์ให้ 𝑎 เป็ นบวก และ 𝑏 เป็ นลบ ดังนัน้ ℎ = − 2(ลบ
บวก)
= บวก ดังนัน้ ℎ = 2 , −6
แทน ℎ = 2 ใน (∗∗) เพื่อหาจุดสัมผัส C ต่อ จะได้
แทน 𝑥 = 4 ในสมการเส้นตรง
𝑥 2 − (2(2) + 4)𝑥 + 16 = 0
𝑥2 − 8 𝑥 + 16 = 0 2𝑥 − 𝑦 − 3 = 0
(𝑥 − 4)2 = 0 2(4) − 𝑦 − 3 = 0
𝑥 = 4 5 = 𝑦 จะได้จดุ สัมผัสคือ C(4, 5)
แทน ℎ=2 ใน (∗) เพื่อหา 𝑘 จะได้ 22 = 10 − 2𝑘
2𝑘 = 6
𝑘 = 3 จะได้จดุ ยอดของ P คือ (2, 3)
ดังนัน้ ระยะระหว่างจุดยอด (2, 3) และจุด C(4, 5) = √(4 − 2)2 + (5 − 3)2 = √4 + 4 = √8

2 0 𝑎 𝑏
20. กาหนดให้ 𝐴 = [−1 1
] และ 𝐵 = [ ] เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่ 𝐵 = 𝐴−1 𝐵𝐴
𝑐 𝑑
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 0 2. −𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 0 3. 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 0
4. 𝑎 + 𝑏 − 𝑐 + 𝑑 = 0 5. 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 − 𝑑 = 0
ตอบ 5
จาก 𝐵 = 𝐴−1 𝐵𝐴
ย้ายข้าง 𝐴
−1
𝐴𝐵 = 𝐵𝐴
2 0 𝑎 𝑏 𝑎 𝑏 2 0
[ ][ ] = [ ][ ]
−1 1 𝑐 𝑑 𝑐 𝑑 −1 1
2𝑎 2𝑏 2𝑎 − 𝑏 𝑏 2𝑎 = 2𝑎 − 𝑏 …(1)
[ ]= [ ] 2𝑏 = 𝑏 …(2)
−𝑎 + 𝑐 −𝑏 + 𝑑 2𝑐 − 𝑑 𝑑
เทียบสมาชิก −𝑎 + 𝑐 = 2𝑐 − 𝑑 …(3)
ตาแหน่งต่อตาแหน่ง −𝑏 + 𝑑 = 𝑑 …(4)
จาก (1) จะได้ 𝑏 = 0 ซึง่ จะทาให้ (2) และ (4) จริงไปด้วย
จาก (3) จะได้ 0 = 𝑎 + 𝑐 − 𝑑
และจาก 𝑏 = 0 จะได้ 0 = 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 − 𝑑 ด้วย → ตรงกับข้อ 5.
30 PAT 1 (ต.ค. 59)

21. ถ้า 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , 𝑥4 เป็ นข้อมูลของจานวนจริงที่เรียงลาดับจากน้อยไปมาก


โดยมีมธั ยฐานเท่ากับ 14 ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 15 และพิสยั เท่ากับ 8 แล้วสัมประสิทธิ์ของพิสยั ของ
ข้อมูล 2𝑥1 − 4 , 2𝑥2 − 3 , 2𝑥3 − 2 , 2𝑥4 − 1 มีคา่ ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 14 2. 278
3. 118
4. 1959
5. 19 69
ตอบ 4
จาก 𝑥1 < 𝑥2 < 𝑥3 < 𝑥4
2𝑥1 < 2𝑥2 < 2𝑥3 < 2𝑥4
ยิ่งลบด้วยค่าน้อย จะยิ่งมีคา่ มาก
2𝑥1 − 4 < 2𝑥2 − 3 < 2𝑥3 − 2 < 2𝑥4 − 1
(2𝑥 −1) − (2𝑥1 −4) 2(𝑥4 −𝑥1 )+3
จะได้ สปส พิสยั ที่โจทย์ถาม = 𝑚𝑎𝑥 − 𝑚𝑖𝑛
= (2𝑥4
2𝑥 −2𝑥 +3
= 4 1 = …(∗)
𝑚𝑎𝑥 + 𝑚𝑖𝑛 4 −1) + (2𝑥1 −4) 2𝑥4 +2𝑥1 −5 2(𝑥4 +𝑥1 )−5
→ ต้องหา 𝑥4 − 𝑥1 กับ 𝑥4 + 𝑥1 มาแทนใน (∗)
โจทย์ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , 𝑥4 มีมธั ยฐาน = 14 จะได้ 𝑥2+𝑥 2
3
= 14 ดังนัน ้ 𝑥2 + 𝑥3 = 28 …(1)
𝑥1 +𝑥2 +𝑥3 +𝑥4
มี 𝑥̅ = 15 จะได้ 4
= 15 ดังนัน ้ 𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + 𝑥4 = 60 …(2)
(2) – (1) : 𝑥1 + 𝑥4 = 32 …(3)
มีพิสยั = 8 จะได้ 𝑥4 − 𝑥1 = 8 …(4)
2(8)+3 19
แทน (3) และ (4) ลงใน (∗) จะได้ สปส พิสยั ที่โจทย์ถาม = 2(32)−5 = 59

22. กาหนดให้เส้นตรง 3𝑥 − 4𝑦 − 6 = 0 ตัง้ ฉากกับเส้นตรง 𝑥 + 𝑎𝑦 + 3 = 0 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง


ถ้าเส้นตรงทัง้ สองตัดกันทีจ่ ดุ A และเส้นตรงทัง้ สองตัดแกน 𝑥 ที่จดุ B และจุด C ตามลาดับ แล้วพืน้ ที่ของรูป
สามเหลีย่ ม ABC ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6 ตารางหน่วย 2. 8 ตารางหน่วย 3. 10 ตารางหน่วย
4. 12 ตารางหน่วย 5. 14 ตารางหน่วย
ตอบ 1
3𝑥 − 4𝑦 − 6 = 0 𝑥 + 𝑎𝑦 + 3 = 0
3𝑥 − 6 = 4𝑦 𝑎𝑦 = −𝑥 − 3 ตัง้ ฉากกัน ความชันคูณกันได้ −1
3
4
6
𝑥− 4 = 𝑦 𝑦
1
= −𝑎𝑥 −𝑎
3
ดังนัน้ 34 × − 𝑎1 = −1
1 3
ความชัน =
3
4
ความชัน = −
𝑎 4
= 𝑎

หาจุด A ที่เป็ นจุดตัดสองเส้นตรง → แก้ระบบสมการ หาจุด B , C ที่เป็ นจุดตัดแกน 𝑥 → แทน 𝑦 = 0


3𝑥 − 4𝑦 − 6 = 0 …(1)
3
𝑥 + 4𝑦 + 3 = 0 …(2) 3𝑥 − 4𝑦 − 6 = 0
3𝑥 − 4(0) − 6 = 0
9
(2) × 3 : 3𝑥 + 4 𝑦 + 9 = 0 …(3) 𝑥 = 2
9
(3) – (1) : 4
𝑦 + 4𝑦 + 15 = 0
25 3
𝑦 = −15 𝑥 + 4𝑦 + 3 = 0
4
12 3
𝑦 = − 𝑥+ (0) + 3= 0
5 4
3 12 𝑥 = −3
(2) : 𝑥 + 4 (− 5
)+ 3 = 0
6
𝑥 = −5

