You are on page 1of 25

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค.

63) 1
23 Apr 2021

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)


วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม 2563 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน
1. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
ถ้ากราฟของเส้นตรง 𝑦 = 6 − 𝑥 ตัดกับกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2
แล้ว 𝑥 + 2 หาร 𝑓(𝑥) เหลือเศษเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4

2. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก ซึง่ เป็ นเลข 3 หลัก ถ้า ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 𝑎, 𝑏 คือ 50 และ 600
ตามลาดับ แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 250 2. 300 3. 350 4. 400 5. 650

3. จุดบนเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0 ซึง่ มีระยะห่างจากจุดกาเนิดสัน้ ที่สดุ คือจุดในข้อใดต่อไปนี ้


1. (− 49 , 12 ) 2. (−2, 1) 3. (− 74 , 32 ) 4. (− 32 , 2) 5. (−1, 3)
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

4. กาหนดให้ 𝑣̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 𝑘̅ ค่าของ (𝑣̅ × 𝑖̅) ∙ (𝑗̅ + 𝑘̅) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. −3 2. −2 3. −1 4. 1 5. 2

5. ค่าของ log 2 40 − log 4 25 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 32 2. 2 3. 52 4. 3 5. 7
2

6. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเมทริกซ์ มิติ 3 × 3 ซึง่ det(𝐴) = 10 ถ้า 𝐵 เป็ นเมทริกซ์ ซึง่ ได้จากการสลับแถวที่ 1 กับ
แถวที่ 2 ของ 𝐴 แล้ว det (15 𝐵) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 2
1. − 25 2. −2 3. 25 4. 2 5. 10
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 3

7. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม ถ้า 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥 เมื่อ 𝑥>0 แล้ว 𝑓 ′ (1) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5

 2𝑛
𝜋
8.  (√2 sin 12 ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n 0
2√3
1. √2 2. 3
3. 2 4. 2√3 5. 4

9. ตารางต่อไปนีเ้ ป็ นตารางแจกแจงความถี่ของความสูงของนักเรียน 40 คน
ความสูง (เซนติเมตร) จานวนนักเรียน
140 – 144 2
145 – 149 8
150 – 154 9
155 – 159 10
160 – 164 6
165 – 169 3
170 – 174 2

เปอร์เซ็นไทล์ที่ 65 ของความสูงของนักเรียน เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 157.00 เซนติเมตร 2. 157.50 เซนติเมตร 3. 157.80 เซนติเมตร
4. 158.00 เซนติเมตร 5. 158.20 เซนติเมตร
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

10. จานวนเต็มที่อยูร่ ะหว่าง 1,000 และ 6,000 ซึง่ มีเลขโดดแต่ละหลักเป็ นเลขคี่ที่แตกต่างกัน มีจานวนทัง้ หมด
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24 2. 36 3. 64 4. 72 5. 144

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
11. เซตของคาตอบทัง้ หมดของอสมการ 𝑥|𝑥| < −|5𝑥 − 14| คือเซตในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−∞, −7) ∪ (2, ∞) 2. (−7, 0) 3. (−14, −5)
4. (−∞, −14) 5. (−∞, −7)

12. จานวนเชิงซ้อนในข้อใดต่อไปนีท้ เี่ ป็ นคาตอบของสมการ (𝑧̅|𝑧|)2 + 2(𝑧̅)3 + 𝑧 + 2 = 0


1 √3 1 √3 1 √3
1. −2 − 2
i 2. −2 + 2
i 3. 2
+ 2
i
4. 1 − √3i 5. 1 + √3i
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 5

13. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก (𝑎, 𝑏) และ [𝑎, 𝑏] คือ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 𝑎 และ 𝑏 ตามลาดับ
ถ้า 𝑎𝑏 = 3 × 27 และ [𝑎, 𝑏] − (𝑎, 𝑏) = 5 × 23 แล้ว [𝑎, 𝑏] เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 48 2. 56 3. 60 4. 72 5. 76

𝜋 sin2 3𝜃 cos2 3𝜃
14. กาหนดให้ 𝜃 ∈ (0, 2 ) ถ้า sin2 𝜃
− cos2 𝜃
= 1 แล้ว cos 𝜃 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 18 2. 2
5
3. 3
7
4. 2
3
5. 34

15. กาหนดให้ วงรี E และไฮเพอร์โบลา H มีโฟกัสร่วมกัน คือ (0, 0) และ (6, 0)


และระยะทางระหว่าง จุดตัดใดๆ ของ E และ H กับจุดโฟกัสทัง้ สอง คือ 6 หน่วย และ 2 หน่วย
สมการของวงรี และสมการของไฮเพอร์โบลา ตามลาดับ คือข้อใดต่อไปนี ้
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
1. 16
+ 7
= 1 และ 5

4
= 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
2. 16
+ 7
= 1 และ 4
− 5 = 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
3. 7
+
16
= 1 และ 4

5
= 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
4. 5
+
4
= 1 และ 7

16
= 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
5. 4
+ 5
= 1 และ 7
− 16 = 1
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

1 1
16. กาหนดให้ เวกเตอร์ 𝑢̅ = [cos 75°] และ 𝑣̅ = [sin 75°]
cos 15° sin 15°
ถ้าสามเหลีย่ มมุมฉากรูปหนึง่ มีดา้ นตรงข้ามมุมฉากยาว |𝑢̅||𝑣̅ | หน่วย และมีดา้ นอีกด้านหนึง่ ยาว |𝑢̅ × 𝑣̅ | หน่วย
แล้ว ความยาวของด้านที่เหลือของสามเหลีย่ มรูปนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
5 √7 3 7
1. 1 หน่วย 2. 4
หน่วย 3. 2
หน่วย 4. 2
หน่วย 5. 4
หน่วย

17. ผลบวกของคาตอบทัง้ หมดของสมการ 12(4𝑥 ) + 18(9𝑥 ) = 35(6𝑥 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. −1 2. − 12 3. 0 4. 1
2
5. 1

25
18. กาหนดให้ และ ผลคูณของคาตอบทัง้ หมดของสมการ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2
𝑥>0 𝑥≠1 𝑥 log5 𝑥 = 𝑥3

1. √5
25
2. √5
5
3. √5 4. 5 5. 5√5
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 7

19. จากระบบสมการเชิงเส้น 𝐴𝑋 = 𝐵 ที่มี 3 สมการ และ 3 ตัวแปร 𝑥, 𝑦, 𝑧


0 −1 3 1 0 3
|1 1 −1| |2 1 −1|
ถ้าหา 𝑥 และ 𝑦 โดยใช้กฎของคราเมอร์ ได้ดงั นี ้ 𝑥 = 2 1 1
det(𝐴)
และ 𝑦 = 1 2 1
det(𝐴)
แล้ว 𝑧 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −1 2. − 12 3. 1
2
4. 1 5. 2

20. กาหนดให้ 𝑆 = { 100 , 101 , 102 , … , 998 , 999 } และ


𝐴 = { 𝑛 ∈ 𝑆 | 𝑛 หารด้วย 5 แล้วเหลือเศษ 4 }
ผลบวกของสมาชิกทุกตัวของ 𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 99,250 2. 99,255 3. 99,260 4. 99,265 5. 99,270

21. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓 มีคา่ วิกฤตที่ 𝑥 = −1 และ 𝑥 = 2 แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1
ข. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2
ค. บนช่วง (−1, 2) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิม่
ง. บนช่วง (−∞, −1) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด
จานวนข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

22. ถ้าพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยกราฟของพาราโบลาซึง่ มีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, −9) และแกน 𝑋 มีคา่ เท่ากับ 9 ตารางหน่วย
แล้ว สมการพาราโบลาคือข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑦 = 𝑥 2 − 9 2. 𝑦 = 2𝑥 2 − 9 3. 𝑦 = 4𝑥 2 − 9
4. 𝑦 = 8𝑥 2 − 9 5. 𝑦 = 16𝑥 2 − 9

