You are on page 1of 44

PAT 1 (ต.ค.

58) 1
5 Dec 2020

PAT 1 (ต.ค. 58)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม 2558 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1 ข้อ 1 - 30 ข้อละ 6 คะแนน


1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ โดยที่ (𝑝 ∨ 𝑟) ↔ (~𝑝 ∧ ~𝑞) เป็ นประพจน์ที่มีคา่ ความจริงเป็ น จริง
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. (𝑞 ↔ 𝑟) ∨ 𝑝 มีคา่ ความจริงเป็ น จริง 2. (𝑝 → 𝑞) ∨ (𝑟 → 𝑝) มีคา่ ความจริงเป็ น จริง
3. (𝑟 → 𝑞) ∧ (𝑝 ∧ 𝑞) มีคา่ ความจริงเป็ น จริง 4. (𝑞 → ~𝑝) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
5. (𝑟 ∨ 𝑞) ↔ (𝑝 → ~𝑟) มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ

2. ให้ 𝑆 ′ แทนคอมพลีเมนต์ของ 𝑆 และ 𝑛(𝑆) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝑆 ให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเซตใดๆ


โดยที่ 𝐴 ∩ (𝐵 ∪ 𝐶)′ = ∅ , 𝑛(𝐴) = 12 , 𝑛(𝐵) = 15 , 𝑛(𝐶) = 16 , 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 20
และ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) = 𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถกู ต้อง
1. 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) = 10 2. 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 11 3. 𝑛(𝐴′ ∩ 𝐵) = 4
4. 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵) ∩ 𝐶) = 12 5. 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵)′ ∩ 𝐶) = 5

1 2𝑥−2
3. ให้ 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ ||𝑥 − 1| − 1| < 1 และ 𝐵 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ 𝑥+1
≥ 𝑥 2 −3𝑥+2
เซต 𝐴 ∩ 𝐵 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−5, −1) 2. (−3, 1) 3. (−1, 3)
4. (0, 4) 5. (1, 5)
2 PAT 1 (ต.ค. 58)

4. (3 − 4 sin2 9°)(3 − 4 sin2 27°)(3 − 4 sin2 81°)(3 − 4 sin2 243°) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 2. 1 3. 2
4. tan 9° 5. cot 9°

𝜃 𝜋 (1+sin 𝜃) sec2 𝜃
5. ถ้า 2 cot 2 = (1 + cot 𝜃)2 และ 0<𝜃<2 แล้วค่าของ cos 2𝜃
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0.125 2. 0.25 3. 1
4. 2 5. 4

6. ค่าของ sec 2(arctan 2) + cosec 2(arccot 3) + cosec (2 arccot 2 + arccos 35) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 335
24
2. 351
24
3. 375
24
385 399
4. 24 5. 24
PAT 1 (ต.ค. 58) 3

𝜋 𝜋
7. กาหนดให้ 𝐴 = arcsin (cos 3 ) และ 0<𝐵<2
sin2 𝐵 + sin2 (𝐴 + 𝐵) + sin2 (5𝐴 + 𝐵) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
3
1. 0 2. 1 3. 2
− sin 2𝐵
3 3
4. 2
− cos 2𝐵 5. 2
− 2 cos 2𝐵

8. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวกที่มากกว่า 2 และสอดคล้องกับ


log 𝑎 (𝑏 − 2) = log √𝑎 √3 + log 𝑎2 (𝑏 + 2) และ (log 2𝑏 𝑎)(log 𝑎 𝑏) = 1 + log √𝑎 𝑏
แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 183 2. 210 3. 216
4. 225 5. 239

9. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนีไ้ ม่เป็ นฟั งก์ชนั


1. ความสัมพันธ์ 𝑟1 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑥𝑦 + 1 = 0 }
2. ความสัมพันธ์ 𝑟2 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 = tan 𝑥 }
3. ความสัมพันธ์ 𝑟3 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑥 2 = √𝑦 2 + 1 }
4. ความสัมพันธ์ 𝑟4 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 = |2 − 𝑥| }
𝑦
5. ความสัมพันธ์ 𝑟5 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑥 2 = 𝑦+1 }
4 PAT 1 (ต.ค. 58)

10. ให้วงกลม 𝐶 มีสมการเป็ น 𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑎𝑥 − 6𝑦 − 12 = 0 เมื่อ 𝑎 > 0 โดยระยะทางจากจุดศูนย์กลางของ


วงกลม 𝐶 ไปยังเส้นตรง 4𝑥 + 3𝑦 = 71 เท่ากับ 14 หน่วย ถ้าพาราโบลารูปหนึง่ มีโฟกัสอยูท่ ี่จดุ ศูนย์กลางของ
วงกลม 𝐶 และ มี 𝑦 = 7 เป็ นไดเรกตริกซ์ แล้วสมการของพาราโบลารูปนีต้ รงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑥 2 − 4𝑥 + 4𝑦 − 16 = 0 2. 𝑥 2 + 4𝑥 + 4𝑦 − 16 = 0
3. 𝑥 2 + 4𝑥 − 4𝑦 + 20 = 0 4. 𝑥 2 + 4𝑥 + 8𝑦 + 44 = 0
5. 𝑥 2 + 4𝑥 + 8𝑦 − 36 = 0

11. ให้พาราโบลารูปหนึง่ มีสมการเป็ น 𝑦 2 − 4𝑦 + 40𝑥 − 236 = 0 โดยมี 𝑉 และ 𝐹 เป็ นจุดยอด และโฟกัสของ
พาราโบลาตามลาดับ ถ้าวงรีรูปหนึง่ ผ่านจุด (4, 6) และมีโฟกัสอยูท่ ี่ 𝑉 และ 𝐹 แล้วสมการของวงรีรูปนีต้ รงกับข้อ
ใดต่อไปนี ้
1. 4𝑥 2 + 9𝑦 2 + 8𝑥 − 36𝑦 + 140 = 0 2. 4𝑥 2 + 9𝑦 2 + 8𝑥 + 36𝑦 − 140 = 0
3. 4𝑥 2 + 9𝑦 2 − 8𝑥 − 36𝑦 − 140 = 0 4. 9𝑥 2 + 4𝑦 2 − 36𝑥 − 8𝑦 − 180 = 0
5. 9𝑥 2 + 4𝑦 2 + 36𝑥 − 8𝑦 + 180 = 0
PAT 1 (ต.ค. 58) 5

12. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตของจานวนตรรกยะ ให้ 𝑃(𝑥) คือ 8𝑥 3 − 4𝑥 − 1 = 0


𝑄(𝑥) คือ 8𝑥 4 − 8𝑥 2 + 𝑥 + 1 = 0
และ 𝑅(𝑥) คือ 𝑥3 + 𝑥2 > 0
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
(ข) ∀𝑥[𝑄(𝑥) → 𝑅(𝑥)] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
(ค) ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑅(𝑥)] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

1 2𝑥 3
13. ค่าของ lim (1 − 𝑥 2 +1
) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
x 1  √1−𝑥

1. 0 2. 0.5 3. 1
4. 2 5. 4

14. กาหนดให้ 𝐶 เป็ นเส้นโค้ง 𝑦 = 2 + 𝑥|𝑥 − 1| เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝐿 เป็ นเส้นตรงที่สมั ผัสกับเส้นโค้ง 𝐶 ที่
จุด (0, 2) และให้ 𝑁 เป็ นเส้นตรงที่ตงั้ ฉากกับเส้นตรง 𝐿 ณ จุด (0, 2) แล้วเส้นตรง 𝑁 ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−1, 3) 2. (1, 5) 3. (−2, 5)
4. (3, −2) 5. (−3, 4)
6 PAT 1 (ต.ค. 58)