ดังนัน้ จะได้พิกดั จุด A คือ 6


(− 5 , −
12
5
) ดังนัน้ จะได้พิกดั B, C คือ (2, 0) และ (−3, 0)
PAT 1 (ต.ค. 59) 31

C B
นา A, B, C ไปวาดรูป จะได้ −3 2
จะได้พนื ้ ที่ ∆ABC =
1
2
× BC × ℎ
1 12

12 = 2
× (2 − (−3)) × ( 5 )
A 5
= 6

23. ข้อมูลประชากรชุดหนึง่ ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥10 โดยมีสมั ประสิทธิ์ของการแปรผันเท่ากับ 62.5% และมี


ความแปรปรวนเท่ากับ 25 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑥12 , 𝑥22 , … , 𝑥10
2
เท่ากับ 89
(ข) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ −𝑥1 , −𝑥2 , … , −𝑥10 เท่ากับ 5
10
(ค)  (𝑥𝑖 − 5)2 มีคา่ น้อยที่สดุ
i 1

ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 1
จากสูตรความแปรปรวน 𝑣 = 𝑠2 ดังนัน้ 𝑠 2 = 25 จากสูตร สปส การแปรผัน = 𝑥̅𝑠 ดังนัน้ 𝑠
𝑥̅
=
62.5
100
𝑠 = 5 5 2.5
𝑥̅
= 4
8 = 𝑥̅
∑ 𝑥𝑖2
ก. จากสูตร 𝑠2 = 𝑁
− 𝑥̅ 2
∑ 𝑥𝑖2
25 = 𝑁
− 82
∑ 𝑥𝑖2
89 =
𝑁
ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑥12 , 𝑥22 , … , 𝑥10
2
= 89 → (ก) ถูก
ข. การคูณข้อมูลทุกตัวด้วย 𝑘 จะทาให้สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเปลีย่ นเป็ น |𝑘| เท่าของของเดิม
ข้อมูล −𝑥1 , −𝑥2 , … , −𝑥10 เกิดจากการคูณข้อมูลเดิมทุกตัวด้วย −1
ดังนัน้ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานใหม่ = |−1| 𝑠 = |−1|(5) = 5 → (ข) ถูก
10
ค. จากสมบัติของ 𝑥̅ จะได้วา่  (𝑥𝑖 − 𝑎)2 มีคา่ น้อยที่สดุ เมื่อ 𝑎 = 𝑥̅ = 8
i 1
10
จึงสรุปไมได้วา่  (𝑥𝑖 − 5)2 มีคา่ น้อยที่สดุ → (ค) ผิด
i 1
32 PAT 1 (ต.ค. 59)

24. กาหนดให้ 𝑎⃑ และ 𝑏⃑⃑ เป็ นเวกเตอร์ โดยที่ 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ = 15 , |𝑎⃑| = 6 และ (2𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑) ∙ (𝑎⃑ − 𝑏⃑⃑) = 32
ค่าของ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. √76 3. 9
4. √106 5. √136
ตอบ 2
การดอท สามารถกระจายในการบวกลบเวกเตอร์ได้ ดังนัน้
(2𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑) ∙ (𝑎⃑ − 𝑏⃑⃑) = 32 และจากสูตร |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2𝑢̅ ∙ 𝑣̅
⃑⃑ ⃑⃑ ⃑⃑ ⃑⃑
2𝑎⃑ ∙ 𝑎⃑ − 2𝑎⃑ ∙ 𝑏 + 𝑏 ∙ 𝑎⃑ − 𝑏 ∙ 𝑏 = 32 2 2
2 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 จะได้ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| = |𝑎⃑|2 + |2𝑏⃑⃑| − 2𝑎⃑ ∙ 2𝑏⃑⃑
2 |𝑎⃑|2 − 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ − |𝑏⃑⃑| = 32 2
2 = |𝑎⃑|2 + 4|𝑏⃑⃑| − 4𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑
2(62 ) − 15 − |𝑏⃑⃑| = 32
2 = 62 + 4(52 ) − 4(15)
25 = |𝑏⃑⃑| = 76
5 = |𝑏⃑⃑|
ดังนัน้ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| = √76

25. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับของจานวนจริง โดยที่ 𝑎1 = 1 และ 𝑎𝑛 = 2𝑎𝑛−1 + 3 สาหรับ


𝑎𝑛
𝑛 = 2, 3, 4, … ค่าของ lim 𝑎 −𝑎
n   𝑛+2
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
𝑛+1

1. 0 2. 0.5 3. 1 4. 2.5 5. 4
ตอบ 2
𝑎𝑛
จัดรูป 𝑎 โดยจะย้อน 𝑎𝑛+2 → 𝑎𝑛+1 → 𝑎𝑛 ตามลาดับ
𝑛+2 −𝑎𝑛+1

จาก 𝑎𝑛 = 2𝑎𝑛−1 + 3

แทน 𝑛 ด้วย 𝑛+2 แทน 𝑛 ด้วย 𝑛+1


𝑎𝑛+2 = 2𝑎𝑛+2−1 + 3 𝑎𝑛+1 = 2𝑎𝑛+1−1 + 3
= 2𝑎𝑛+1 + 3 = 2𝑎𝑛 +3

𝑎𝑛 𝑎𝑛 𝑎𝑛 𝑎𝑛 𝑎𝑛 𝑎𝑛 1
ดังนัน้ 𝑎𝑛+2 −𝑎𝑛+1
= 2𝑎𝑛+1 +3 − 𝑎𝑛+1
= 𝑎𝑛+1 + 3
= 2𝑎𝑛 +3 + 3
= 2𝑎𝑛 +6
=
𝑎𝑛 (2 +
6
)
=
2+
6
𝑎𝑛 𝑎𝑛

(ดึง 𝑎𝑛 ออกมาตัดกับข้างบน)

จาก 𝑎1 = 1 และ 𝑎𝑛 = 2𝑎𝑛−1 + 3 จะเห็นว่าแต่ละพจน์ จะเพิม่ ขึน้ แบบทวีคณ


ู (2 เท่า บวก 3)
6
ดังนัน้ ลาดับ 𝑎𝑛 จะเพิ่มขึน้ อย่างไม่มีขอบเขต ทาให้ nlim

𝑎𝑛 = ∞ ซึง่ จะได้วา่ lim
n 𝑎𝑛
=0
𝑎𝑛 1 1 1
ดังนัน้ nlim
 𝑎𝑛+2 −𝑎𝑛+1
= lim
n 2 +
6 =
2+0
=
2
= 0.5
𝑎𝑛
PAT 1 (ต.ค. 59) 33