23. กาหนดให้ 𝑆 = { 1 , 2 , 3 , … , 9 , 10 } ถ้าสุม่ หยิบสมาชิก 5 ตัวพร้อมกันจาก 𝑆 แล้ว ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะ


ได้เลข 8 เป็ นจานวนที่มคี า่ มากเป็ นอันดับที่ 2 ของสมาชิก 5 ตัวนัน้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 29 2. 13 5
3. 18 4. 218
5. 10
21

24. ถ้าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ ม.3 ของโรงเรียนแห่งหนึง่


0.3413
มีการแจกแจงปกติ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 55 คะแนน
0.0668
มีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน
และทราบพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งดังรูป 40 55 65
แล้ว จานวนเปอร์เซ็นต์ของนักเรียนที่ได้คะแนนระหว่าง 45 และ 70 คะแนน เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 75.00 2. 76.75 3. 77.45 4. 78.50 5. 79.00
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 9

25. กาหนดให้ ข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างชุด 𝑋 คือ 𝑥1 < 𝑥2 < 𝑥3 < … < 𝑥10 มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 8
และ ข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างชุด 𝑌 คือ 𝑦1 < 𝑦2 < 𝑦3 < … < 𝑦10 โดยที่ 𝑦𝑖 = 12 𝑥𝑖 + 4 เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 10
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุด 𝑌 = 8
ข. มัธยฐานของข้อมูลชุด 𝑌 = 12 (มัธยฐานของข้อมูลชุด 𝑋) + 4
ค. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด 𝑌 = 12 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด 𝑋)
ง. ค่ามาตรฐานของ 𝑦𝑖 = 12 (ค่ามาตรฐานของ 𝑥𝑖 ) เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 10
จานวนข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

26. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) = 𝑥 4 + 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 − 5 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็ม


ถ้าสมการ 𝑃(𝑥) = 0 มีคาตอบเป็ นจานวนตรรกยะอย่างน้อยหนึง่ ตัว และมี 1 + 2i เป็ นคาตอบของสมการ
แล้ว 𝑃(2) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −15 2. −10 3. 1 4. 10 5. 15

27. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก ถ้าข้อมูลต่อไปนี ้ 𝑎 , 𝑏 , 4 , 4 , 3 , 3 , 6, 5, 5, 8, 7, 7


มีคา่ พิสยั = มัธยฐาน = ค่าเฉลีย่ เลขคณิต แล้ว 𝑎 ∙ 𝑏 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 12 2. 15 3. 18 4. 20 5. 21
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

28. กาหนดให้ 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … , 𝑎𝑚 เป็ นข้อมูลซึง่ เรียงจากมากไปน้อย


1 1
โดยที่ 𝑎𝑛 = 𝑛(𝑛+1) เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3, … , 𝑚 ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีมธั ยฐานเท่ากับ 120
แล้ว ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1 1
1. 20 2. 21 3. 22 4. 23 5. 24

29. กาหนดให้ 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มีอตั ราส่วนร่วม 𝑟 โดยที่ |𝑟| < 1
ถ้า 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 = 4
𝑎6 + 𝑎7 + ⋯ + 𝑎14 + 𝑎15 = 3

แล้ว  𝑎𝑛 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n 1

1. 8 2. 9 3. 10 4. 11 5. 12

30. กาหนดให้ 𝑆 = { −2 , −1 , 0 , 1 , 2 } และ Ω = { [𝑎 𝑏] | 𝑎, 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑆 }


0 𝑐
จานวนเมทริกซ์ 𝐴 ∈ Ω ซึง่ 𝐴−1 = 𝐴 มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 8 2. 9 3. 10 4. 11 5. 12
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 11

เฉลย
1. 1 7. 4 13. 1 19. 3 25. 4
2. 3 8. 2 14. 5 20. 5 26. 5
3. 2 9. 4 15. 2 21. 3 27. 2
4. 2 10. 4 16. 4 22. 5 28. 2
5. 4 11. 5 17. 1 23. 3 29. 1
6. 1 12. 3 18. 1 24. 3 30. 5

แนวคิด
1. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
ถ้ากราฟของเส้นตรง 𝑦 = 6 − 𝑥 ตัดกับกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2
แล้ว 𝑥 + 2 หาร 𝑓(𝑥) เหลือเศษเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4
ตอบ 1
โจทย์ให้กราฟ ตัดกันที่ 𝑥 = 2 → พิจารณากราฟเส้นตรง 𝑦 = 6 − 𝑥 เมื่อ 𝑥 = 2 จะได้ 𝑦 = 6 − 2 = 4
ดังนัน้ กราฟเส้นตรง ผ่านจุด (2, 4) → กราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุด (2, 4) ด้วย (เพราะกราฟ 2 เส้น ตัดกันที่ 𝑥 = 2)
4 = 𝑓(2)
4 = 23 − 3(2) + 𝑐
2= 𝑐
แทนค่า 𝑐 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 + 2
จากทฤษฎีเศษ 𝑥 + 2 หาร 𝑓(𝑥) จะเหลือเศษ = 𝑓(−2)
= (−2)3 − 3(−2) + 2 = 0

2. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก ซึง่ เป็ นเลข 3 หลัก ถ้า ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 𝑎, 𝑏 คือ 50 และ 600
ตามลาดับ แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 250 2. 300 3. 350 4. 400 5. 650
ตอบ 3
แยกตัวประกอบ 50 และ 600 เป็ นผลคูณของจานวนเฉพาะ จะได้ 50 = 2 × 52
600 = 23 × 3 × 52
ดังนัน้ 𝑎, 𝑏 ทัง้ สองตัว ต้องมี 52 เป็ นตัวประกอบ และ ตัวหนึง่ ต้องมี 2 อีกตัวหนึง่ ต้องมี 23 เป็ นตัวประกอบ
และเนื่องจาก 2 × 52 = 50 มีไม่ถึง 3 หลัก → ดังนัน้ ตัว 3 อีกตัวที่เหลือต้องมาเพิ่มให้ 2 × 52
จะได้ 𝑎 และ 𝑏 คือ 2 × 3 × 52 และ 23 × 52
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = 150 + 200 = 350
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

3. จุดบนเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0 ซึง่ มีระยะห่างจากจุดกาเนิดสัน้ ที่สดุ คือจุดในข้อใดต่อไปนี ้


1. (− 49 , 12 ) 2. (−2, 1) 3. (− 74 , 32 ) 4. (− 32 , 2) 5. (−1, 3)
ตอบ 2
ให้จดุ นัน้ คือ 𝐴(𝑎, 𝑏) เนื่องจากระยะสัน้ สุด คือระยะตัง้ ฉาก → จะวาดได้ดงั รูป
ตัง้ ฉากกัน ความชันจะคูณกันได้ −1 → ความชันเส้นตรง × ความชัน 𝐴𝑂 = −1
เส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0 2 × 𝑎−0
𝑏−0
= −1 𝐴(𝑎, 𝑏)
2𝑥 +5 = 𝑦
−2𝑏 = 𝑎 …(∗) 𝑂
ความชัน = 2 2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0

และเนื่องจาก (𝑎, 𝑏) อยูบ่ นเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 + 5 = 0 → ต้องแทนแล้วทาให้สมการเส้นตรงเป็ นจริง


2𝑎 − 𝑏 + 5 = 0
จาก (∗)
2(−2𝑏) − 𝑏 + 5 = 0
5 = 5𝑏
1 = 𝑏 → แทนใน (∗) จะได้ 𝑎 = −2(1) = −2
จะได้ 𝐴(𝑎, 𝑏) = (−2, 1)