2𝑥
15. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓 −1(𝑥) = 𝑥+1 สาหรับทุก
สมาชิก 𝑥 ในเรนจ์ของ 𝑓 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) 2𝑓 ′(4) − 𝑓(4) = 3
(ข) 𝑓 ′′(𝑓(4)) = 𝑓(𝑓 ′′(4))
(ค) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (0, 2)
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

16. กาหนดให้ 𝐴⃗ และ 𝐵⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ในระนาบ โดยที่ 𝐴⃗ = 16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅ และ ⃗⃗ = 8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅
𝐵 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ น
จานวนจริง ถ้า |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗| และเวกเตอร์ 𝐵⃗⃗ ทามุม 60° กับเวกเตอร์ 𝐴⃗
แล้วค่าของ (𝑎 + 𝑏)2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 8 2. 16 3. 64
4. 192 5. 320

17. ในการจัดนักเรียนชาย 4 คน และนักเรียนหญิง 4 คน มายืนเรียงเป็ นแถวตรงเพียงหนึง่ แถว ความน่าจะเป็ นที่ไม่มี


นักเรียนชายสองคนใดเลยยืนติดกัน หรือ ไม่มีนกั เรียนหญิงสองคนใดเลยยืนติดกัน มีคา่ ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 4
1. 70 2. 35 3. 35
4. 17 5. 27
PAT 1 (ต.ค. 58) 7

𝑥+2 , 𝑥 <1
18. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {√9 − 𝑥 , 𝑥≤0 และ 𝑔(𝑥) = {
7−𝑥 , 𝑥>4 𝑥−4 , 𝑥 ≥1
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) ถ้า 𝑥 ≤ 0 แล้ว (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = √9 − 𝑥 − 4
(ข) ถ้า 4 < 𝑥 ≤ 6 แล้ว (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 3 − 𝑥
(ค) ถ้า 𝑥 > 6 แล้ว (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 9 − 𝑥
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

19. กาหนดให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้อนทีส่ อดคล้องกับสมการ (1 + i)𝑧̅ − (9−7i)(𝑧̅


3+i
−𝑧)
= 6 − 2i เมื่อ i2 = −1 และ
𝑧̅ แทนสังยุค (conjugate) ของ 𝑧 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) |𝑧 + 8| = 2
(ข) |𝑧 + 3i| = 10
(ค) |i𝑧 + 2| = 8
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
8 PAT 1 (ต.ค. 58)


𝑛23𝑛
20. กาหนดให้ 𝑎𝑛 = 32𝑛+1 เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3, … อนุกรม  𝑎𝑛 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
n 1

1. อนุกรมลูเ่ ข้า มีผลบวกเท่ากับ 83 2. อนุกรมลูเ่ ข้า มีผลบวกเท่ากับ 4


3. อนุกรมลูเ่ ข้า มีผลบวกเท่ากับ 24 4. อนุกรมลูเ่ ข้า มีผลบวกเท่ากับ 64
3
5. อนุกรมลูอ่ อก

21. กาหนดให้ขอ้ มูลชุดที่ 1 คือ 𝑥1 + 4 , 𝑥2 + 4 , … , 𝑥20 + 4


และข้อมูลชุดที่ 2 คือ 2𝑥1 + 4 , 2𝑥2 + 4 , … , 2𝑥20 + 4
เมื่อ 𝑥1, 𝑥2, … , 𝑥20 เป็ นจานวนจริง
ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 เท่ากับ 50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดที่ 1 เท่ากับ 10
แล้วข้อมูลชุดที่ 2 มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิต และ ความแปรปรวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 96 และความแปรปรวนเท่ากับ 400
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 96 และความแปรปรวนเท่ากับ 576
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 100 และความแปรปรวนเท่ากับ 400
4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 104 และความแปรปรวนเท่ากับ 400
5. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 104 และความแปรปรวนเท่ากับ 576

22. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ มีการแจกแจงปกติ โดยมีสมั ประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนน


สอบวิชานี ้ เท่ากับ 25% และมีนกั เรียนร้อยละ 15.87 ที่สอบได้คะแนนมากกว่า 85 คะแนน ถ้านาย ก เป็ นนักเรียน
คนหนึง่ ในห้องนี ้ สอบได้คะแนน 47.6 คะแนน จะอยูใ่ นตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
เมื่อกาหนดพืน้ ที่ใต้โค้งปกติ ระหว่าง 0 ถึง 𝑧 ดังนี ้
𝑧 0.4 0.9 1.0 1.1 1.2 1.3
พืน้ ที่ 0.1554 0.3159 0.3413 0.3643 0.3849 0.4032

1. 34.46 2. 18.41 3. 13.57


4. 11.51 5. 9.68
PAT 1 (ต.ค. 58) 9

2 3 𝑛
23. กาหนดให้ 𝑎𝑛 = 1+2+2 +2 32𝑛
+ … +2
เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3, …
ค่าของ nlim

(𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎𝑛 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 1 9
1. 9
2. 8
3. 56
2 25
4. 7
5. 56

24. กาหนดให้ 𝕀 แทนเซตของจานวนเต็ม และ ℝ แทนเซตของจานวนจริง


2
ถ้า 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 = √4−𝑥𝑥−+2 √2𝑥+1
} และ 𝐴 = { 𝑥 2 | 𝑥 ∈ 𝕀 ∩ 𝐷𝑟 }
แล้วผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6 2. 10 3. 19
4. 29 5. 30

25. ภายใต้อสมการข้อจากัดต่อไปนี ้ 𝑥 + 2𝑦 ≤ 4 , 𝑥 − 𝑦 ≤ 1 , 𝑥+𝑦≥1 , 𝑥≥0 และ 𝑦≥0


สมการจุดประสงค์ในข้อใดต่อไปนี ้ ที่มีคา่ มากที่สดุ
1. 𝑧 = 2𝑥 + 2𝑦 2. 𝑧 = 3𝑥 + 2𝑦 3. 𝑧 = 2𝑥 + 3𝑦
4. 𝑧 = 𝑥 + 4𝑦 5. 𝑧 = 4𝑥 + 𝑦
10 PAT 1 (ต.ค. 58)

1 2 𝑎 𝑏
26. กาหนดให้𝐴=[
2 1
] และ 𝐵 = [ ] เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ 𝑎𝑏𝑐𝑑 = 9 และ
𝑐 𝑑
𝑎𝑑 ≠ 𝑏𝑐 ถ้า 𝐴𝐵−1 = 𝐵−1 𝐴 และ det(𝐴𝑡 𝐵) = −24 แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 เท่ากับเท่าใด
1. 5 2. 6 3. 7
4. 8 5. 9

27. กาหนดให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่เป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้า 𝑎̅ ขนานกับ 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅ − 𝑏̅| = |𝑎̅| − |𝑏̅|
2 2
(ข) ถ้า |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| แล้ว 𝑎̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑏̅
(ค) ถ้าเวกเตอร์ 𝑎̅ + 𝑏̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑎̅ − 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅| = |𝑏̅|
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

28. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 และ 𝑒 เป็ นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ


𝑎+𝑏−4 = 𝑏+𝑐+5 = 𝑐+𝑑+1 = 𝑑+𝑒−2 = 𝑒+𝑎+3
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑐 + 𝑒 < 𝑏 + 𝑑
(ข) 𝑐 < 𝑏 < 𝑒 < 𝑑
(ค) 𝑎 + 𝑑 < 𝑏 + 𝑐
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
PAT 1 (ต.ค. 58) 11

29. กาหนดข้อมูลชุดหนึง่ ดังตารางต่อไปนี ้ คะแนน จานวน


0–2 3
3–5 5
6–8 𝑎
9 – 11 3
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก
ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 5 แล้วมัธยฐานของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับเท่าใด
1. 3.8 2. 4.3 3. 4.8
4. 4.9 5. ไม่มีคาตอบ