1 1
26. ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ  𝑎(1 − 𝑥 2 ) 𝑑𝑥 =  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 แล้ว 𝑎 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1 1
2𝜋 2𝜋 3𝜋 𝜋 3𝜋
1. 5
2. 7
3. 7
4. 3
5. 8
ตอบ 5
1 1
 𝑎(1 − 𝑥 2 ) 𝑑𝑥  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 → จะอินทิเกรตไม่ออก
1 1
1
= 𝑎  1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 ต้องหาจากพืน้ ที่ใต้กราฟ 𝑦 = √1 − 𝑥 2 ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 1
1
𝑦2 = 1 − 𝑥2 ; 𝑦 ≥ 0
𝑥3 1
= 𝑎 ( 𝑥− | ) 𝑥 + 𝑦2 = 1
2
3
−1 เพราะ 𝑦 = ผลรูท
1 −1 เป็ นวงกลม ที่ 𝑦 ≥ 0
= 𝑎 ( (1 − 3) − (−1 − 3
)) จะเป็ นลบไม่ได้
1 1
= 𝑎 ( 1−3 +1− )
3 −1 1
4𝑎
= 1
3
ดังนัน้  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 = พืน้ ที่ครึง่ วงกลม รัศมี 1 หน่วย (ครึง่ บน)
1
1 𝜋
= 2
𝜋(12 ) = 2
4𝑎 𝜋 3𝜋
โจทย์ให้สองฝั่งเท่ากัน ดังนัน้ 3
= 2
ซึง่ จะได้ 𝑎= 8

16−𝑥
27. ให้ 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ (log 9 4)𝑥 +2𝑥 < (22 log2(log3 2) )
2

แล้ว 𝐴 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้


1. (−∞, −9) ∪ (3, ∞) 2. (−∞, −7) ∪ (4, ∞) 3. (0, ∞)
4. (−∞, 1) 5. (−9, 5)
ตอบ 2
2 +2𝑥 16−𝑥
(log 9 4)𝑥 < (22 log2 (log3 2) )
16−𝑥 𝑛 log 𝑎 𝑥 = log 𝑎 𝑥 𝑛
(log 32 2 2 )𝑥 2 +2𝑥 log2(log3 2)2
< (2 )
𝑥 2 +2𝑥 𝑎log𝑎 𝑥 = 𝑥
2 2 )16−𝑥
(2 log 3 2) < ( (log 3 2)
2
(𝑎𝑚 )𝑛 = 𝑎𝑚𝑛
( log 3 2)𝑥 +2𝑥 < ( log 3 2 )32−2𝑥
2 ตัด log 3 2 ทัง้ สองข้าง
𝑥 + 2𝑥 > 32 − 2𝑥
𝑥 2 + 4𝑥 − 32 > 0 เนื่องจาก log 3 2 < 1 จึงต้องกลับ น้อยกว่า เป็ น มากกว่า
(𝑥 + 8)(𝑥 − 4) > 0

+ − +
จะได้เซตคาตอบคือ (−∞, −8) ∪ (4, ∞)
−8 4 ซึง่ จะเป็ นสับเซตของ (−∞, −7) ∪ (4, ∞) ในข้อ 2.
34 PAT 1 (ต.ค. 59)

28. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎59 เป็ นลาดับของจานวนจริง โดยที่


𝑎2 − 𝑎1 = 𝑎3 − 𝑎2 = … = 𝑎𝑖+1 − 𝑎𝑖 = … = 𝑎59 − 𝑎58
ให้ 𝑏1 = 𝑎1 และ 𝑏𝑛 = 𝑏𝑛−1 + 𝑎𝑛−1 สาหรับ 𝑛 = 2, 3, 4, … , 60 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑏4 = 3𝑎1 + 𝑎4
(ข) 𝑏1 + 𝑏2 + 𝑏3 = 5𝑎1 + 𝑎2
(ค) 𝑏60 = 𝑎1 + 59𝑎30
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 4
จาก 𝑏𝑛 = 𝑏𝑛−1 + 𝑎𝑛−1 แทน 𝑛=2 จะได้ 𝑏2 = 𝑏1 + 𝑎1 = 2𝑎1
แทน 𝑛=3 จะได้ 𝑏3 = 𝑏2 + 𝑎2 = 2𝑎1 + 𝑎2
แทน 𝑛=4 จะได้ 𝑏4 = 𝑏3 + 𝑎3 = 2𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3
แทน 𝑛=5 จะได้ 𝑏5 = 𝑏4 + 𝑎4 = 2𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4

จะเห็นว่า 𝑏𝑛 = 2𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎𝑛−1
จาก 𝑎2 − 𝑎1 = 𝑎3 − 𝑎2 = … จะเห็นว่าแต่ละพจน์ของลาดับ เพิ่ม-ลด อย่างคงที่เท่าๆกัน
ดังนัน้ จะได้วา่ ลาดับ 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต → สมมติให้ ผลต่างร่วม = 𝑑 จะได้ 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
ก) 𝑏4 = 3𝑎1 + 𝑎4 ข) 𝑏1 + 𝑏2 + 𝑏3 = 5𝑎1 + 𝑎2
2𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 = 3𝑎1 + 𝑎4 𝑎1 + 2𝑎1 + (2𝑎1 + 𝑎2 ) = 5𝑎1 + 𝑎2
2𝑎1 + (𝑎1 + 𝑑) + (𝑎1 + 2𝑑) = 3𝑎1 + 𝑎1 + 3𝑑 5𝑎1 + 𝑎2 = 5𝑎1 + 𝑎2
4𝑎1 + 3𝑑 = 4𝑎1 + 3𝑑 → ข. ถูก
→ ก. ถูก
ค) 𝑏60 = 𝑎1 + 59𝑎30 𝑛
𝑎1 + 𝑎2 + … + 𝑎𝑛 = (2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑)
2𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎59 = 𝑎1 + 59𝑎30 2
𝑎1 + (𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎59 ) = 𝑎1 + 59𝑎30
59
𝑎1 + (2𝑎1 + 58𝑑) = 𝑎1 + 59(𝑎1 + 29𝑑)
2
𝑎1 + 59𝑎1 + 59(29)𝑑 = 𝑎1 + 59𝑎1 + 59(29𝑑) → ค. ถูก

29. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์ตา่ งกัน 3 เล่ม หนังสือวิชาภาษาไทยต่างกัน 2 เล่ม และหนังสือภาษาอังกฤษเหมือนกัน


5 เล่ม ถ้าต้องการจัดเรียงหนังสือ 5 เล่มวางบนชัน ้ โดยมีหนังสือแต่ละวิชาอย่างน้อย 1 เล่ม และมีจานวนหนังสือ
วิชาคณิตศาสตร์และหนังสือวิชาภาษาไทยรวมกันอย่างมาก 3 เล่ม จานวนวิธีจดั เรียงหนังสือ 5 เล่มดังกล่าวเท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี ้
1. 360 วิธี 2. 390 วิธี 3. 660 วิธี
4. 680 วิธี 5. 740 วิธี
ตอบ 3
โจทย์ให้ คณิต + ไทย มีได้อย่างมาก 3 เล่ม แต่ตอ้ งมีวิชาละ 1 เล่มเป็ นอย่างน้อย ดังนัน้ จะแบ่งได้เป็ น 3 กรณี คือ
“คณิต 1 เล่ม ไทย 1 เล่ม” , “คณิต 2 เล่ม ไทย 1 เล่ม” และ “คณิต 1 เล่ม ไทย 2 เล่ม”
PAT 1 (ต.ค. 59) 35