4. กาหนดให้ 𝑣̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 𝑘̅ ค่าของ (𝑣̅ × 𝑖̅) ∙ (𝑗̅ + 𝑘̅) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. −3 2. −2 3. −1 4. 1 5. 2
ตอบ 2
2 1 0
(𝑣̅ × 𝑖̅) ∙ (𝑗̅ + 𝑘̅) = ( [3] × [0] ) ∙ [1]
1 0 1
(3)(0) − (1)(0) 0
= [(1)(1) − (2)(0)] ∙ [1]
(2)(0) − (3)(1) 1
0 0
= [1] ∙ [1] = (0)(0) + (1)(1) + (−3)(1) = −2
−3 1

5. ค่าของ log 2 40 − log 4 25 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 32 2. 2 3. 52 4. 3 5. 7
2
ตอบ 4
log 2 40 − log 4 25 = log 2 40 − log 22 52 𝑥
2 log 𝑁𝑦 𝑀 𝑥 = log 𝑁 𝑀
𝑦
= log 2 40 − 2
log 2 5
= log 2 40 − log 2 5 𝑀
40 log 𝑎 𝑀 − log 𝑎 𝑁 = log 𝑎 ( )
𝑁
= log 2 ( 5 )
= log 2 8 = 3
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 13

6. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเมทริกซ์ มิติ 3 × 3 ซึง่ det(𝐴) = 10 ถ้า 𝐵 เป็ นเมทริกซ์ ซึง่ ได้จากการสลับแถวที่ 1 กับ
แถวที่ 2 ของ 𝐴 แล้ว det (15 𝐵) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 2
1. − 25 2. −2 3. 25 4. 2 5. 10
ตอบ 1
สลับแถว → det จะเปลีย่ นเป็ นลบของของเดิม
det(𝐴) = 10 → จะได้ det(𝐵) = −10
1 1 3 det(𝑘𝐴) = 𝑘 𝑛 det(𝐴)
เนื่องจาก 𝐴 และ 𝐵 มีมิติ 3 × 3 → ใช้สตู ร จะได้ det ( 𝐵) = ( ) det(𝐵)
5 5
1 2
= (−10) = − 25
53

7. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม ถ้า 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥 เมื่อ 𝑥>0 แล้ว 𝑓 ′ (1) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5
ตอบ 4
จาก 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥
)
ให้ √𝑥 − 1 = 𝑘
𝑓( 𝑘 = 𝑥
√𝑥 = 𝑘+1
𝑥 = (𝑘 + 1)2
𝑓( 𝑘 ) = (𝑘 + 1)2
𝑓( 𝑘 ) = 𝑘 2 + 2𝑘 + 1
𝑓 ′( 𝑘 ) = 2𝑘 + 2
𝑓 ′( 1 ) = 2(1) + 2 =4

 2𝑛
𝜋
8.  (√2 sin 12 ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n 0
2√3
1. √2 2. 3
3. 2 4. 2√3 5. 4
ตอบ 2

𝜋 2𝑛 𝜋 2 𝜋 4 𝜋 6
 (√2 sin 12) = 1 + (√2 sin 12) + (√2 sin 12) + (√2 sin 12) + …
n 0
𝜋 2
จะเห็นว่า เป็ นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ที่มี 𝑎1 = 1 และ 𝑟 = (√2 sin 12 )
𝑆∞ =
𝑎1
เมื่อ |𝑟| < 1
1−𝑟
ต้องตรวจสอบว่า |𝑟| < 1 หรือไม่ ก่อนจะใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ได้
2
𝜋 2 𝜋 2 √2
จะเห็นว่า 0 ≤ (√2 sin 12) < (√2 sin 4 ) = (√2 ∙ 2
) = 1
0 ≤ 𝑟 < 1 → ดังนัน้ |𝑟| < 1
𝑎1 1
จะได้ 𝑆∞ =
1−𝑟
= 𝜋 2
1−(√2 sin )
12
1
= 𝜋
1 − 2 sin2
12 cos 2𝜃 = 1 − 2 sin2 𝜃
1
= 𝜋
cos(2 ∙ )
12
1 1 2 √3 2√3
= 𝜋 = = × 3 =
cos
6
√3 √3 √ 3
2
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

9. ตารางต่อไปนีเ้ ป็ นตารางแจกแจงความถี่ของความสูงของนักเรียน 40 คน
ความสูง (เซนติเมตร) จานวนนักเรียน
140 – 144 2
145 – 149 8
150 – 154 9
155 – 159 10
160 – 164 6
165 – 169 3
170 – 174 2

เปอร์เซ็นไทล์ที่ 65 ของความสูงของนักเรียน เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 157.00 เซนติเมตร 2. 157.50 เซนติเมตร 3. 157.80 เซนติเมตร
4. 158.00 เซนติเมตร 5. 158.20 เซนติเมตร
ตอบ 4
𝑟 65
จากสูตรตาแหน่งของเปอร์เซ็นไทล์ 100 ∙ 𝑁 จะได้ 𝑃65 อยูต่ วั ที่ 100
∙ 40 = 26

จะเห็นว่าความถี่สะสมเพิม่ จนผ่าน 26 ในชัน้ ที่ 4


ความสูง (เซนติเมตร) จานวนนักเรียน ความถี่สะสม
ดังนัน้ ตัวที่ 26 จะอยูใ่ นชัน้ ที่ 4 140 – 144 2 2
ตาแหน่ง − 𝐹𝐿
ใช้สตู ร 𝐿+ ( 𝑓𝑥
)𝐼 145 – 149 8 10
150 – 154 9 19
26 − 19
จะได้ 𝑃65 = 154.5 + ( 10
) (5) 155 – 159 10 29
= 154.5 + 3.5 = 158

10. จานวนเต็มที่อยูร่ ะหว่าง 1,000 และ 6,000 ซึง่ มีเลขโดดแต่ละหลักเป็ นเลขคี่ที่แตกต่างกัน มีจานวนทัง้ หมด
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24 2. 36 3. 64 4. 72 5. 144
ตอบ 4
ต้องอยูร่ ะหว่าง 1,000 และ 6,000 → เป็ นจานวน 4 หลัก ที่หลักพันเป็ น 1, 3, 5 ได้เท่านัน้ → เลือกได้ 3 แบบ
หลักร้อย ต้องเป็ นเลขคี่ 1, 3, 5, 7, 9 และต้องไม่ซา้ กับหลักพัน → เหลือให้เลือกได้ 4 แบบ
หลักสิบ ต้องเป็ นเลขคี่ 1, 3, 5, 7, 9 และต้องไม่ซา้ กับ 2 หลักที่ผา่ นมา → เหลือให้เลือกได้ 3 แบบ
หลักหน่วย ต้องเป็ นเลขคี่ 1, 3, 5, 7, 9 และต้องไม่ซา้ กับ 3 หลักที่ผา่ นมา → เหลือให้เลือกได้ 2 แบบ
จะได้จานวนแบบ = 3 × 4 × 3 × 2 = 72 แบบ

11. เซตของคาตอบทัง้ หมดของอสมการ 𝑥|𝑥| < −|5𝑥 − 14| คือเซตในข้อใดต่อไปนี ้


1. (−∞, −7) ∪ (2, ∞) 2. (−7, 0) 3. (−14, −5)
4. (−∞, −14) 5. (−∞, −7)
ตอบ 5
จะเห็นว่าฝั่งขวาของอสมการ −|5𝑥 − 14| เป็ นจานวนลบ หรือ ศูนย์
ดังนัน้ ฝั่งซ้าย 𝑥|𝑥| ต้องเป็ นจานวนลบเท่านัน้ จึงจะน้อยกว่าฝั่งขวาได้ → จะสรุปต่อได้วา่ 𝑥 ต้องเป็ นจานวนลบ
𝑘 ; 𝑘≥0
จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์ |𝑘| = {
−𝑘 ; 𝑘<0
เมื่อรูว้ า่ 𝑥 เป็ นลบ จะได้ |𝑥| = −𝑥
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 15