30. จากการสารวจประชากรของหมูบ่ า้ นแห่งหนึง่ มีผหู้ ญิงร้อยละ 60 ของประชากรทัง้ หมดในหมูบ่ า้ นนี ้ และมีอตั ราส่วน
ของจานวนผูห้ ญิงทีม่ ีสายตาผิดปกติ ต่อจานวนผูห้ ญิงที่มีสายตาปกติ เท่ากับ อัตราส่วนของจานวนประชากรใน
หมูบ่ า้ นนีท้ ี่มีสายตาผิดปกติ ต่อ จานวนประชากรในหมูบ่ า้ นนีท้ ี่มสี ายตาปกติ พิจารณาข้อสรุปเกี่ยวกับประชากรใน
หมูบ่ า้ น ต่อไปนี ้
(ก) ผูห้ ญิงที่มีสายตาผิดปกติมจี านวน 1.5 เท่าของจานวนผูช้ ายที่มีสายตาผิดปกติ
(ข) ผูช้ ายที่มีสายตาปกติมีจานวนมากกว่าจานวนผูห้ ญิงสายตาปกติ
(ค) อัตราส่วนของจานวนผูห้ ญิงทีม่ ีสายตาผิดปกติ ต่อ จานวนผูห้ ญิงทัง้ หมดในหมูบ่ า้ นนี ้ มากกว่า
อัตราส่วนของจานวนผูช้ ายที่มีสายตาผิดปกติ ต่อ จานวนผูช้ ายทัง้ หมดในหมูบ่ า้ นนี ้
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
12 PAT 1 (ต.ค. 58)

ตอนที่ 2 ข้อ 31 - 45 ข้อละ 8 คะแนน


31. ในการสารวจความชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาไทย และวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนกลุม่ หนึง่
พบว่า มีนกั เรียนชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 150 คน
มีนกั เรียนชอบเรียนวิชาภาษาไทย 80 คน
มีนกั เรียนชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 60 คน
และ มีนกั เรียน 30 คน ชอบเรียนทัง้ สามวิชา
นักเรียนกลุม่ นีม้ ีจานวนอย่างมากกี่คน

32. ให้ 𝐴 แทนเซตคาตอบของสมการ 3(9 + 3|𝑥|+|𝑥+4| ) = 3|𝑥+4| + 3|𝑥|+4 และให้ 𝐵 = { 59 − 𝑥 | 𝑥 ∈ 𝐴 }


ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐵 เท่ากับเท่าใด

33. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓: ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่สามารถหาอนุพนั ธ์ได้ และสอดคล้องกับ
𝑥 2 +𝑥−6
lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
= 6 และ 1 + 𝑓(𝑥) ≥ 0 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้าเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 = 4 ตัดกับกราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2 แล้วค่าของ 𝑓 ′ (2) เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ต.ค. 58) 13

𝑥3 , 𝑥 < −1
34. กาหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = { 𝑎𝑥 + 𝑏 , −1 ≤ 𝑥 < 1 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
ถ้าฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่อง สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 แล้วค่า  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด
2

35. กาหนดให้ 𝑎 > 1 และ นิยาม 𝐿(𝑛) = log 2𝑛 ( 𝑛√𝑎) สาหรับ 𝑛 = 1, 2, 3, …


1 1 1
ถ้า 𝐿(1) + 𝐿(2) + ⋯ + 𝐿(10) = 77 แล้วค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด

1 𝑏 0
36. ถ้า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ |𝑎 4 1 | = −17
5 𝑎 −𝑎
5 + 2𝑎 2 5
แล้วค่าของ |8+𝑎 2𝑏 𝑎| เท่ากับเท่าใด
2−𝑎 0 −𝑎
14 PAT 1 (ต.ค. 58)

37. ให้ {𝑎𝑛 } เป็ นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง


โดยที่ 𝑎1 + 𝑎3 + 𝑎5 + … + 𝑎49 = 𝑎2 + 𝑎4 + 𝑎6 + ⋯ + 𝑎50 = 1275 และ 𝑎100 = 200
ค่าของ 𝑎51 + 𝑎52 + 𝑎53 + … + 𝑎100 เท่ากับเท่าใด

38. ต้องการสร้างจานวนห้าหลัก จากเลขโดด 1, 2, 3 โดยที่แต่ละหลักมีตวั เลขซา้ กันได้ และจานวนห้าหลักประกอบด้วย


ตัวเลข 1 อย่างน้อย 1 หลัก ตัวเลข 2 อย่างน้อย 1 หลัก และตัวเลข 3 อย่างมาก 2 หลัก จะมีจานวนห้าหลัก
ดังกล่าวได้ทงั้ หมดกี่จานวน

39. จากการสารวจปริมาณอาหารเสริมที่ใช้เลีย้ งสัตว์ชนิดหนึง่ จานวน 8 ตัว ได้ขอ้ มูลซึง่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง


อายุ (ปี ) ของสัตว์ชนิดนี ้ และปริมาณอาหารเสริม (กิโลกรัม) ทีใ่ ช้เลีย้ งสัตว์ดงั กล่าวต่อสัปดาห์ ปรากฏผลดังนี ้
อายุ (ปี ) : 𝑥 𝑥1 𝑥2 𝑥3 𝑥4 𝑥5 𝑥6 𝑥7 𝑥8
ปริมาณอาหารเสริมต่อสัปดาห์ (กิโลกรัม) 𝑦1 𝑦2 𝑦3 𝑦4 𝑦5 𝑦6 𝑦7 𝑦8

8 8 8 8 8
โดยที่  𝑥𝑖 = 40 ,  𝑦𝑖 = 48 ,  𝑥𝑖2 = 210 ,  𝑦𝑖2 = 380 ,  𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 270
i 1 i 1 i 1 i 1 i 1

และ 3 = 𝑥1 < 𝑥2 < … < 𝑥8 < 10


สมมติวา่ กราฟแผนภาพการกระจายที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณอาหารเสริมที่ใช้เลีย้ งสัตว์ตอ่ สัปดาห์ และ
อายุของสัตว์ดงั กล่าว อยูใ่ นรูปแบบเส้นตรง ถ้าสัตว์ชนิดนีม้ ีอายุ 4 ปี จะต้องใช้ปริมาณอาหารเสริมที่ใช้เลีย้ งสัตว์ตอ่
สัปดาห์ประมาณกี่กิโลกรัม
PAT 1 (ต.ค. 58) 15

40. ถ้า 𝐴𝑥 2 + 𝐵𝑦 2 + 𝐷𝑥 + 𝐸𝑦 = 21 เป็ นสมการของไฮเพอร์โบลารูปหนึง่ มีแกนตามขวางขนานแกน 𝑥


มีเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 + 1 = 0 เป็ นเส้นกากับ (asymtote) เส้นหนึง่ และมีจดุ (1 + 2√5, 3) เป็ นโฟกัสจุดหนึง่
แล้วค่าของ 𝐴2 + 𝐵2 + 𝐷2 + 𝐸2 เท่ากับเท่าใด

1 1 1
41. ให้ 𝑆 เป็ นเซตของคูอ่ นั ดับ (𝑎, 𝑏) ทัง้ หมด โดยที่ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวกทีส่ อดคล้องกับ 𝑎
− 𝑏 = 10
จานวนสมาชิกของเซต 𝑆 เท่ากับเท่าใด

42. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑥 ทัง้ หมด ที่สอดคล้องกับอสมการ √1+𝑥√+2𝑥√1−𝑥 < √1 − 𝑥