กรณี คณิต 1 เล่ม ไทย 1 เล่ม :


เลือกคณิต 1 เล่ม จาก 3 เล่ม และเลือกตาแหน่งวางจาก 5 ตาแหน่ง → เลือกได้ 3 × 5 แบบ
เลือกไทย 1 เล่ม จาก 2 เล่ม และเลือกตาแหน่งวางจาก 4 ตาแหน่งที่เหลือ → เลือกได้ 2 × 4 แบบ
ที่เหลือ 3 ตาแหน่ง เอาอังกฤษวาง (ไม่ตอ้ งเลือกอังกฤษ เพราะอังกฤษเหมือนกันทุกเล่ม)
รวมจานวนแบบ = 3 × 5 × 2 × 4 = 120 แบบ
กรณี คณิต 2 เล่ม ไทย 1 เล่ม :
เลือกคณิต 2 เล่ม จาก 3 เล่ม เล่มแรกเลือกวางได้ 5 ตาแหน่ง
เล่มที่สองเลือกวางได้ 4 ตาแหน่ง → รวมเลือกได้ (32) × 5 × 4 แบบ
เลือกไทย 1 เล่ม จาก 2 เล่ม และเลือกตาแหน่งวางจาก 3 ตาแหน่งที่เหลือ → เลือกได้ 2 × 3 แบบ
รวมจานวนแบบ = (32) × 5 × 4 × 2 × 3 = 360 แบบ
กรณี คณิต 1 เล่ม ไทย 2 เล่ม :
เลือกคณิต 1 เล่ม จาก 3 เล่ม และเลือกตาแหน่งวางจาก 5 ตาแหน่ง → เลือกได้ 3 × 5 แบบ
เลือกไทย 2 เล่ม จาก 2 เล่ม เล่มแรกเลือกวางได้ 4 ตาแหน่ง
เล่มที่สองเลือกวางได้ 3 ตาแหน่ง → รวมเลือกได้ (22) × 4 × 3 แบบ
รวมจานวนแบบ = 3 × 5 × (22) × 4 × 3 = 180 แบบ
รวมจานวนแบบทัง้ หมด = 120 + 360 + 180 = 660 แบบ

30. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑥 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ 2 log 1 (4𝑥 + 24) + log 2(8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) = 0
4
ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนเต็มในเซต 𝐴 ที่มีคา่ มากที่สดุ แล้วค่าของ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
(𝑎 + 1)2
1. 1 2. 4 3. 9 4. 16 5. 25
ตอบ 3
2 log 1 (4𝑥 + 24) + log 2 (8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) = 0
4
2 log 2−2 (4𝑥 + 24) + log 2 (8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) = 0 1
2 log 𝑎𝑛 𝑥 = log 𝑎 𝑥
−2
log 2 (4𝑥 + 24) + log 2 (8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) = 0 𝑛

− log 2 (4𝑥 + 24) + log 2(8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) = 0


log 2 (8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) − log 2 (4𝑥 + 24) = 0 𝑥
log 𝑎 𝑥 − log 𝑎 𝑦 = log 𝑎
8−4𝑥−𝑥 2 𝑦
log 2 4𝑥+24 = 0
8−4𝑥−𝑥 2
= 20
4𝑥+24
8 − 4𝑥 − 𝑥 2 = 1(4𝑥 + 24)
0 = 𝑥 2 + 8𝑥 + 16
0 = (𝑥 + 4)2
𝑥 = −4
คาตอบต้องไม่ทาให้หลัง log เป็ นลบหรือศูนย์ log 1 (4𝑥 + 24) : 4(−4) + 24 = 8 > 0 
4
log 2 (8 − 4𝑥 − 𝑥 2 ) : 8 − 4(−4) − (−4)2 = 8 > 0 
ดังนัน้ −4 เป็ นคาตอบได้ จะได้ (𝑎 + 1)2 = (−4 + 1)2 = 9
36 PAT 1 (ต.ค. 59)

31. ให้ 𝑆 ′ แทนคอมพลีเมนต์ของเซต 𝑆 และ 𝑛(𝑆) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝑆


กาหนดให้ 𝒰 แทนเอกภพสัมพัทธ์ โดยที่ 𝑛(𝒰) = 70 ถ้า 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นสับเซตของ 𝒰 โดยที่ 𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶 ≠ ∅
และ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵′ ) = 25 , 𝑛(𝐵 − 𝐶) = 18 , 𝑛(𝐶 ∩ 𝐴′ ) = 16 และ 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵)′ − 𝐶) = 7
แล้ว 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) เท่ากับเท่าใด
ตอบ 4

𝐴 𝐵 𝐴 𝐵 𝐴 𝐵 𝐴 𝐵

𝐶 𝐶 𝐶 𝐶
′) ′) ′
𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 = 25 𝑛(𝐵 − 𝐶) = 18 𝑛(𝐶 ∩ 𝐴 = 16 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵) − 𝐶) = 7
=𝐴−𝐵 =𝐶−𝐴 = (𝐴 ∪ 𝐵)′ ∩ 𝐶 ′
= (𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶)′

𝐴 𝐵
ถ้านาส่วนที่แรเงาทัง้ 4 รูปมารวมกัน
= 25 + 18 + 16 + 7
จะได้เกือบครบทุกส่วน (ยกเว้นตรงกลาง) ดังรูป = 66
𝐶

แต่โจทย์ให้ทกุ ส่วนรวมกัน 𝑛(𝒰) = 70 → จะเหลือตรงกลาง 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) = 70 − 66 = 4

32. ให้เวกเตอร์ 𝑣⃑ = 𝑎𝑖⃑ + 𝑏𝑗⃑ + 𝑐𝑘⃑⃑ เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง และให้เวกเตอร์ 𝑢⃑⃑ = 𝑖⃑ − 𝑘⃑⃑
และ 𝑤 ⃑⃑⃑ = 2𝑖⃑ + 𝑗⃑ + 2𝑘⃑⃑ ถ้าเวกเตอร์ 𝑣⃑ มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢
⃑⃑ × 𝑤⃑⃑⃑ และขนาดของเวกเตอร์ 𝑣⃑ เท่ากับ
6√2 หน่วย แล้วค่าของ 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 12
1 2 (0)(2) − (−1)(1) 1 เวกเตอร์ขนาด 𝑘 หน่วย
𝑢 ⃑⃑⃑ = [ 0 ] × [1] = [(−1)(2) − (1)(2)] = [−4]
⃑⃑ × 𝑤
−1 2 (1)(1) (0)(2) 1
ในทิศของ 𝑢⃑⃑ คือ |𝑢𝑘⃑⃑| 𝑢⃑⃑

ดังนัน้ |𝑢 ⃑⃑⃑| = √12 + (−4)2 + 12 = √18 = 3√2
⃑⃑ × 𝑤
1 1 2 𝑎
6 √2
จะได้เวกเตอร์ขนาด 6√2 หน่วย ในทิศ 𝑢⃑⃑ × 𝑤
⃑⃑⃑ คือ 3 2 [−4] = 2 [−4] = [−8] = [𝑏]