และเมื่อ 𝑥 เป็ นลบ จะทาให้ 5𝑥 − 14 เป็ นลบด้วย ดังนัน้ |5𝑥 − 14| = −(5𝑥 − 14)
แทนในอสมการโจทย์ จะได้ 𝑥|𝑥| < −|5𝑥 − 14|
𝑥(−𝑥) < −(−(5𝑥 − 14))
−𝑥 2 < 5𝑥 − 14
2
0 < 𝑥 + 5𝑥 − 14
0 < (𝑥 + 7)(𝑥 − 2)
แต่ 𝑥 ต้องเป็ นลบ ทาให้ชว่ ง (2, ∞) ใช้ไม่ได้
+ − +
−7 2 ดังนัน้ จะเหลือคาตอบคือ (−∞, −7)

12. จานวนเชิงซ้อนในข้อใดต่อไปนีท้ เี่ ป็ นคาตอบของสมการ (𝑧̅|𝑧|)2 + 2(𝑧̅)3 + 𝑧 + 2 = 0


1 √3 1 √3 1 √3
1. −2 − 2
i 2. −2 + 2
i 3. 2
+ 2
i
4. 1 − √3i 5. 1 + √3i
ตอบ 3
(𝑧̅|𝑧|)2 + 2(𝑧̅)3 + 𝑧 + 2 = 0
(𝑧̅)2 |𝑧|2 + 2(𝑧̅)3 + 𝑧 + 2 = 0 𝑧 ∙ 𝑧̅ = |𝑧|2
(𝑧̅)2 (𝑧 ∙ 𝑧̅) + 2(𝑧̅)3 + 𝑧 + 2 = 0
(𝑧̅)3 𝑧 + 2(𝑧̅)3 + 𝑧 + 2 = 0
(𝑧̅)3 (𝑧 + 2) + 𝑧 + 2 = 0 ดึง 𝑧 + 2 เป็ นตัวร่วม
(𝑧 + 2)((𝑧̅)3 + 1) = 0
𝑥 3 + 𝑦 3 = (𝑥 + 𝑦)(𝑥 2 − 𝑥𝑦 + 𝑦 2 )
(𝑧 + 2)(𝑧̅ + 1)((𝑧̅)2 − 𝑧̅ + 1) = 0
−𝑏±√𝑏2 −4𝑎𝑐 −(−1)±√(−1)2 −4(1)(1) → เปลี่ยนติดลบในรูทเป็ น i
จะได้ 𝑧 = −2 หรือ 𝑧̅ = −1 หรือ 𝑧̅ =
2𝑎
=
2(1)
𝑧 = −1 1 ± √3i 1 √3
= 2
= 2
± 2
i

13. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก (𝑎, 𝑏) และ [𝑎, 𝑏] คือ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 𝑎 และ 𝑏 ตามลาดับ
ถ้า 𝑎𝑏 = 3 × 27 และ [𝑎, 𝑏] − (𝑎, 𝑏) = 5 × 23 แล้ว [𝑎, 𝑏] เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 48 2. 56 3. 60 4. 72 5. 76
ตอบ 1
จากสูตร [𝑎. b] × (𝑎, 𝑏) = 𝑎𝑏 = 3 × 27
3×27
จะได้ (𝑎, 𝑏) = [𝑎,𝑏]

แทนในสมการ [𝑎, 𝑏] − (𝑎, 𝑏) = 5 × 23


3×27
[𝑎, 𝑏] −
[𝑎,𝑏]
= 5 × 23
3×27
ให้ [𝑎, 𝑏] = 𝑥
𝑥 − = 40
𝑥 คูณ 𝑥 ตลอด
𝑥 2 − 3(2 7)
= 40𝑥
2 7)
𝑥 − 40𝑥 − 3(2 = 0
(𝑥 − 48)(𝑥 + 8) = 0
𝑥 = 48 , −8 → ค.ร.น. เป็ นลบไม่ได้ จึงได้ [𝑎, 𝑏] = 48
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

𝜋 sin2 3𝜃 cos2 3𝜃
14. กาหนดให้ 𝜃 ∈ (0, 2 ) ถ้า sin2 𝜃
− cos2 𝜃
= 1 แล้ว cos 𝜃 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 18 2. 2
5
3. 3
7
4. 2
3
5. 34
ตอบ 5
sin2 3𝜃 cos2 3𝜃
2
sin 𝜃
− cos2 𝜃
= 1
3
(3 sin 𝜃−4 sin 𝜃)
2 3
(4 cos 𝜃−3 cos 𝜃)
2 สูตรมุม 3 เท่า
− = 1
sin2 𝜃 cos2 𝜃
2 2
(sin 𝜃(3−4 sin2 𝜃)) (cos 𝜃(4 cos2 𝜃−3))
sin2 𝜃
− cos2 𝜃
= 1
2 2
sin2 𝜃(3−4 sin2 𝜃) cos2 𝜃(4 cos2 𝜃−3)
sin2 𝜃
− cos2 𝜃
= 1
2 2
(3 − 4 sin 𝜃) − (4 cos 𝜃 − 3) 2
= 1 2 น2 − ล2 = (น − ล)(น + ล)
((3 − 4 sin2 𝜃) − (4 cos 2 𝜃 − 3))((3 − 4 sin2 𝜃) + (4 cos 2 𝜃 − 3)) = 1
2 2 2
(6 − 4 sin 𝜃 − 4 cos 𝜃)(−4 sin 𝜃 + 4 cos 𝜃) 2
= 1
2 2 2 2
(6 − 4(sin 𝜃 + cos 𝜃))(4)(− sin 𝜃 + cos 𝜃) = 1
(6 − 4( 1 ))(4)(−(1 − cos 2 𝜃) + cos 2 𝜃) = 1
1
−1 + 2 cos2 𝜃 = 8
9
cos 2 𝜃 =
16 𝜋
𝜃 ∈ (0, ) → cos เป็ นบวก
3 2
cos 𝜃 = 4

15. กาหนดให้ วงรี E และไฮเพอร์โบลา H มีโฟกัสร่วมกัน คือ (0, 0) และ (6, 0)


และระยะทางระหว่าง จุดตัดใดๆ ของ E และ H กับจุดโฟกัสทัง้ สอง คือ 6 หน่วย และ 2 หน่วย
สมการของวงรี และสมการของไฮเพอร์โบลา ตามลาดับ คือข้อใดต่อไปนี ้
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
1. 16
+
7
= 1 และ 5

4
= 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
2. 16
+ 7
= 1 และ 4
− 5 = 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3) 2 𝑦2
3. 7
+ 16
= 1 และ 4
− 5
= 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3)2 𝑦2
4. 5
+ 4
= 1 และ 7
− 16 = 1
(𝑥−3)2 𝑦2 (𝑥−3) 2 𝑦2
5. 4
+
5
= 1 และ 7

16
= 1
ตอบ 2
จุดศูนย์กลางของทัง้ 2 กราฟ จะอยูก่ ึ่งกลางระหว่างจุดโฟกัส 2
6
จะได้จดุ ศูนย์กลาง (ℎ, 𝑘) = (0+6
2
, 0) = (3, 0) (0, 0) (6, 0)
และจะได้ระยะโฟกัสจาก (3, 0) ไป (0, 0) คือ 𝑐 = 3 − 0 = 3
โจทย์กาหนดให้ระยะทางจากจุดตัด ไปยังจุดโฟกัส 6 หน่วย และ 2 หน่วย
→ จากสมบัติของวงรี จะได้ความยาวแกนเอก = 6 + 2 = 8
ดังนัน้ 𝑎 = 82 = 4 จะได้ 𝑏 = √𝑎2 − 𝑐 2 = √42 − 32 = √7
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2 (𝑥−3)2 𝑦2
แทนในสมการวงรีแนวนอน 𝑎2
+
𝑏2
= 1 จะได้สมการคือ 16
+
7
= 1
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 17