ถ้า 𝑎 เป็ นขอบเขตบนน้อยสุดของเซต 𝐴 และ 𝑏 เป็ นขอบเขตล่างมากสุดของเซต 𝐴
แล้วค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 เท่ากับเท่าใด
16 PAT 1 (ต.ค. 58)

43. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของคูอ่ นั ดับ (𝑥, 𝑦) โดยที่ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ
√2 − 𝑥 + √𝑦 = 2 และ 3 log 4 16𝑥 2 = 6 + 6 log 2 √𝑦
ให้ 𝐵 = { 𝑥 2 + 𝑦 2 | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 } ค่ามากที่สดุ ของสมาชิกในเซต 𝐵 เท่ากับเท่าใด

5 5
44. กาหนดให้ขอ้ มูลกลุม่ ตัวอย่าง 5 จานวน คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , 𝑥4 , 𝑥5 โดยที่  𝑥𝑖2 = 214 และ  (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 = 34
i 1 i 1

เมื่อ 𝑥̅ คือค่าเฉลีย่ เลขคณิตของกลุม่ ตัวอย่างนี ้ และ 𝑥̅ > 0


ถ้าข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างใหม่ 5 จานวน คือ 𝑥1 + 2𝑥2 , 𝑥2 + 2𝑥3 , 𝑥3 + 2𝑥4 , 𝑥4 + 2𝑥5 , 𝑥5 + 2𝑥1 มีสว่ น
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 16
แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 𝑥1 𝑥2 , 𝑥2 𝑥3 , 𝑥3 𝑥4 , 𝑥4 𝑥5 , 𝑥5 𝑥1 เท่ากับเท่าใด

45. ให้ 𝑆 เป็ นเซตของจานวนสองหลัก 𝑎𝑏 ทัง้ หมด โดยที่ 𝑎𝑏 + 𝑏𝑎 = 143 เมื่อ 𝑎, 𝑏 ∈ {1, 2, 3 , … , 9}
และ 𝑎 ≠ 𝑏 ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝑆 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ต.ค. 58) 17

เฉลย
1. 2 11. 3 21. 1 31. 230 41. 4
2. 5 12. 3 22. 4 32. 126 42. 1.5
3. 3 13. 1 23. 5 33. 5 43. 2
4. 2 14. 1 24. 4 34. 9.25 44. 78.7
5. 5 15. 2 25. 5 35. 32 45. 429
6. 4 16. 4 26. 4 36. 68
7. 4 17. 3 27. 3 37. -
8. 2 18. 4 28. 1 38. 160
9. 3 19. 2 29. 2 39. 3
10. 5 20. 3 30. 1 40. 117

แนวคิด
1. 2
จาก (𝑝 ∨ 𝑟) ↔ (~𝑝 ∧ ~𝑞) เป็ นจริง จะสรุปได้วา่ 𝑝 ∨ 𝑟 กับ ~𝑝 ∧ ~𝑞 ต้องมีคา่ ความจริงเหมือนกัน
จะเห็นว่า 𝑝 เป็ น T ไม่ได้ เพราะถ้า 𝑝 เป็ นจริง จะทาให้ 𝑝 ∨ 𝑟 ≡ T ∨ 𝑟 ≡ T
ไม่เหมือนกัน
แต่ จะทาให้ ~𝑝 ∧ ~𝑞 ≡ ~T ∧ ~𝑞 ≡ F ∧ ~𝑞 ≡ F
ดังนัน้ 𝑝 ต้องเป็ น F และจะได้ 𝑝 ∨ 𝑟 ≡ F ∨ 𝑟 ≡ 𝑟
ต้องเหมือนกัน → จะได้ 𝑟 ≡ ~𝑞
และ ~𝑝 ∧ ~𝑞 ≡ ~F ∧ ~𝑞 ≡ T ∧ ~𝑞 ≡ ~𝑞
นั่นคือ 𝑟 กับ 𝑞 ต้องมีคา่ ความจริง
ตรงข้ามกัน
สรุป จากข้อมูลที่โจทย์ให้ จะได้วา่ 𝑝 ≡ F และ 𝑟 กับ 𝑞 ตรงข้ามกัน
1. (𝑞 ↔ 𝑟) ∨ 𝑝 𝑟 กับ 𝑞 ตรงข้ามกัน 2. (𝑝 → 𝑞) ∨ (𝑟 → 𝑝)
≡ F ∨F จะได้ 𝑞 ↔ 𝑟 ≡ F ≡ (F → 𝑞) ∨ (𝑟 → F)
≡ F ≡ T ∨ (𝑟 → F)
≡ T
3. (𝑟 → 𝑞) ∧ (𝑝 ∧ 𝑞) 4. (𝑞 → ~𝑝) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟)
≡ (𝑟 → 𝑞) ∧ (F ∧ 𝑞) ≡ (𝑞 → ~F) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟)
≡ (𝑟 → 𝑞) ∧ F ≡ (𝑞 → T ) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟)
≡ F ≡ T ∨ (𝑞 ∧ 𝑟)
≡ T
5. (𝑟 ∨ 𝑞) ↔ (𝑝 → ~𝑟)
≡ (𝑟 ∨ 𝑞) ↔ (F → ~𝑟) 𝑟 กับ 𝑞 ตรงข้ามกัน ดังนัน้ จะมีตวั หนึ่ง T ตัวหนึ่ง F
≡ T ↔ T เมื่อมีตวั หนึ่ง T จะได้ 𝑟 ∨ 𝑞 ≡ T เสมอ
≡ T
จะเห็นว่า มีขอ้ 2. ข้อเดียว ที่ตรงกับข้อความในตัวเลือก

2. 5
จาก 𝐴 ∩ (𝐵 ∪ 𝐶)′ = ∅
ใช้สตู ร 𝐴 − 𝐵 = 𝐴 ∩ 𝐵′
𝐴 − (𝐵 ∪ 𝐶) = ∅
𝐴 𝐵 𝐴 𝐵
ซึง่ 𝐴 − (𝐵 ∪ 𝐶) คือบริเวณ เป็ นเซตว่าง ดังนัน้ ใส่ 0 ได้ดงั รูป 0

𝐶 𝐶
18 PAT 1 (ต.ค. 58)

จาก 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) = 𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) → กาหนด 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑥 ดังรูป 𝐴 𝐵


0 𝑎
จะได้ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) = 𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) 𝑥 𝑐
𝑏
𝑎+𝑥 = 𝑐+𝑥 = 𝑏+𝑥
𝑎 = 𝑐 = 𝑏
𝐶
𝐴 𝐵
ให้ 𝑎=𝑏=𝑐=𝑦 จะได้ 0 𝑦
𝑦 𝑥 𝑦 จาก 𝑛(𝐴) = 12 จะได้ 0 + 𝑦 + 𝑥 + 𝑦 = 12
𝑥 + 2𝑦 = 12 …(1)
𝐶

และจากสูตร Inclusive – Exclusive จะได้


𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 𝑛(𝐴) + 𝑛(𝐵) + 𝑛(𝐶) − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) − 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) + 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶)
20 = 12 + 15 + 16 − (𝑥 + 𝑦) − (𝑥 + 𝑦) − (𝑥 + 𝑦) + 𝑥
20 = 43 −𝑥 − 𝑦 −𝑥 − 𝑦 −𝑥 − 𝑦 + 𝑥
2𝑥 + 3𝑦 = 23 …(2)

แก้ระบบสมการ (1) กับ (2) : 𝑥 + 2𝑦 = 12 …(1)


2𝑥 + 3𝑦 = 23 …(2)
2 × (1) : 2𝑥 + 4𝑦 = 24 …(3)
(3) – (2) : 𝑦 = 1 → แทนใน (1) : 𝑥 + 2(1) = 12
𝑥 = 10