1 1 2 𝑐
ดังนัน้ 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 = 2 − (−8) + 2 = 12

𝑛2 +𝑎 21
33. ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ  𝑛−1 = แล้วค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
n 1 3 2

ตอบ 4
12 +𝑎 22 +𝑎 32 +𝑎 42 +𝑎
กระจายซิกมา จะได้ 30
+ 31
+ 32
+ 33
+⋯ =
21
2
…(1)
12 +𝑎 22 +𝑎 32 +𝑎 42 +𝑎
÷ 3 ตลอดให้ตาแหน่งเลือ่ น + + + +⋯ =
7
…(2)
31 32 33 34 2
12 +𝑎 22 −12 32 −22 42 −32 14
(1) − (2) : 30
+ 31
+ 32
+ 33
+⋯ = 2
𝑎 1 3 5 7
30
+ 30 + 31
+ 32
+ 33
+⋯ = 7 …(3)
PAT 1 (ต.ค. 59) 37

𝑎 1 3 5 7
+ + + + +⋯ = 7 …(3)
30 30 31 32 33

÷ 3 ตลอด (อีกรอบ) 𝑎
+ 31 +
1 3
+
5
+
7
+⋯ =
7
…(4)
31 32 33 34 3
𝑎 1 𝑎 2 2 2 7
(3) − (4) : 30
+ 30 − 31 + 31 + 32
+ 33
+⋯ = 7−3

2 1 𝑎1
อนุกรมเรขาคณิตอนันต์ 𝑎1 = 3 และ 𝑟=3 → จะได้ผลบวก = 1−𝑟
2
𝑎 3 14
𝑎+1−3 + 1 = 3
1−
3
2𝑎 14
3
+1 + 1 = 3
2𝑎 8
3
= 3
𝑎 = 4

34. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑥 ∈ (0, 2𝜋) ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ cos 2𝑥 + sin 𝑥 = tan 225°
ถ้า 𝜃 เป็ นผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐴 แล้วค่าของ cos 𝜃 − cos 𝜃3 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 1.5
cos 2𝑥 + sin 𝑥 = tan 225°
1 − 2 sin2 𝑥 + sin 𝑥 = 1
0 = 2 sin2 𝑥 − sin 𝑥
0 = sin 𝑥 (2 sin 𝑥 − 1)
1
sin 𝑥 = 0 หรือ sin 𝑥 = 2
𝜋 5𝜋
𝑥 ∈ (0, 2𝜋) → 𝑥=𝜋 𝑥=6, 6
𝜋 5𝜋 𝜃 2𝜋
จะได้ผลบวกคาตอบ 𝜃 = 𝜋+6+ 6
= 2𝜋 → ดังนัน้ cos 𝜃 − cos 3 = cos 2𝜋 − cos 3
1
= 1 − (− ) = 1.5
2

3
35. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = |𝑥 − 1| + |𝑥 + 2| เมื่อ −3 ≤ 𝑥 ≤ 3 ค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด
3

ตอบ 23
จะแบ่งการอินทิเกรตในช่วง [3, −3] ที่ 𝑥 = 1 และ −2
𝑥−1: − − +
เพื่อให้รูเ้ ครือ่ งหมายบวกลบของ 𝑥 − 1 และ 𝑥 + 2 ที่อยูใ่ นค่าสัมบูรณ์ 𝑥+2: − + +
𝑎 , 𝑎≥0
แล้วใช้สมบัติ |𝑎| = {
−𝑎 , 𝑎<0
เพื่อถอดเครือ่ งหมายค่าสัมบูรณ์ −2 1

3 2 1 3
 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
3 3 2 1
2 1 3
=  −(𝑥 − 1) − (𝑥 + 2) 𝑑𝑥 +  −(𝑥 − 1) + (𝑥 + 2) 𝑑𝑥 +  (𝑥 − 1) + (𝑥 + 2) 𝑑𝑥
3 2 1
2 1 3
=  −2𝑥 − 1 𝑑𝑥 +  3 𝑑𝑥 +  2𝑥 + 1 𝑑𝑥
3 2 1
−2 1 3
= −𝑥 2 − 𝑥 | + 3𝑥 | + 𝑥2 + 𝑥 |
−3 −2 1
= (−(−2)2 − (−2)) − (−(−3) − (−3)) + 2
3(1) − 3(−2) + (32 + 3) − (12 + 1)
38 PAT 1 (ต.ค. 59)

= 4 + 9 + 10
= 23

36. ค่าของ 13 sin(2 arctan 23) + 4 tan2(arccos 23) เท่ากับเท่าใด


ตอบ 17
หลัง arc เป็ นบวก จะได้ผลลัพธ์เป็ นมุมในจตุภาคที่ 1 → วาดสามเหลีย่ มได้โดยไม่ตอ้ งห่วงเครือ่ งหมาย
arctan 3
2
คือมุมที่ tan แล้วได้ 23 (= ข้ชิาดม ) → วาดสามเหลีย่ มได้ดงั รูป = √22 + 32
พีทากอรัส จะได้ดา้ นที่เหลือ = √13 = √13
2 ข้าม 2
ดังนัน้ sin (arctan 3) = ฉาก =
√13 2
2
arctan
2 ชิด 3 3
cos (arctan ) = = 3
3 ฉาก √13
2 2 2
จะได้ sin(2 arctan ) = 2 sin (arctan ) cos (arctan )
3 3 3
2 3 12 sin 2𝜃 = 2 sin 𝜃 cos 𝜃
= 2 ( ) ( ) =
√13 √13 13
2 2 ชิด
ทานองเดียวกัน arccos 3 คือมุมที่ cos แล้วได้ 3
(= ฉาก )

→ วาดสามเหลีย่ มได้ดงั รูป 3 = √32 − 22


= √5 2 ข้าม
arccos
2
3
จะได้ tan (arccos 3) = ชิด =
√5
2
2
2
2 2 12
แทนค่าในโจทย์ จะได้ 13 sin(2 arctan 3) + 4 tan2 (arccos 3) = 13 (13) + 4 ( 2 ) = 17
√5

37. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนจริงทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ √3𝑥 − 5 + √4𝑥 + 3 = √2𝑥 − 3 + √5𝑥 + 1