→ จากสมบัติของไฮเพอร์โบลา จะได้ความยาวแกนตามขวาง = 6 − 2 = 4
ดังนัน้ 𝑎 = 42 = 2 จะได้ 𝑏 = √𝑐 2 − 𝑎2 = √32 − 22 = √5
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2 (𝑥−3)2 𝑦2
แทนในสมการไฮเพอร์โบลาแนวนอน 𝑎2
− 𝑏2
= 1 จะได้สมการคือ 4
− 5
= 1

1 1
16. กาหนดให้ เวกเตอร์ 𝑢̅ = [cos 75°] 𝑣̅ = [sin 75°] และ
cos 15° sin 15°
ถ้าสามเหลีย่ มมุมฉากรูปหนึง่ มีดา้ นตรงข้ามมุมฉากยาว |𝑢̅||𝑣̅ | หน่วย และมีดา้ นอีกด้านหนึง่ ยาว |𝑢̅ × 𝑣̅ | หน่วย
แล้ว ความยาวของด้านที่เหลือของสามเหลีย่ มรูปนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
5 √7 3 7
1. 1 หน่วย 2. 4
หน่วย 3. 2
หน่วย 4. 2
หน่วย 5. 4
หน่วย
ตอบ 4
พีทากอรัส จะได้ดา้ นที่เหลือยาว = √(|𝑢̅||𝑣̅ |)2 − |𝑢̅ × 𝑣̅ |2
= √(|𝑢̅||𝑣̅ |)2 − (|𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃)2
ดึงตัวร่วม |𝑢̅||𝑣̅ |
= √(|𝑢̅||𝑣̅ |)2 (1 − sin2 𝜃)
= √(|𝑢̅||𝑣̅ |)2 cos 2 𝜃
= | |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 |
= | 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |
= | (1)(1) + cos 75° sin 75° + cos 15° sin 15° |
= | 1 + sin 15° cos 15° + cos 15° sin 15° |
= | 1 + 2 sin 15° cos 15° |
1 3
= | 1 + sin 30° | = |1 + 2| = 2

17. ผลบวกของคาตอบทัง้ หมดของสมการ 12(4𝑥 ) + 18(9𝑥 ) = 35(6𝑥 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. −1 2. − 12 3. 0 4. 1
2
5. 1
ตอบ 1
12(4𝑥 ) + 18(9𝑥 ) = 35(6𝑥 )
12((22 )𝑥 ) + 18((32 )𝑥 ) = 35((2 ∙ 3)𝑥 )
12(22𝑥 ) − 35(2𝑥 )(3𝑥 ) + 18(32𝑥 ) = 0
12 𝑎2 − 35 𝑎 𝑏 + 18 𝑏 2 = 0 ให้ 2𝑥 = 𝑎 และ 3𝑥 = 𝑏
(3𝑎 − 2𝑏)(4𝑎 − 9𝑏) = 0

ดังนัน้ 3𝑎 = 2𝑏 หรือ 4𝑎 = 9𝑏
3(2𝑥 ) = 2(3𝑥 ) 4(2𝑥 ) = 9(3𝑥 )
2𝑥−1 = 3𝑥−1 2𝑥+2 = 3𝑥+2
𝑥−1 = 0 𝑥+2 = 0
𝑥 = 1 𝑥 = −2 → จะได้ผลบวกคาตอบ = 1 + (−2) = −1

25
18. กาหนดให้ และ ผลคูณของคาตอบทัง้ หมดของสมการ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2
𝑥>0 𝑥≠1 𝑥 log5 𝑥 = 𝑥3

1. √5
25
2. √5
5
3. √5 4. 5 5. 5√5
ตอบ 1
2 25
𝑥 log5 𝑥 =
ใส่ log 5 ทัง้ สองฝั่ง 𝑥3
log 𝑎 𝑥 𝑛 = 𝑛 log 𝑎 𝑥
2 25
log 5 𝑥 log5 𝑥 = log 5 (𝑥 3 ) 𝑀
log 𝑎 ( ) = log 𝑎 𝑀 − log 𝑎 𝑁
𝑁
(log 5 𝑥 2 )(log 5 𝑥) = log 5 25 − log 5 𝑥 3
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

(2 log 5 𝑥)(log 5 𝑥) = 2 − 3 log 5 𝑥


ให้ 𝑎 = log 5 𝑥 2𝑎2 = 2 − 3𝑎
2𝑎2 + 3𝑎 − 2 = 0
(2𝑎 − 1)(𝑎 + 2) = 0
1 1
𝑎 = 2
, −2 → log 5 𝑥 = 2 , −2
1
𝑥 = 52 , 5−2
1
𝑥 = √5 , 25

จะได้ผลคูณ =
√5
25

19. จากระบบสมการเชิงเส้น 𝐴𝑋 = 𝐵 ที่มี 3 สมการ และ 3 ตัวแปร 𝑥, 𝑦, 𝑧


0 −1 3 1 0 3
|1 1 −1| |2 1 −1|
ถ้าหา 𝑥 และ 𝑦 โดยใช้กฎของคราเมอร์ ได้ดงั นี ้ 𝑥 = 2 1 1
det(𝐴)
และ 𝑦 = 1 2 1
det(𝐴)
แล้ว 𝑧 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −1 2. − 12 3. 1
2
4. 1 5. 2
ตอบ 3
0 −1 3 1 0 3
| 1 1 −1 | | 2 1 −1 | 0
จาก 𝑥 = 2 1 1
det(𝐴)
และ 𝑦 = 1 2 1
det(𝐴)
→ จะได้เมทริกซ์คา่ คงที่ 𝐵 = [1]
2
0 1 −1 3
ตัด [1] ออก และนาหลักที่เหลือของ 𝑥 และ 𝑦 มาประกอบกัน จะได้เมทริกซ์สมั ประสิทธิ์ 𝐴 = [2 1 −1]
2 1 1 1
1 −1 0 1 −1 0
0 |2 1 1| |2 1 1|
𝑧 จะได้จากการเสียบ [ 1] แทนหลักที่ 3 ใน 𝐴 → จะได้ 𝑧 = 1 1 2
= 11 −11 23
det(𝐴)
2 |2 1 −1|
1 1 1
(2+(−1)+0) − (0+1+(−4)) 4 1
= (1+1+6) − (3+(−1)+(−2))
= =
8 2

20. กาหนดให้ 𝑆 = { 100 , 101 , 102 , … , 998 , 999 } และ


𝐴 = { 𝑛 ∈ 𝑆 | 𝑛 หารด้วย 5 แล้วเหลือเศษ 4 }
ผลบวกของสมาชิกทุกตัวของ 𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 99,250 2. 99,255 3. 99,260 4. 99,265 5. 99,270
ตอบ 5
จานวนใน 𝑆 ที่หารด้วย 5 แล้วเหลือเศษ 4 ได้แก่ 104 , 109 , 114 , … , 999
ซึง่ จะเห็นว่าจานวนเหล่านี ้ เป็ นลาดับเลขคณิต ที่มี 𝑎1 = 104 และ 𝑑 = 5
จะหาจานวนพจน์ โดยหาว่า 999 คือพจน์ที่เท่าไหร่ โดยใช้สตู ร 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
999 = 104 + (𝑛 − 1)5
179 = 𝑛−1
180 = 𝑛
𝑛 180
ใช้สตู รอนุกรมเลขคณิต 𝑆𝑛 = (𝑎1 + 𝑎𝑛 )
2
จะได้ผลบวก =
2
(104 + 999) = 90(1103) = 99,270
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 19

21. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓 มีคา่ วิกฤตที่ 𝑥 = −1 และ 𝑥 = 2 แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1
ข. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2
ค. บนช่วง (−1, 2) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิม่
ง. บนช่วง (−∞, −1) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด
จานวนข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 3
จาก 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 + 2𝑎𝑥 + 𝑏
ดังนัน้ 𝑓 ′(𝑥) เป็ นพหุนามกาลัง 2 ซึง่ มีตวั เลขที่คณ
ู 𝑥 2 คือ 3
และเนื่องจาก 𝑓 มีคา่ วิกฤตที่ 𝑥 = −1, 2 จะสรุปได้วา่ 𝑓 ′ (−1) = 0 และ 𝑓 ′ (2) = 0
จากข้อมูลทัง้ หมด จะสรุปได้วา่ 𝑓 ′(𝑥) = 3(𝑥 + 1)(𝑥 − 2)
+ − +
และจะระบุเครือ่ งหมายของ 𝑓 ′ (𝑥) ได้
−1 2
ก. 𝑓 เปลีย่ นจาก + เป็ น − ที่ 𝑥 = −1 → เป็ นจุดสูงสุดสัมพัทธ์ 
′ (𝑥)

ข. 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจาก − เป็ น + ที่ 𝑥 = 2 → เป็ นจุดต่าสุดสัมพัทธ์ 


ค. บนช่วง (−1, 2) จะเห็นว่า 𝑓 ′(𝑥) เป็ นลบ → เป็ นฟั งก์ชนั ลด 
ง. บนช่วง (−∞, −1) จะเห็นว่า 𝑓 ′(𝑥) เป็ นบวก → เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม 

22. ถ้าพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยกราฟของพาราโบลาซึง่ มีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, −9) และแกน 𝑋 มีคา่ เท่ากับ 9 ตารางหน่วย
แล้ว สมการพาราโบลาคือข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑦 = 𝑥 2 − 9 2. 𝑦 = 2𝑥 2 − 9 3. 𝑦 = 4𝑥 2 − 9
4. 𝑦 = 8𝑥 2 − 9 5. 𝑦 = 16𝑥 2 − 9
ตอบ 5
พาราโบลาที่มจี ดุ ยอด (ℎ, 𝑘) = (0, −9) และสามารถปิ ดล้อมพืน้ ทีก่ บั แกน 𝑋 ได้ จะเป็ น
พาราโบลาหงายดังรูป → แทนค่า ℎ, 𝑘 ในรูปสมการ 𝑦 = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 ; 𝑎>0
𝑦 = 𝑎(𝑥 − 0)2 + (−9) (0, −9)
𝑦 = 𝑎𝑥 2 − 9 …(∗)
หาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมกับแกน 𝑋 ต้องอินทิเกรตในช่วงที่กราฟตัดแกน 𝑋
หาจุดตัดแกน 𝑋 โดยแทน 𝑦 = 0 จะได้ 0 = 𝑎𝑥 2 − 9
9
𝑎
= 𝑥2
3 3 3
± 𝑎

= 𝑥 → ต้องอินทิเกรตตัง้ แต่ −
√𝑎
ถึง 𝑎
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

3
3
a
𝑎𝑥 3
จะได้  2
𝑎𝑥 − 9 𝑑𝑥 = 3
− 9𝑥 |
√𝑎

3 3
 −
a √𝑎

𝑎 3 3 3 𝑎 3 3 3
= (3 ( 𝑎) − 9 ( 𝑎)) − (3 (− ) − 9 (− ))
√ √ √𝑎 √𝑎
9 27 9 27 36
= ( − )−( − + ) = −
√𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎

โจทย์ให้พนื ้ ที่ = 9 ตารางหน่วย ดังนัน้ |−


36
| = 9
√𝑎
4 = √𝑎
16 = 𝑎
แทนใน (∗) จะได้สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 16𝑥 2 − 9

23. กาหนดให้ 𝑆 = { 1 , 2 , 3 , … , 9 , 10 } ถ้าสุม่ หยิบสมาชิก 5 ตัวพร้อมกันจาก 𝑆 แล้ว ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะ


ได้เลข 8 เป็ นจานวนที่มคี า่ มากเป็ นอันดับที่ 2 ของสมาชิก 5 ตัวนัน้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 29 2. 13 5
3. 18 4. 21 8
5. 10
21
ตอบ 3
จานวนแบบทัง้ หมด → เลือก 5 ตัวจากสมาชิก 10 ตัวใน 𝑆 จะเลือกได้ (10 5
) แบบ
8 มีคา่ มากเป็ นอันดับ 2 แสดงว่าต้องมี 1 ตัวที่มากกว่า 8 และอีก 3 ตัวที่เหลือต้องน้อยกว่า 8
 มากกว่า 8 มี 2 ตัว (คือ 9, 10) เลือก 1 ตัว จะเลือกได้ 2 แบบ
 น้อยกว่า 8 มี 7 ตัว (คือ 1, 2, 3, … , 7) เลือก 3 ตัว จะเลือกได้ (73) แบบ
ดังนัน้ จานวนแบบที่ 8 มีคา่ มากเป็ นอันดับ 2 คือ 2 ∙ (73)
7∙6∙5
2 ∙ (73) 2∙ 2∙5 5
จะได้ความน่าจะเป็ น =
(10
= 3∙2∙1
10 ∙ 9 ∙ 8 ∙ 7 ∙ 6 = =
5)
2∙9∙2 18
5∙4∙3∙2∙1

24. ถ้าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ ม.3 ของโรงเรียนแห่งหนึง่


0.3413
มีการแจกแจงปกติ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 55 คะแนน
0.0668
มีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน
และทราบพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งดังรูป 40 55 65
แล้ว จานวนเปอร์เซ็นต์ของนักเรียนที่ได้คะแนนระหว่าง 45 และ 70 คะแนน เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 75.00 2. 76.75 3. 77.45 4. 78.50 5. 79.00
ตอบ 3
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติ จะสมมาตรรอบแกนกลาง
0.3413 0.3413
สะท้อนพืน้ ที่ในรูปที่โจทย์กาหนดรอบแกนกลาง
0.0668 0.0668
และให้พนื ้ ที่สว่ นที่เหลือ = 𝑎 จะได้ดงั รูป 𝑎 𝑎
จากสมบัติของเส้นโค้งปกติ พืน้ ที่ใต้โค้งทัง้ หมด จะเท่ากับ 1 40 45 55 65 70
โดยแบ่งเป็ นครึง่ ซ้ายและครึง่ ขวา ฝั่งละ 0.5 → จะได้ 𝑎 = 0.5 − 0.3413 − 0.0668 = 0.0919
ดังนัน้ ระหว่าง 45 และ 70 คะแนน จะมีพนื ้ ที่ = 0.3413 + 0.3413 + 𝑎
= 0.3413 + 0.3413 + 0.0919 = 0.7745 = 77.45%
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 21

25. กาหนดให้ ข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างชุด 𝑋 คือ 𝑥1 < 𝑥2 < 𝑥3 < … < 𝑥10 มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 8
และ ข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างชุด 𝑌 คือ 𝑦1 < 𝑦2 < 𝑦3 < … < 𝑦10 โดยที่ 𝑦𝑖 = 12 𝑥𝑖 + 4 เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 10
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุด 𝑌 = 8
ข. มัธยฐานของข้อมูลชุด 𝑌 = 12 (มัธยฐานของข้อมูลชุด 𝑋) + 4
ค. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด 𝑌 = 12 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด 𝑋)
ง. ค่ามาตรฐานของ 𝑦𝑖 = 12 (ค่ามาตรฐานของ 𝑥𝑖 ) เมื่อ 𝑖 = 1, 2, 3, … , 10
จานวนข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 4
1
จากสมบัติของค่ากลาง → ค่ากลางทุกชนิดของ 𝑌 จะสัมพันธ์กบั ค่ากลางของ 𝑋 ด้วยสูตร 𝑦𝑖 = 2 𝑥𝑖 + 4 ด้วย
1 1
 นั่นคือ 𝑦̅ = 2 𝑥̅ + 4 = 2 (8) + 4 = 8 → ก. ถูก
1
 และ มัธยฐาน𝑦 = 2 มัธยฐาน𝑥 + 4 → ข. ถูก