แทน 𝑥 = 10 , 𝑦 = 1 ในแผนภาพ และหาส่วนที่เหลือ จะได้ดงั รูป


𝐴 𝐵 𝐴 𝐵
0 1 0 1 3
10 𝑛(𝐵) = 15 10
1 1 𝑛(𝐶) = 16 1 1
4
𝐶 𝐶

1. 𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶 → 10 2. 𝐴 ∩ 𝐵 → 11 3. 𝐴′ ∩ 𝐵 = 𝐵 ∩ 𝐴′
𝐴 𝐵 𝐴 𝐵 = 𝐵−𝐴 → 4
0 1 3 0 1 3 𝐴 𝐵
10 10 0 1 3
1 1 1 1
10
4 4 1 1
𝐶 𝐶 4
𝐶
4. (𝐴 ∪ 𝐵) ∩ 𝐶 → 12 5. (𝐴 ∪ 𝐵)′ ∩ 𝐶 = 𝐶 ∩ (𝐴 ∪ 𝐵)′
= 𝐶 − (𝐴 ∪ 𝐵) → 4
𝐴 𝐵
0 1 3 𝐴 𝐵
10 0 1 3
1 1 10
1 1
4
𝐶 4
𝐶

จะเห็นว่า ข้อ 5. เท่านัน้ ที่ไม่ตรงกับข้อความในตัวเลือก


PAT 1 (ต.ค. 58) 19

3. 3
หา 𝐴 : ||𝑥 − 1| − 1| < 1
จากสมบัติคา่ สัมบูรณ์ จะได้ −1 < |𝑥 − 1| − 1 <1
0 < |𝑥 − 1| <2
จะได้ 0 < |𝑥 − 1| และ |𝑥 − 1| < 2

จริงเสมอ ยกเว้น เมื่อ 𝑥 − 1 = 0 −2 < 𝑥 − 1 < 2


→ 𝑥 เป็ นอะไรก็ได้ ที่ไม่ใช่ 1 −1 < 𝑥 < 3

รวมสองฝั่ง จะได้ 𝐴 ดังรูป


−1 1 3

หมายเหตุ : จริงๆแล้ว ข้อนี ้ ไม่ตอ้ งหา 𝐵 ก็ได้ เนื่องจาก 𝐴 ที่ได้ เป็ นสับเซตของ (−1, 3) ในข้อ 3 เพียงข้อเดียว
เนื่องจาก 𝐴 ∩ 𝐵 ⊂ 𝐴 และ 𝐴 ⊂ (−1, 3) ดังนัน้ จะสรุปได้วา่ 𝐴 ∩ 𝐵 ⊂ (−1, 3)
ดังนัน้ ข้อ 3 เป็ นคาตอบได้แน่นอน (แต่ถา้ ไม่หา 𝐵 จะไม่รูว้ า่ มีตวั เลือกข้ออื่นเป็ นคาตอบได้อีกหรือไม่)

หา 𝐵 :
1 2𝑥−2 2 1
𝑥+1
≥ 𝑥 2 −3𝑥+2
0 ≥ 𝑥−2
− 𝑥+1
1 2(𝑥−1) 2(𝑥+1)−1(𝑥−2)
≥ (𝑥−2)(𝑥−1)
0 ≥ (𝑥−2)(𝑥+1) มาจากตัวส่วน ต้องเป็ นวงขาวๆ
𝑥+1
1 2(𝑥−1) 2𝑥+2−𝑥+2
≥ 0 ≥ (𝑥−2)(𝑥+1)
𝑥+1 (𝑥−2)(𝑥−1)
1 2 𝑥+4 − + − +
≥ ; 𝑥≠1 0 ≥ (𝑥−2)(𝑥+1)
𝑥+1 𝑥−2 −4 −1 2

แต่ 𝑥 ≠ 1 ดังนัน
้ จะเหลือ 𝐵 ดังรูป
−4 −1 1 2

𝐴
จะได้ 𝐴 ∩ 𝐵 ดังรูป 𝐵
𝐴∩𝐵 จะเห็นว่า 𝐴 ∩ 𝐵 เป็ นสับเซตของ (−1, 3) ในข้อ 3
−4 −1 1 2 3
เพียงข้อเดียว

4. 2
สังเกตว่าแต่ละวงเล็บ จะเข้าสูตร sin 3𝜃 = 3 sin 𝜃 − 4 sin3 𝜃 ได้ ถ้ามี sin 𝜃 คูณเพิ่มอีกตัว
sin 𝜃
→ คูณ sin 𝜃 เข้าไปที่แต่ละวงเล็บ แล้วเข้าสูตร sin 3𝜃 ดังนี ้
(sin 9°)(3−4 sin2 9°) (sin 27°)(3−4 sin2 27°) (sin 81°)(3−4 sin2 81°) (sin 243°)(3−4 sin2 243°)
= sin 9°
∙ sin 27°
∙ sin 81°
∙ sin 243°
3 sin 9°−4 sin3 9° 3 sin 27°−4 sin3 27° 3 sin 81°−4 sin3 81° 3 sin 243°−4 sin3 243°
= sin 9°
∙ sin 27°
∙ sin 81°
∙ sin 243°
sin 3(9°) sin 3(27°) sin 3(81°) sin 3(243°)
= ∙ ∙ ∙
sin 9° sin 27° sin 81° sin 243°
sin 27° sin 81° sin 243° sin 729° sin 729°
=
sin 9°

sin 27°

sin 81°

sin 243°
→ เหลือ sin 9°
sin 729° sin 9°
เนื่องจาก 729 หารด้วย 360 เหลือเศษ 9 ดังนัน้ sin 9°
= sin 9°
= 1
20 PAT 1 (ต.ค. 58)

5. 5
𝜃 sin 𝜃 𝜃 1+cos 𝜃
จากสูตร tan
2
=
1+cos 𝜃
ได้ จะได้ cot
2
=
sin 𝜃

จะได้ 2 cot 2
𝜃
= (1 + cot 𝜃)2
2(1+cos 𝜃) cos 𝜃 2
sin 𝜃
= (1 + sin 𝜃 )
2+2 cos 𝜃 sin 𝜃+cos 𝜃 2
sin 𝜃
= ( sin 𝜃
)
2+2 cos 𝜃 sin2 𝜃+2 sin 𝜃 cos 𝜃+cos2 𝜃
sin 𝜃
= sin2 𝜃
2+2 cos 𝜃 1 +2 sin 𝜃 cos 𝜃 sin2 𝜃 + cos 2 𝜃 = 1
sin 𝜃
= sin2 𝜃
1+2 sin 𝜃 cos 𝜃
2 + 2 cos 𝜃 = sin 𝜃
2 sin 𝜃 + 2 sin 𝜃 cos 𝜃 = 1 + 2 sin 𝜃 cos 𝜃
2 sin 𝜃 = 1
1
sin 𝜃 = 𝜋
2 0<𝜃<2
𝜃 = 30°
1 2 2
(1+sin 𝜃) sec2 𝜃 (1+sin 30°) sec2 30° (1+ )( ) 3 4 2
ดังนัน้ cos 2𝜃
=
cos 60°
=
2
1
√3
= ( )( )( ) = 4
2 3 1
2

6. 4
หลัง arc ทุกตัวเป็ นค่าบวก → ผล arc จะได้มมุ ใน Q1 → ใช้สามเหลีย่ มมาช่วยคิดได้ โดยไม่ตอ้ งระวังเรือ่ ง
เครือ่ งหมายบวกลบ
หา sec 2(arctan 2) :
= √22 + 12
= √5
arctan 2 2 arctan 2 2 จะได้ sec(arctan 2) = √5 1
= √5
1 1 ดังนัน้ sec 2(arctan 2) = 5

หา cosec 2 (arccot 3) :
= √12 + 32
= √10
arccot 3 1 arccot 3 1 จะได้ cosec(arccot 3) = √110 = √10