และให้ 𝐵 = { 𝑥 2 | 𝑥 ∈ 𝐴 } ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดใน 𝐵 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 4
√3𝑥 − 5 + √4𝑥 + 3 = √2𝑥 − 3 + √5𝑥 + 1
2 2
(√3𝑥 − 5 + √4𝑥 + 3) = (√2𝑥 − 3 + √5𝑥 + 1)
3𝑥 − 5 + 2√(3𝑥 − 5)(4𝑥 + 3) + 4𝑥 + 3 = 2𝑥 − 3 + 2√(2𝑥 − 3)(5𝑥 + 1) + 5𝑥 + 1
7𝑥 − 2 + 2√(3𝑥 − 5)(4𝑥 + 3) = 7𝑥 − 2 + 2√(2𝑥 − 3)(5𝑥 + 1)
2√12𝑥 2 − 11𝑥 − 15 = 2√10𝑥 2 − 13𝑥 − 3
12𝑥 2 − 11𝑥 − 15 = 10𝑥 2 − 13𝑥 − 3
2𝑥 2 + 2𝑥 − 12 = 0
𝑥2 + 𝑥 − 6 = 0
(𝑥 + 3)(𝑥 − 2) = 0
𝑥 = −3 , 2
แต่คาตอบต้องไม่ทาให้ในรูทติดลบ → จะเห็นว่า 𝑥 = −3 ใช้ไม่ได้ เพราะจะทาให้ √3𝑥 − 5 = √3(−3) − 5
= √−14
ส่วน 𝑥 = 2 จะทาให้ในรูททัง้ 4 ตัวเป็ นบวกทัง้ หมด จึงใช้ได้ (จะตรวจคาตอบก็ได้ แต่ถา้ ทัง้ 4 ตัวเป็ นบวกหมด จะทาให้
ทัง้ สองข้างของสมการเป็ นบวกก่อนยกกาลังสองทัง้ สองรอบ จึงไม่จาเป็ นต้องตรวจ)
จะได้ 𝐴 = {2} ดังนัน้ 𝐵 = {22} = {4} → จะได้ผลบวกสมาชิกของ 𝐵 คือ 4
PAT 1 (ต.ค. 59) 39

38. จากการสารวจคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ (𝑥𝑖 ) และคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ (𝑦𝑖 ) ของนักเรียนชัน้


มัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 8 คน พบว่า มีความสัมพันธ์เป็ นสมการ 𝑦𝑖 = 10 + 2.5𝑥𝑖 เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 8
ถ้านักเรียนทัง้ 8 คนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนเรียงลาดับจากน้อยไปมากดังนี ้
25 , 32 , 48 , 50 , 𝑎 , 𝑎 + 3 , 𝑎 + 4 , 𝑎 + 6 คะแนน ตามลาดับ
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก และมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ชดุ นีเ้ ท่ากับ 51 คะแนน แล้วผลบวกของ
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์และค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับ
เท่าใด
ตอบ 174.5
8+1 ตัวที่ 4 + ตัวที่ 5
มีขอ้ มูล 8 ตัว ดังนัน้ มัธยฐานจะอยูต่ วั ที่ 2
= 4.5 → จะได้ มัธยฐาน = 2
50 + 𝑎
51 = 2
102 = 50 + 𝑎
52 = 𝑎
ดังนัน้ คะแนนคณิตศาสตร์ คือ 25 , 32 , 48 , 50 , 52 , 55 , 56 , 58
จะได้คา่ เฉลีย่ คณิตศาสตร์ 𝑥̅ = 25 + 32 + 48 + 50 +8 52 + 55 + 56 + 58 = 376
8
= 47
และจาก 𝑦𝑖 = 10 + 2.5𝑥𝑖 → ใช้สมบัติของค่าเฉลีย่ จะได้วา่ 𝑦̅ กับ 𝑥̅ จะต้องมีความสัมพันธ์แบบเดียวกันด้วย
นั่นคือ จะได้ 𝑦̅ = 10 + 2.5𝑥̅ = 10 + 2.5(47) = 10 + 117.5 = 127.5
ดังนัน้ 𝑥̅ + 𝑦̅ = 47 + 127.5 = 174.5

39. กาหนดข้อมูล 2 ชุด คือ ข้อมูล (𝑥) และข้อมูล (𝑦) ดังนี ้


𝑥 𝑥1 𝑥2 𝑥3 𝑥4 𝑥5
𝑦 𝑦1 𝑦2 𝑦3 𝑦4 𝑦5

โดยที่ 1 ≤ 𝑥𝑖 ≤ 25 สาหรับ 𝑖 = 1, 2, 3, 4, 5
5 5 5 5
 𝑥𝑖2 = 175 ,  𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 1575 ,  (𝑥𝑖 + 𝑦𝑖 ) = 275 ,  (20𝑥𝑖 − 𝑦𝑖 ) = 250
i 1 i 1 i 1 i 1

และข้อมูลทัง้ สองชุดมีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั แบบเส้นตรงคือ 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑚, 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑥 = 4 แล้วค่าประมาณของ 𝑦 จะเท่ากับเท่าใด
ตอบ 43.5
กระจาย ∑ เพื่อสร้างระบบสมการ และหา ∑ 𝑥𝑖 กับ ∑ 𝑦𝑖 ก่อน
→ จาก ∑(𝑥𝑖 + 𝑦𝑖 ) = 275 จะได้ ∑ 𝑥𝑖 + ∑ 𝑦𝑖 = 275 …(1)
→ จาก ∑(20𝑥𝑖 − 𝑦𝑖 ) = 250 จะได้ 20 ∑ 𝑥𝑖 − ∑ 𝑦𝑖 = 250 …(2)
(1) + (2) : 21∑ 𝑥𝑖 = 525
∑ 𝑥𝑖 = 25 → แทนใน (1) : 25 + ∑ 𝑦𝑖 = 275
∑ 𝑦𝑖 = 250

แทนค่า ∑ ที่หาได้ ในสูตรความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั แบบเส้นตรง ∑ 𝑦𝑖 = 𝑚 ∑ 𝑥𝑖 + 𝑛𝑐


∑ 𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 𝑚 ∑ 𝑥𝑖2 + 𝑐 ∑ 𝑥𝑖
จะได้ 250 = 𝑚(25) + 5𝑐 …(3)
1575 = 𝑚(175) + 𝑐(25) …(4)
40 PAT 1 (ต.ค. 59)

(3) ÷ 5 : 50 = 5𝑚 + 𝑐 …(5)
(4) ÷ 25 : 63 = 7𝑚 + 𝑐 …(6)
(6) − (5): 13 = 2𝑚
6.5 = 𝑚
แทนใน (5) : 50 = 5(6.5) + 𝑐
17.5 = 𝑐

จะได้สมการ คือ 𝑦̂ = 6.5𝑥 + 17.5 → เมื่อ 𝑥=4 จะได้ 𝑦̂ = 6.5(4) + 17.5 = 43.5

40. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ คะแนนสอบมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ


𝑎 และ 𝑏 คะแนน ตามลาดับ นาย ก. และนาย ข. เป็ นนักเรียนในห้องนี ้ นาย ก. สอบวิชาคณิตศาสตร์ครัง้ นีไ้ ด้
คะแนน 68 คะแนน คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5 ถ้าครูผสู้ อนวิชานี ้ ปรับคะแนนใหม่ โดยเพิ่มคะแนนของนักเรียน
ทุกคนเป็ นสองเท่าของคะแนนเดิม คะแนนใหม่ของนาย ข. มากกว่าคะแนนใหม่ของนาย ก. อยู่ 6 คะแนน และ
คะแนนใหม่ของนาย ข. คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.9 แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 64.25
𝑥 = 68 คิดเป็ น 𝑧 = 1.5 ดังนัน้ 1.5 = 68𝑠− 𝑥̅ = 68𝑏− 𝑎 𝑥 − 𝑥̅
𝑧= 𝑠
1.5𝑏 = 68 − 𝑎 …(1)
ปรับคะแนนทุกคนเป็ น 2 เท่า → คะแนนใหม่ นาย ก. = 2(68) = 136
→ 𝑥̅ ใหม่ = 2𝑥̅เก่า = 2𝑎
→ 𝑠ใหม่ = 2𝑠เก่า = 2𝑏
คะแนนใหม่ นาย ข. มากกว่าคะแนนใหม่ นาย ก. อยู่ 6 คะแนน → คะแนนใหม่ นาย ข. = 136 + 6 = 142
คะแนนใหม่ นาย ข. คิดเป็ น 𝑧 = 1.9 ดังนัน้ 1.9 = 142𝑠− 𝑥̅ใหม่ = 142−2𝑎
2𝑏
=
2(71−𝑎)
2𝑏
=
71−𝑎
𝑏
ใหม่
1.9𝑏 = 71−𝑎 …(2)
(2) − (1) : 1.9𝑏 − 1.5𝑏 = (71 − 𝑎) − (68 − 𝑎)
0.4𝑏 = 3
𝑏 = 7.5
แทนใน (1) : 1.5(7.5) = 68 − 𝑎
𝑎 = 68 − 11.25 = 56.75
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = 56.75 + 7.5 = 64.25

41. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง


2k
ให้ 𝑢𝑘 =  𝑎𝑛 สาหรับ 𝑘 = 1, 2, 3, …
nk
60
ถ้า 𝑢5 = 147 และ 𝑢8 = 342 แล้วค่าของ  𝑎𝑛 เท่ากับเท่าใด
n 1

ตอบ 5610

จาก 𝑢𝑘 =  𝑎𝑛
2k
จะได้
10
𝑢5 =  𝑎𝑛 = 𝑎5 + 𝑎6 + … + 𝑎10
เติม 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , 𝑎4 ทัง้ สองฝั่ง
nk n 5 เพื่อให้ฝ่ ังซ้ายครบ 10 ตัวแรก
โจทย์ให้ 𝑢5 = 147 ดังนัน้ 𝑎5 + 𝑎6 + … + 𝑎10 = 147
𝑎1 + 𝑎2 + … + 𝑎4 + 𝑎5 + 𝑎6 + … + 𝑎10 = 147 + 𝑎1 + 𝑎2 + … + 𝑎4
อนุกรมเลขคณิต 𝑆10 = 147 + 𝑆4
10 4
𝑛
𝑆𝑛 = (2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑) (2𝑎1 + (10 − 1)𝑑) = 147 + 2 (2𝑎1 + (4 − 1)𝑑)
2
2
PAT 1 (ต.ค. 59) 41

10𝑎1 + 45𝑑 = 147 + 4𝑎1 + 6𝑑


6𝑎1 + 39𝑑 = 147
÷3 ตลอด
2𝑎1 + 13𝑑 = 49 …(1)

2k 16 เติม 𝑎1 , 𝑎2 , … , 𝑎7 ทัง้ สองฝั่ง


และจาก 𝑢𝑘 =  𝑎𝑛 จะได้ 𝑢8 =  𝑎𝑛 = 𝑎8 + 𝑎9 + … + 𝑎16
nk n 8 เพื่อให้ฝ่ ังซ้ายครบ 16 ตัวแรก
โจทย์ให้ 𝑢8 = 342 ดังนัน้ 𝑎8 + 𝑎9 + … + 𝑎16 = 342
𝑎1 + 𝑎2 + … + 𝑎7 + 𝑎8 + 𝑎9 + … + 𝑎16 = 342 + 𝑎1 + 𝑎2 + … + 𝑎7
𝑆16 = 342 + 𝑆7
16 7
(2𝑎1 + (16 − 1)𝑑) = 342 + 2 (2𝑎1 + (7 − 1)𝑑)
2
16𝑎1 + 120𝑑 = 342 + 7𝑎1 + 21𝑑
9𝑎1 + 99𝑑 = 342
÷9 ตลอด
𝑎1 + 11𝑑 = 38 …(2)
แก้ระบบสมการ (1) กับ (2) : 2𝑎1 + 13𝑑 = 49 …(1)
𝑎1 + 11𝑑 = 38 …(2)
2 × (2) : 2𝑎1 + 22𝑑 = 76 …(3)
(3) – (1) : 9𝑑 = 27
𝑑 = 3 → แทนใน (2) : 𝑎1 + 11(3) = 38
𝑎1 = 5
60
60
ดังนัน้  𝑎𝑛 = 𝑆60 = 2
(2𝑎1 + (60 − 1)𝑑)
n 1
= 30(2(5) + ( 59 )(3)) = 30(187) = 5610

2𝑥 + 22−𝑥 − 5
42. ค่าของ lim
x2 −
𝑥 เท่ากับเท่าใด
2 2 − 21−𝑥
ตอบ 12
2𝑥 + 22−𝑥 − 5 22 + 22−2 − 5 4+1−5 0
ถ้าแทน 𝑥=2 จะได้ −
𝑥 =

2 = 2−1 − 2−1
= 0
หาค่าไม่ได้ → ต้องจัดรูปให้ตดั กันก่อน
2 2 − 21−𝑥 2 2 − 21−2
2𝑥 + 22−𝑥 − 5 2𝑥 2𝑥+𝑥 + 22−𝑥+𝑥 − 5(2𝑥 )
คูณ 2𝑥 ทัง้ เศษและส่วน ให้เลขชีก้ าลังเป็ นบวก → 𝑥 ∙ 𝑥 = 𝑥
2 2 − 21−𝑥 2
− − +𝑥
2 2 − 21−𝑥+𝑥
22𝑥 + 22 −5(2𝑥 ) 22𝑥 − 5(2𝑥 ) + 4
ข้างบน แยกตัวประกอบ = 𝑥 = 𝑥
22 − 2 22 − 2
𝑥 𝑥
𝑥
22𝑥 − 5(2𝑥 ) + 4 (2𝑥 −4)(2𝑥 −1) 22 + 2 (2𝑥 −4)(2𝑥 −1)(22 + 2)
จัดรูปต่อ 𝑥 = 𝑥 ∙ 𝑥 = 2𝑥 −4
= (2𝑥 − 1)(22 + 2)
22 −2 22 −2 22 +2

ข้างล่าง คูณให้เข้าสูตร (น − ล)(น + ล) = น2 − ล2


𝑥 2
2𝑥 + 22−𝑥 − 5
ดังนัน้ lim
x2 −
𝑥 = lim (2𝑥 − 1)(22 + 2) = (22 − 1)(22 + 2) = 12
x2
2 2 − 21−𝑥
42 PAT 1 (ต.ค. 59)

43. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏
2
เป็ นจานวนจริง และสอดคล้องกับ 𝑓 ′′ (1) = 3𝑓 ′ (1) และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 18
1

ถ้าเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥=1 แล้วค่าของ 𝑓(2) เท่ากับเท่าใด


ตอบ 30
เส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 ขนานเส้นโค้งที่ 𝑥=1 → ความชันเส้นตรง = ความชันเส้นโค้งที่ 𝑥 = 1
6𝑥 +4=𝑦 6 = 𝑓 ′ (1)
ความชัน = 6 6 = 𝑎(12 ) + 𝑏(1)
6 = 𝑎 + 𝑏 …(1)