จากสมบัติของ 𝑠 → การบวก 4 จะไม่ทาให้ 𝑠 เปลีย่ น


→ แต่การคูณ 12 จะทาให้ 𝑠 เปลีย่ นเป็ น 1
2
เท่าของของเดิม → ค. ถูก
𝑦𝑖 − 𝑦̅
ค่ามาตรฐานของ 𝑦𝑖 = 𝑠𝑦
1 1
จาก ก. และ ค.
( 𝑥𝑖 + 4) − ( 𝑥̅ + 4)
2 2
= 1
𝑠
2 𝑥
1 1
𝑥 − 𝑥̅ 𝑥𝑖 − 𝑥̅
= 2 𝑖
1
𝑠
2
= 𝑠𝑥
= ค่ามาตรฐานของ 𝑥𝑖 → ง. ผิด
2 𝑥

26. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) = 𝑥 4 + 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 − 5 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็ม


ถ้าสมการ 𝑃(𝑥) = 0 มีคาตอบเป็ นจานวนตรรกยะอย่างน้อยหนึง่ ตัว และมี 1 + 2i เป็ นคาตอบของสมการ
แล้ว 𝑃(2) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −15 2. −10 3. 1 4. 10 5. 15
ตอบ 5
เนื่องจาก 𝑃(𝑥) มี สปส เป็ นจานวนจริง → ถ้ามี 1 + 2i เป็ นคาตอบ จะได้วา่ 1 − 2i ก็จะเป็ นคาตอบด้วย
𝑃(𝑥) เป็ นพหุนามกาลัง 4 → สมการ 𝑃(𝑥) = 0 จะมีคาตอบได้ไม่เกิน 4 ตัว (จะน้อยกว่า 4 ถ้าคาตอบบางตัวซา้ กัน)
สมมติให้คาตอบทัง้ 4 ตัว คือ 1 + 2i , 1 − 2i , 𝑝 , 𝑞
จากสูตรผลคูณคาตอบ จะได้ผลคูณคาตอบ = −5 1
= −5 ดังนัน ้ (1 + 2i)(1 − 2i)(𝑝)(𝑞) = −5
(1 + 4) 𝑝 𝑞 = −5
1
𝑝 = −𝑞
ดังนัน้ 𝑝 และ 𝑞 จะเป็ นลบส่วนกลับของกันและกัน
𝑚
โจทย์ให้สมการมีคาตอบตรรกยะ → ถ้าให้ 𝑝= 𝑛 จะได้ 𝑞 = − 𝑚𝑛 เมื่อ 𝑚, 𝑛 เป็ นจานวนเต็มทีต่ ดั ทอนกันไม่ได้แล้ว
𝑎
จากสูตรผลบวกคาตอบ จะได้ผลบวกคาตอบ =−1 = −𝑎 ดังนัน ้ (1 + 2i) + (1 − 2i) + 𝑝 + 𝑞 = −𝑎
𝑝 + 𝑞 = −𝑎 − 2
22 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

โจทย์ให้ 𝑎 เป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ 𝑝+𝑞 ต้องเป็ นจานวนเต็มด้วย → ให้ 𝑝 + 𝑞 = 𝑘


𝑚 𝑛
+ (− ) = 𝑘
𝑛 𝑚
2 2
𝑚 −𝑛 = 𝑘𝑚𝑛 …(∗)
จาก (∗) เนื่องจาก 𝑚2 และ 𝑘𝑚𝑛 หารด้วย 𝑚 ลงตัว ดังนัน้ 𝑛2 ที่เหลือ ต้องหารด้วย 𝑚 ลงตัวด้วย
แต่ 𝑚 และ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มทีต่ ดั ทอนกันไม่ได้แล้ว จึงสรุปได้วา่ 𝑚 = ±1
และจาก (∗) เนื่องจาก 𝑛2 และ 𝑘𝑚𝑛 หารด้วย 𝑛 ลงตัว ดังนัน้ 𝑚2 ที่เหลือ ต้องหารด้วย 𝑛 ลงตัวด้วย
แต่ 𝑚 และ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มทีต่ ดั ทอนกันไม่ได้แล้ว จึงสรุปได้วา่ 𝑛 = ±1
แทนค่า 𝑚, 𝑛 จะได้ 𝑝, 𝑞 คือ 1 กับ −1 → จะได้คาตอบของสมการ 𝑃(𝑥) = 0 คือ 1 + 2i , 1 − 2i , 1 , −1
และเนื่องจาก สปส ของ 𝑥 4 ใน 𝑃(𝑥) คือ 1 → จะสามารถสร้าง 𝑃(𝑥) จากคาตอบได้ดงั นี ้
𝑃(𝑥) = (𝑥 − (1 + 2i))(𝑥 − (1 − 2i))(𝑥 − 1)(𝑥 − (−1))
𝑃(2) = (2 − (1 + 2i))(2 − (1 − 2i))(2 − 1)(2 − (−1))
= ( 1 −2i )( 1 + 2i )( 1 )( 3 )
= ( 1+4) ( 1 )( 3 ) = 15

27. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก ถ้าข้อมูลต่อไปนี ้ 𝑎 , 𝑏 , 4 , 4 , 3 , 3 , 6 , 5 , 5 , 8 , 7 , 7


มีคา่ พิสยั = มัธยฐาน = ค่าเฉลีย่ เลขคณิต แล้ว 𝑎 ∙ 𝑏 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 12 2. 15 3. 18 4. 20 5. 21
ตอบ 2
เนื่องจากข้อมูลทุกตัวเป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ พิสยั จะเป็ นจานวนเต็มเสมอ
ดังนัน้ มัธยฐาน และ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ต้องเป็ นจานวนเต็มด้วย (โจทย์ให้ พิสยั = มัธยฐาน = ค่าเฉลีย่ เลขคณิต)
มีขอ้ มูล 12 จานวน → มัธยฐานจะอยูต่ วั ที่ 𝑁+1 2
=
12+1
2
= 6.5 → คือระหว่างตัวที่ 6 กับ 7
เรียงข้อมูล 7 ตัวแรกเท่าที่รู ้ จากน้อยไปมาก จะได้ 3 , 3 , 4 , 4 , 5 , 5 , 6
ถ้า 𝑎, 𝑏 ≥ 6 ทัง้ คู่ ลาดับ 7 ตัวแรกนีจ้ ะไม่เปลีย่ น และจะได้มธั ยฐาน = 5+6
2
ไม่เป็ นจานวนเต็มตามที่สรุปไว้
ดังนัน้ ใน 𝑎, 𝑏 ต้องมีบางตัว < 6 แต่ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม จะสรุปได้วา่ ต้องมีบางตัว ≤ 5 …(1)
ทานองเดียวกัน เรียงข้อมูล 7 ตัวแรกเท่าที่รู ้ จากมากไปน้อย จะได้ 8 , 7 , 7 , 6 , 5 , 5 , 4
ถ้า 𝑎, 𝑏 ≤ 4 ทัง้ คู่ ลาดับ 7 ตัวแรกนีจ้ ะไม่เปลีย่ น และจะได้มธั ยฐาน = 5+4
2
ไม่เป็ นจานวนเต็มตามที่สรุปไว้
ดังนัน้ ใน 𝑎, 𝑏 ต้องมีบางตัว > 4 แต่ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม จะสรุปได้วา่ ต้องมีบางตัว ≥ 5 …(2)
ดังนัน้ ตัวน้อย 7 ตัวแรก จะต้องมี 3 , 3 , 4 , 4 , 5 , 5 และ อีกหนึง่ ตัวจาก (1) แต่ตอ้ งไม่มีหนึง่ ตัวจาก (2)
จะเห็นว่าไม่วา่ 𝑎, 𝑏 จะเป็ นอะไร ตัวที่ 6 และ 7 จะเป็ น 5 เสมอ → จะได้มธั ยฐาน = 5+5 2
= 5
𝑎+𝑏+4+4+3+3+6+5+5+8+7+7 𝑎+𝑏+52
ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = 12
= 12 = 5
𝑎+𝑏 = 8
จาก (1) และ (2) จะได้ 𝑎, 𝑏 คือ 3, 5 ได้แบบเดียว → จะได้ 𝑎 ∙ 𝑏 = 3 ∙ 5 = 15
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 23