3 3 ดังนัน้ cosec 2(arccot 3) = 10


3 1
สุดท้าย cosec (2 arccot 2 + arccos 5) =
sin(2 arccot 2+arccos )
3
5
1
= 3 3 …(∗)
sin(2 arccot 2) cos(arccos )+cos(2 arccot 2) sin(arccos )
5 5

= √12 + 22 sin(2 arccot 2) = 2 sin(arccot 2) cos(arccot 2)


= √5 1 2 4
= 2( )( ) = 5 sin 2𝜃 = 2 sin 𝜃 cos 𝜃
√5 √5
arccot 2 1 2 (arccot cos 2𝜃 = 2 cos2 𝜃 − 1
cos(2 arccot 2) = 2 cos 2) − 1
2 2 8 3
2 = 2( ) − 1 = −1 =
√5 5 5
PAT 1 (ต.ค. 58) 21

3 3
5 cos (arccos ) =
3 = √52 − 32 5 5
arccos 3 4
5 = 4 sin (arccos ) =
5 5
3
3 1 1 25
แทนใน (∗) จะได้ cosec (2 arccot 2 + arccos ) =
5 4 3 3 4 = 24 =
24
( )( )+( )( ) 25
5 5 5 5
25 360+25 385
จะได้คาตอบที่โจทย์ถาม = 5 + 10 + 24 = 24
= 24

7. 4
จะได้ 𝐴 = arcsin (cos 𝜋3) = arcsin (12) = 30°
ดังนัน้ sin2 𝐵 + sin2(𝐴 + 𝐵) + sin2(5𝐴 + 𝐵)
= sin2 𝐵 + sin2(30° + 𝐵) + sin2 (5(30°) + 𝐵)
= sin2 𝐵 + (sin 30° cos 𝐵 + cos 30° sin 𝐵)2 + (sin 150° cos 𝐵 + cos 150° sin 𝐵)2
= sin2 𝐵 + (sin 30° cos 𝐵 + cos 30° sin 𝐵)2 + (sin 30° cos 𝐵 − cos 30° sin 𝐵)2
2 2
1 √3 1 √3
= sin2 𝐵 + (2 cos 𝐵 + 2
sin 𝐵) + (2 cos 𝐵 − 2
sin 𝐵)
cos2 𝐵 √3 cos 𝐵 sin 𝐵 3 sin2 𝐵 cos2 𝐵 √3 cos 𝐵 sin 𝐵 3 sin2 𝐵
= sin2 𝐵 + 4
+ 2
+ 4
+ 4
− 2
+ 4
2 cos2 𝐵 6 sin2 𝐵
= sin2 𝐵 + +
4 4
1−sin2 𝐵 3 sin2 𝐵
= sin2 𝐵 + 2
+ 2
2 sin2 𝐵+1−sin2 𝐵+3 sin2 𝐵
= 2
4 sin2 𝐵 + 1
= 2 ในตัวเลือก เป็ นมุมสองเท่า → จะใช้สตู ร cos 2𝐵 = 1 − 2 sin2 𝐵 มาช่วยจัดรูป
1−cos 2𝐵
4(
2
)+1 2sin2 𝐵 = 1 − cos 2𝐵
= 2 1−cos 2𝐵
sin2 𝐵 =
2−2 cos 2𝐵+1 3 2
= 2
= 2
− cos 2𝐵

8. 2

log 𝑎 (𝑏 − 2) = log √𝑎 √3 + log 𝑎2 (𝑏 + 2) 1


1 1 log 𝑎𝑛 𝑀 = log 𝑎 𝑀
𝑛
log 𝑎 (𝑏 − 2) = 1 log 𝑎 √3 + log 𝑎 (𝑏 + 2)
2
2
1
log 𝑎 (𝑏 − 2) = 2 log 𝑎 √3 + log 𝑎 (𝑏 + 2)
2
2 1 𝑛 log 𝑎 𝑀 = log 𝑎 𝑀 𝑛
log 𝑎 (𝑏 − 2) = log 𝑎 √3 + log 𝑎 (𝑏 + 2)2
log 𝑎 (𝑏 − 2) = log 𝑎 3 + log 𝑎 √𝑏 + 2
log 𝑎 𝑀 + log 𝑎 𝑁 = log 𝑎 𝑀𝑁
log 𝑎 (𝑏 − 2) = log 𝑎 (3)(√𝑏 + 2)
𝑏−2 = (3)(√𝑏 + 2) ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง
2
𝑏 − 4𝑏 + 4 = (9)(𝑏 + 2) (น − ล)2 = น2 − 2นล + ล2
𝑏 2 − 13𝑏 − 14 = 0
(𝑏 − 14)(𝑏 + 1) = 0
𝑏 = 14 , −1
โจทย์ให้ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก
22 PAT 1 (ต.ค. 58)

แก้อีกสมการ (log 2𝑏 𝑎)(log 𝑎 𝑏) = 1 + log √𝑎 𝑏 1


2 (log 1 log 𝑎𝑛 𝑀 = log 𝑎 𝑀
(log 𝑏 𝑎) 𝑎 𝑏) = 1 + 1 log 𝑎 𝑏
𝑛
2 1
1 1
log 𝑁 𝑀 =
2 log𝑀 𝑁
(log 𝑏 𝑎) (log 𝑎) = 1 + 2 (log 𝑎)
𝑏
1
𝑏
1
เปลี่ยนตัวแปร ให้ log 𝑏 𝑎 = 𝑥
( 𝑥 )2 ( ) = 1 + 2( )
𝑥 𝑥
คูณ 𝑥 ตลอด
𝑥2 = 𝑥 + 2
2
𝑥 −𝑥−2 = 0
(𝑥 − 2)(𝑥 + 1) = 0
𝑥 = 2 , −1
เปลี่ยนตัวแปรกลับ แทน 𝑏 = 14
log 𝑏 𝑎 = 2 , −1
log14 𝑎 = 2 , −1
𝑎 = 142 , 14−1
1
𝑎 = 196 , 14
โจทย์ให้ 𝑎 > 2

จะได้ 𝑎 + 𝑏 = 196 + 14 = 210

9. 3
ถ้า 𝑦 ถูกยกกาลังคู่ หรือ อยูใ่ นค่าสัมบูรณ์ แล้ว มักจะ ไม่ใช่ฟังก์ชนั
(เพราะ 𝑦 เป็ นลบกับบวก จะยกกาลังคูไ่ ด้คา่ เดียวกัน ทาให้อาจมี 𝑦 สองค่า สาหรับ 𝑥 ค่าหนึง่ ๆ)
ข้อ 3. จะเห็นว่าข้อ 3. มี 𝑦 2 อยู่ จึงน่าสงสัยว่าจะไม่ใช่ฟังก์ชนั
ลองให้ 𝑦 = 1 กับ −1 จะได้ 𝑥 2 = √(±1)2 + 1 = √1 + 1 = √2
𝑥 = ±√√2 → หาค่า 𝑥 ได้
ดังนัน้ จะมี 𝑥 หนึง่ ค่าทีจ่ บั คูก่ บั 𝑦 สองค่า เช่น (√√2, 1) กับ (√√2, −1) → ข้อ 3. ไม่เป็ นฟั งก์ชนั
ข้อ 2. tan เป็ น “ฟั งก์ชนั ” ตรีโกณมิติ → จึงเป็ นฟังก์ชนั โดยอัตโนมัติ
ข้อ 1. กับ ข้อ 4. วาดกราฟ
𝑥𝑦 + 1 = 0 𝑦 = |2 − 𝑥|
𝑥𝑦 = −1 𝑦 = |𝑥 − 2| → เป็ นตัววีหกั ที่ (2, 0)