จาก 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 โจทย์ให้


𝑓 ′′ (1) = 3𝑓 ′ (1)
จากความชันเส้นตรง จะได้ 𝑓 ′ (1) = 6
2𝑎(1) + 𝑏 = 3(6)
จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏
2𝑎 + 𝑏 = 18 …(2)
จาก (1) : 𝑎 + 𝑏 = 6 …(1)
(2) − (1) : 𝑎 = 12 แทนใน (1) : 12 + 𝑏 = 6
𝑏 = −6

ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) = 12𝑥 2 − 6𝑥


12𝑥 3 6𝑥 2
อินทิเกรต จะได้ 𝑓(𝑥) = 3
− 2
+ 𝑐 = 4𝑥 3 − 3𝑥 2 + 𝑐 …(∗)
2 2
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  4𝑥 3 − 3𝑥 2 + 𝑐 𝑑𝑥
1 1
4𝑥 4 3𝑥 3 2 2
= 4
− 3
+ 𝑐𝑥 | = 𝑥 4 − 𝑥 3 + 𝑐𝑥 |
1 1
= (24 − 23 + 2𝑐) − (14 − 13 + 𝑐)
= 8 + 𝑐
2
แต่โจทย์ให้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 18 ดังนัน้ 8 + 𝑐 = 18
1
𝑐 = 10

แทนใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 3 − 3𝑥 2 + 10 ดังนัน้ 𝑓(2) = 4(23 ) − 3(22 ) + 10 = 30

44. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 2𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥 −1 ) = 𝑥 + 𝑥 −1 เมื่อ
3 𝑎
𝑥 ≠ 0 ถ้า |𝑓 (4)| = 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก โดยที่ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1
แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 37
จะแทน 𝑥 = 34 กับ 43 เพื่อให้ 𝑥 กับ 𝑥 −1 กลับมาซา้ ทีเ่ ดิม
จาก 2𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥 −1 ) = 𝑥 + 𝑥 −1 แทน 𝑥 = 34 จะได้ 2𝑓 (34) − 𝑓 (43) = 34 + 43 = 25 12
…(1)
4 4 3 4 3 25
แทน 𝑥=3 จะได้ 2𝑓 (3) − 𝑓 (4) = 3
+4 = 12
…(2)

จะหา |𝑓 (34)| ต้องกาจัด 𝑓 (43) → 2 × (1) :


3
4𝑓 (4) − 2𝑓 (3)
4
=
50
12
…(3)
3 75
(3) + (2) : 3𝑓 ( ) =
4 12
3 25
𝑓( ) =
4 12
3 25 𝑎
ดังนัน้ |𝑓 (4)| = 12
= 𝑏 จะได้ 𝑎 + 𝑏 = 25 + 12 = 37
PAT 1 (ต.ค. 59) 43

1 2𝑥+3𝑦 12 1 3𝑥−2𝑦 1 5
45. กาหนดให้ 𝑥 ≥ 0 และ 𝑦 ≥ 0 ถ้า (√2−1 ) ≤ (√2 + 1) และ (
√2+1
) ≥ (
√2+1
)
แล้ว 2𝑥 + 5𝑦 มีคา่ มากที่สดุ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 20
1 2𝑥+3𝑦 12 3𝑥−2𝑦 5
( ) ≤ (√2 + 1) 1 1
√2−1 ( ) ≥ ( )
√2+1 √2+1
2𝑥+3𝑦 12
1 √2+1
( 2−1 ∙ 2+1) ≤ (√2 + 1) ตัดฐาน √2+11
ทัง้ สองฝั่ง
√ √

√2+1
2𝑥+3𝑦 12 ต้องกลับเครือ่ งหมาย ≥ เป็ น ≤ ด้วย
( 2−1 ) ≤ (√2 + 1) 1 1 1
เนื่องจาก √2+1 ≈
1.4+1
= <1
2.4
2𝑥+3𝑦 12
(√2 + 1) ≤ (√2 + 1)
ตัดฐาน √2 + 1 ทัง้ สองฝั่ง 3𝑥 − 2𝑦 ≤ 5
ไม่ตอ้ งกลับเครือ่ งหมาย เนื่องจาก √2 + 1 > 1
2𝑥 + 3𝑦 ≤ 12

โจทย์ถามค่ามากสุดของ 2𝑥 + 5𝑦 → ต้องใช้กาหนดการเชิงเส้น

2𝑥 + 3𝑦 ≤ 12 3𝑥 − 2𝑦 ≤ 5 𝑥 ≥ 0 และ 𝑦 ≥ 0 → เอาเฉพาะใน Q1
3𝑥 − 2𝑦 = 5
A
4 4
B

D C
5 5
6
5 3 3
− 2𝑥 + 3𝑦 = 12
2
5
𝑥=0 → 𝑦=4 𝑥=0 → 𝑦 = −
𝑦=0 → 𝑥=6 5
2 หา B :
2𝑥 + 3𝑦 = 12 …(1)
𝑦=0 → 𝑥 = 3𝑥 − 2𝑦 = 5 …(2)
(0, 0) : 2(0) + 3(0) ≤ 12 จริง 3
(0, 0) : 3(0) – 2(0) ≤ 5 จริง 2 × (1) : 4𝑥 + 6𝑦 = 24 …(3)
→ แรเงาฝั่ งที่มี (0, 0) (ซ้ายล่าง)
→ แรเงาฝั่ งที่มี (0, 0) (ซ้ายบน) 3 × (2) : 9𝑥 − 6𝑦 = 15 …(4)
(3) + (4) : 13𝑥 = 39
𝑥 = 3
(1) : 2(3) + 3𝑦 = 12
3𝑦 = 6
𝑦 = 2
จะได้ B(3, 2)

แทนจุดมุมทุกจุดใน 𝑃 = 2𝑥 + 5𝑦 A(0, 4) 𝑃 = 2(0) + 5(4) = 20 → 𝑃 มากสุด = 20


B(3, 2) 𝑃 = 2(3) + 5(2) = 16
แล้วเลือกจุดที่ได้คา่ 𝑃 มากที่สดุ 5
C( , 0)
5
𝑃 = 2( ) + 5(0) =
10
3 3 3
D(0, 0) 𝑃 = 2(0) + 5(0) = 0
44 PAT 1 (ต.ค. 59)

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Gtr Ping จาก GTRmath สาหรับข้อสอบ และเฉลยละเอียดครับ
ขอบคุณ คุณ บุญช่วย ฤทธิเทพ และ คุณ Kanuay สาหรับข้อสอบ และเฉลยคาตอบครับ
ขอบคุณ คุณ สนธยา เสนามนตรี สาหรับเฉลยข้อ 5
ขอบคุณ คุณ สารศิลป์ ทับทิมทอง
คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค
คุณ สนธยา เสนามนตรี
คุณ Pattarawan Palasan
คุณ โจ้ สิทธิพร
คุณ Hassatorn Thamkijjanon
คุณ Chanon Pulsukserm ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารครับ

You might also like