28. กาหนดให้ 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … , 𝑎𝑚 เป็ นข้อมูลซึง่ เรียงจากมากไปน้อย


1 1
โดยที่ 𝑎𝑛 = 𝑛(𝑛+1) เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3, … , 𝑚 ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีมธั ยฐานเท่ากับ 120
แล้ว ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1 1
1. 20 2. 21 3. 22 4. 23 5. 24
ตอบ 2
1 1
ลองเขียน 120 ในรูป 𝑛(𝑛+1) ดู จะพบว่าเขียนไม่ได้
เพราะ 120 แยกเป็ นผลคูณของสองจานวนที่เรียงติดกันไม่ได้ (ได้ใกล้ที่สดุ คือ 10 × 12)
ดังนัน้ มัธยฐาน จะไม่ตรงกับพจน์ไหนในลาดับเลย → แสดงว่า มัธยฐานต้องอยูต่ รงกลางระหว่างพจน์สองพจน์ที่ติดกัน
1 1
1 1 +
สมมติให้มธั ยฐานอยูร่ ะหว่าง 𝑘(𝑘+1)
กับ (𝑘+1)(𝑘+2)
จะได้มธั ยฐาน =
𝑘(𝑘+1) (𝑘+1)(𝑘+2)
2
𝑘+2 + 𝑘
𝑘(𝑘+1)(𝑘+2)
=
2
2𝑘+2
= 2𝑘(𝑘+1)(𝑘+2)
𝑘+1 1
= 𝑘(𝑘+1)(𝑘+2)
= 𝑘(𝑘+2)
1 1
ดังนัน้ 120 = 𝑘(𝑘+2) → แยกตัวประกอบ 120 ในรู ป 𝑘(𝑘 + 2) จะได้ 10 × 12 ดังนัน ้ 𝑘 = 10
แสดงว่ามัธยฐานอยูร่ ะหว่างพจน์ที่ 10 กับ 11 (คือตัวที่ 10.5) ดังนัน้ 𝑚+1
2
= 10.5 จะได้ 𝑚 = 20
1 1 1 1
จะได้ผลบวกของทัง้ 20 พจน์คือ (1)(2)
+
(2)(3)
+ (3)(4)
+ … + (20)(21)
1 1 1 1 1 1 1 1
เทเลสโคปิ ก จะได้ = 1
−2 + 2
−3 + 3
−4 + … + 20
− 21
1 1 20
= 1
− 21 = 21
20
ผลบวก 20 พจน์ 1
จะได้ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = 20
= 21
20
= 21

29. กาหนดให้ 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มีอตั ราส่วนร่วม 𝑟 โดยที่ |𝑟| < 1
ถ้า 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 = 4
𝑎6 + 𝑎7 + ⋯ + 𝑎14 + 𝑎15 = 3

แล้ว  𝑎𝑛 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n 1

1. 8 2. 9 3. 10 4. 11 5. 12
ตอบ 1
𝑎1 (1−𝑟 𝑛 ) 𝑎1 (1−𝑟 5 )
จากสูตรอนุกรมเรขาคณิต 𝑆𝑛 = 1−𝑟
จะได้ 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 = 𝑆5 = 1−𝑟
𝑎1 (1−𝑟 5 )
4 = 1−𝑟
…(1)
𝑎1 (1−𝑟 15 )
และ 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 + 𝑎6 + 𝑎7 + ⋯ + 𝑎14 + 𝑎15 = 𝑆15 =
1−𝑟
𝑎1 (1−𝑟 15 )
4 + 3 = 1−𝑟
𝑎1 (1−𝑟 15 )
7 = 1−𝑟
…(2)
24 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63)

7 𝑎1 (1−𝑟 15 ) 1−𝑟
(2) ÷ (1) : = ∙𝑎 5)
4 1−𝑟 1 (1−𝑟
7 1−𝑟 15
=
4 1−𝑟 5 น3 − ล3 . = (น − ล)(น2 + นล + ล2)
7 (1−𝑟 5 )(1+𝑟 5 +𝑟 10 )
4
= 1−𝑟 5
7 = 4 + 4𝑟 + 4𝑟10 5

0 = 4𝑟10 + 4𝑟 5 − 3
0 = (2𝑟 5 − 1)(2𝑟 5 + 3)
1 3
𝑟5 = , −2 เนื่องจาก |𝑟| < 1 → ยกกาลัง 5 จะได้ |𝑟 5 | < 1
2
ดังนัน้ −1 < 𝑟 5 < 1
3
− น้อยกว่า −1 จึงใช้ไม่ได้
2

 1
𝑎1 1 𝑎1 (1− )
ใช้สตู รอนุกรมอนันต์ จะได้  𝑎𝑛 =
1−𝑟
→ แทนค่า 𝑟 5
=
2
ใน (1) จะได้ 1−𝑟
2
= 4
n 1
𝑎1
1−𝑟
= 8

30. กาหนดให้ 𝑆 = { −2 , −1 , 0 , 1 , 2 } และ Ω = { [𝑎 𝑏] | 𝑎, 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑆 }


0 𝑐
จานวนเมทริกซ์ 𝐴 ∈ Ω ซึง่ 𝐴−1 = 𝐴 มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 8 2. 9 3. 10 4. 11 5. 12
ตอบ 5
1 𝑏
𝑎 𝑏 −1 1 𝑐 −𝑏 − 𝑎𝑐
[ ] = [ ] = [𝑎 1 ]
0 𝑐 𝑎𝑐−0 0 𝑎 0 𝑐
1 𝑏
− 𝑎 𝑏 1 𝑏 1
ถ้า −1
𝐴 =𝐴 จะได้ 𝑎
[ 𝑎𝑐
1 ] = [ ] → = 𝑎 − = 𝑏 = 𝑐
0 0 𝑐 𝑎 𝑎𝑐 𝑐
𝑐 1 = 𝑎2 𝑏=0 หรือ 𝑎𝑐 = −1 1 = 𝑐2
±1 = 𝑎 ±1 = 𝑐

กรณี 𝑏 = 0 : จะได้วา่ เป็ นอะไรก็ได้


𝑎𝑐
𝑎 = ±1 ได้ 2 แบบ และ 𝑐 = ±1 ได้ 2 แบบ → จะได้จานวนแบบ = 2 × 2 = 4 แบบ
กรณี 𝑏 ≠ 0 : จะได้ 𝑏 = −2 , −1 , 1 , 2 ได้ 4 แบบ และ 𝑎𝑐 ต้องเป็ น −1
𝑎 = ±1 ได้ 2 แบบ แต่ 𝑐 จะเลือกไม่ได้ ต้องเป็ นจานวนที่คณ
ู 𝑎 แล้วได้ −1
(ถ้า 𝑎 = 1 จะได้ 𝑐 = −1 แต่ถา้ 𝑎 = −1 จะได้ 𝑐 = 1)
จะได้จานวนแบบ = 4 × 2 = 8 แบบ
รวมจานวนแบบของทัง้ 2 กรณี จะได้ 4 + 8 = 12 แบบ

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ และเฉลยละเอียด จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ เฉลยละเอียด จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath และ คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
ขอบคุณ คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
และ คุณ Kriengkri Pongto
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 63) 25

และ คุณ Chonlakorn Chiewpanich


และ คุณ Potae Kitti
และ คุณ Jack Teerasak
และ คุณ Cherry Ctt ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like