จะเห็นว่าเส้นแนวดิง่ ตัดกราฟได้อย่าง
มาก 1 จุดเสมอ → เป็ นฟั งก์ชนั

𝑦
ข้อ 5. พิสจู น์ได้โดยสมมติให้ (𝑥1 , 𝑦1 ) และ (𝑥2 , 𝑦2 ) สอดคล้องกับความสัมพันธ์ 𝑥 2 = 𝑦+1
ถ้า 𝑥1 = 𝑥2
ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง
𝑥12 = 𝑥22 จะได้ 𝑥12 = 𝑦𝑦+1
1
และ 𝑥22 = 𝑦𝑦+1
2
1 2
𝑦1 𝑦2
𝑦1 +1
= 𝑦2 +1

𝑦1 𝑦2 + 𝑦1 = 𝑦1 𝑦2 + 𝑦2
𝑦1 = 𝑦2

จะเห็นว่า ถ้า 𝑥1 = 𝑥2 แล้ว จะได้ 𝑦1 = 𝑦2 สอดคล้องกับเงื่อนไขของฟังก์ชนั → เป็ นฟั งก์ชนั


PAT 1 (ต.ค. 58) 23

10. 5
จัดรูปวงกลม 𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑎𝑥 − 6𝑦 − 12 = 0
(𝑥 2 + 𝑎𝑥) + (𝑦 2 − 6𝑦) = 12 เติม ล2 เพื่อเข้าสูตรกาลังสองสมบูรณ์
𝑎 2 𝑎 2 น2 + 2นล + ล2 = (น + ล)2
(𝑥 2 + 𝑎𝑥 + (2 ) ) + (𝑦 2 − 6𝑥𝑦 + 32 ) = 12 + (2 ) + 32
𝑎 2 𝑎2
(𝑥 + ) + (𝑦 − 3)2 = 21 +
2 4

𝑎
จะได้วงกลมมีจดุ ศูนย์กลางคือ (− 2 , 3) …(∗) ระยะจาก (𝑎, 𝑏) ไปยังเส้นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0
|𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶|
หาได้จากสูตร √𝐴2 +𝐵2

𝑎
𝑎 |4(− )+3(3)−71| |−2𝑎−62|
จะได้ระยะจาก (− 2 , 3) ไปยังเส้นตรง 4𝑥 + 3𝑦 = 71 เท่ากับ 2
√4 2 +32
= 5
4𝑥 + 3𝑦 − 71 = 0
แต่โจทย์ให้ระยะจากจุดศูนย์กลางไปยังเส้นตรง = 14 ดังนัน้ |−2𝑎−62|
5
= 14
|−2𝑎 − 62| = 70
−2𝑎 − 62 = 70 , −70
−2𝑎 = 132 , −8
𝑎 = −66 , 4
4
แต่โจทย์ให้ 𝑎 > 0 ดังนัน้ จะได้ 𝑎 = 4 แทนใน (*) จะได้จดุ ศูนย์กลางวงกลมคือ (− 2 , 3) = (−2, 3)
ดังนัน้ พาราโบลา มี F(−2, 3) และมีเส้นไดเรคตริกซ์ คือ 𝑦 = 7 จะวาดได้ดงั รูป
จุดยอด V จะอยูต่ รงกลาง ระหว่าง F และ เส้นไดเรคตริกซ์ ดังนัน้ จะได้พิกดั 𝑦=7
ของจุดยอดคือ V(−2, 3+7 2
) = V(−2, 5) → จะได้ ℎ = −2 และ 𝑘 = 5 V( ℎ , 𝑘 )
𝑐
และจะได้ระยะโฟกัส 𝑐 = 5 − 3 = 2 F(−2, 3)
แทนในรูปสมการของพาราโบลาคว่า (𝑥 − ℎ)2 = −4𝑐(𝑦 − 𝑘)
2
(𝑥 − (−2)) = −4(2)(𝑦 − 5)
(𝑥 + 2)2 = −8(𝑦 − 5)
2
𝑥 + 4𝑥 + 4 = −8𝑦 + 40
𝑥 2 + 4𝑥 + 8𝑦 − 36 = 0

11. 3
จัดรูปพาราโบลา ได้ 𝑦 2 − 4𝑦 = −40𝑥 + 236
𝑦 2 − 4𝑦 + 4 = −40𝑥 + 236 + 4
(𝑦 − 2)2 = −40𝑥 + 240
(𝑦 − 2)2 = −40(𝑥 − 6)
(𝑦 − 2)2 = −4(10)(𝑥 − 6) 10
V(6, 2)
F
เทียบกับ รูปสมการ (𝑦 − 𝑘)2 = −4𝑐(𝑥 − ℎ)
จะได้พาราโบลาเปิ ดซ้าย มีจดุ ยอด V(ℎ, 𝑘) = (6, 2)
จุดโฟกัสจะอยูห่ า่ งจากจุดยอดไปทางซ้าย = 𝑐 = 10 → จะได้พกิ ดั จุดโฟกัสคือ F(6 – 10, 2) = F(−4, 2)
24 PAT 1 (ต.ค. 58)

ดังนัน้ วงรีมีจดุ โฟกัสอยูท่ ี่ F1(6, 2) และ F2 (−4, 2)


จะเห็นว่า โฟกัสเรียงตัวในแนวนอน → เป็ นวงรีแนวนอน
(−4, 2) (1, 2) (6, 2)
F2 F1
เนื่องจากจุดศูนย์กลางวงรี จะอยูต่ รงกลางระหว่างจุดโฟกัสทัง้ สอง
จะได้ จุดศูนย์กลางวงรี (ℎ, 𝑘) = ( 6+(−4) 2
, 2 ) = (1, 2)
𝑐=5 และจะได้ ระยะโฟกัส 𝑐 = 6 − 1 = 5 ดังรูป

จากสมบัติของวงรี ถ้า A เป็ นจุดบนวงรี จะได้ AF1 + AF2 = ความยาวแกนเอก


เนื่องจากวงรี ผ่านจุด A(4, 6) ใช้สตู รระยะระหว่างจุด ระหว่าง A กับ F1(6, 2) และ F2 (−4, 2) จะได้
AF1 + AF2 = √(4 − 6)2 + (6 − 2)2 + √(4 − (−4))2 + (6 − 2)2
= √ 4 + 16 +√ 64 + 16
= √20 + √80
= 2√5 + 4√5 = 6√5
6√5
ดังนัน้ ความยาวแกนเอก = 6√5 → จะได้ 𝑎= 2
= 3√5 → และจะหา 𝑏 ได้จาก 𝑎2 = 𝑏2 + 𝑐 2
2
(3√5) = 𝑏 2 + 52
45 = 𝑏 2 + 25
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2
แทนในสมการวงรีแนวนอน 𝑎2
+ 𝑏2
= 1 20 = 𝑏2
(𝑥−1)2 (𝑦−2)2
2 + 20
= 1
(3√5)
𝑥 2 −2𝑥+1 𝑦 2 −4𝑦+4
45
+ 20
= 1
4(𝑥 2 −2𝑥+1)+9(𝑦 2 −4𝑦+4)
= 1
180
4𝑥 2 − 8𝑥 + 4 + 9𝑦 2 − 36𝑦 + 36 = 180
4𝑥 2 + 9𝑦 2 − 8𝑥 − 36𝑦 − 140 = 0

12. 3
ข้อนี ้ จะพิจารณาเป็ นข้อๆ และแก้สมการเท่าที่จาเป็ น
1. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] จะจริงเมื่อ มี 𝑥 ค่าหนึง่ ที่ทาให้ทงั้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็ นจริง
แก้ 𝑃(𝑥) ก่อน → จะใช้ทฤษฎีตวั ประกอบตรรกยะและทฤษฎีเศษ หาตัวประกอบของ 8𝑥 3 − 4𝑥 − 1 ก็ได้
อีกวิธีคือ เติม +1 ให้ 8𝑥 3 เพื่อเข้าสูตรผลบวกกาลังสาม แล้วจับกลุม่ ดึงตัวร่วม ดังนี ้

เติม +1 − 1 8𝑥 3 − 4𝑥 − 1 = 0
8𝑥 3 + 1 − 1 − 4𝑥 − 1 = 0
(8𝑥 3 + 1) − 4𝑥 − 2 = 0
น3 + ล3 = (น + ล)(น2 − นล + ล2 ) ((2𝑥)3 + 13 ) − 2(2𝑥 + 1) = 0
(2𝑥 + 1)(4𝑥 2 − 2𝑥 + 1) − 2(2𝑥 + 1) = 0
ดึง 2𝑥 + 1 เป็ นตัวร่วม (2𝑥 + 1)(4𝑥 2 − 2𝑥 + 1 − 2) = 0
(2𝑥 + 1)(4𝑥 2 − 2𝑥 − 1) = 0
−𝑏±√𝑏 2 −4𝑎𝑐
1 −(−2)±√(−2)2 −4(4)(−1) 2𝑎
𝑥= − 𝑥=
2 2(4)
2±√20 1±√5
= 8
= 4
1±√5 1
แต่ 4
เป็ นอตรรกยะ ไม่อยูใ่ นเอกภพสัมพัทธ์ ดังนัน้ มี 𝑥 = −2 เพียงค่าเดียว ที่ทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นจริง
PAT 1 (ต.ค. 58) 25

1 1 4 1 2 1 1 1
ถ้าลองแทน 𝑥=−
2
ใน 𝑄(𝑥) ดู จะได้ 8 (− ) − 8 (− ) + (− ) + 1 =
2 2 2 2
−2− +1
2
= −1 ≠ 0 → เป็ นเท็จ
ดังนัน้ จะไม่มี 𝑥 ตัวไหนเลย ที่ทาให้ทงั้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็ นจริง → ข้อ 1. เป็ นเท็จ

2. ∀𝑥[𝑄(𝑥) → 𝑅(𝑥)] จะเป็ นจริงเมื่อ 𝑥 ทุกตัวที่ทาให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริง จะทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นจริงด้วย
แก้หา 𝑄(𝑥) → จับกลุม่ ดึงตัวร่วม แล้วเติม −1 + 1 คล้ายๆแบบเดิมได้ ดังนี ้
8𝑥 4 − 8𝑥 2 + 𝑥 + 1 = 0
2 (𝑥 2 (𝑥
น2 − ล2 = (น − ล)(น + ล) 8𝑥 − 1) + + 1) = 0
8𝑥 2 (𝑥 − 1)(𝑥 + 1) + (𝑥 + 1) = 0
ดึง 𝑥 + 1 เป็ นตัวร่วม (𝑥 + 1)(8𝑥 2 (𝑥 − 1) + 1) = 0
(𝑥 + 1)(8𝑥 3 − 8𝑥 2 + 1) = 0
เติม −1 + 1 3 2
(𝑥 + 1)(8𝑥 − 1 + 1 − 8𝑥 + 1) = 0
(𝑥 + 1)(8𝑥 3 − 1 − 8𝑥 2 + 2) = 0
น3 − ล3 = (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) (𝑥 + 1)((8𝑥 − 1) − 2(4𝑥 2 − 1)) = 0
3

น2 − ล2 = (น − ล)(น + ล) (𝑥 + 1)((2𝑥 − 1)(4𝑥 2 + 2𝑥 + 1) − 2(2𝑥 − 1)(2𝑥 + 1)) = 0


(𝑥 + 1)(2𝑥 − 1)((4𝑥 2 + 2𝑥 + 1) − 2(2𝑥 + 1)) = 0
ดึง 2𝑥 − 1 เป็ นตัวร่วม
(𝑥 + 1)(2𝑥 − 1)(4𝑥 2 + 2𝑥 + 1 − 4𝑥 − 2) = 0
(𝑥 + 1)(2𝑥 − 1)(4𝑥 2 − 2𝑥 − 1) = 0

𝑥 = −1 𝑥=2
1 เหมือนตัวประกอบของ 𝑃(𝑥)
→ ไม่มีคาตอบที่เป็ นตรรกยะ
1
ดังนัน้ มี 𝑥 = −1 , 2 สองค่าที่ทาให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริง
ลองแทนว่าจะทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นจริงทัง้ สองตัวหรือไม่

𝑥 = −1 : (−1)3 + (−1)2 = −1 + 1 = 0 → ไม่มากกว่า 0 → ทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นเท็จ
จะเห็นว่า 𝑥 = −1 ทาให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริง แต่ทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นเท็จ → ไม่ตอ้ งแทนต่อ → สรุปได้เลยว่า 2. ผิด

3. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑅(𝑥)] จะเป็ นจริงเมื่อ 𝑥 ทุกตัวที่ทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นจริง จะทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นจริงด้วย
จากข้อ 1. จะได้ 𝑥 = − 12 เป็ นค่าเดียวที่ทาให้ 𝑃(𝑥) เป็ นจริง → ลองแทนว่าจะทาให้ 𝑅(𝑥) เป็ นจริงหรือไม่
1 1 3 1 2 1 1 −1+2
𝑥 = − 2 : (− 2) + (− 2) = − 8 + 4 = 8
> 0 → 𝑅(𝑥) เป็ นจริง → ข้อ 3. ถูก

13. 1
1 2𝑥 3 1 𝑥 +1−2𝑥 2
−2𝑥 +𝑥 +13 3 2
จัดให้อยูใ่ นรูปเศษส่วน จะได้ √1−𝑥 (1 − 𝑥 2 +1) = 1−𝑥 ( 𝑥 2 +1 ) = 1−𝑥 (𝑥2 +1)
√ √
ซึง่ ถ้าแทน 𝑥 = 1 จะได้ 00 ดังนัน้ ทัง้ เศษและส่วน ต้องมี 𝑥 − 1 เป็ นตัวประกอบ
เอาเศษ มาหารสังเคราะห์ ด้วย 𝑥 − 1 จะได้ผลหาร −2𝑥 2 − 𝑥 − 1 ดังรูป
1 −2 1 0 1
−2𝑥 3 +𝑥 2 +1 (𝑥−1)(−2𝑥 2 −𝑥−1) −(1−𝑥)(−2𝑥 2 −𝑥−1)
−2 −1 −1 ดังนัน้ √1−𝑥 (𝑥 2 +1)
=
√1−𝑥 (𝑥 2 +1)
=
√1−𝑥 (𝑥 2 +1)
−2 −1 −1 0 2
−(√1−𝑥) (−2𝑥 2 −𝑥−1)
=
√1−𝑥 (𝑥 2 +1)
ตัด √1 − 𝑥 ทัง้ เศษและส่วน −√1−𝑥 (−2𝑥 2 −𝑥−1)
= (𝑥 2 +1)
−√1−1 (–2(12 )−1−1) −(0)(–2(12 )−1−1)
แทน 𝑥 = 1 ใหม่ จะได้ (12 +1)
= 2
= 0
26 PAT 1 (ต.ค. 58)

14. 1
หาความชันชองเส้นโค้ง 𝑦 = 2 + 𝑥|𝑥 − 1| ณ จุด (0, 2) ก่อน
บริเวณจุด (0, 2) มีคา่ 𝑥 ประมาณ 0 ซึง่ จะทาให้ 𝑥 − 1 เป็ นลบ ดังนัน้ |𝑥 − 1| = −(𝑥 − 1)
จะได้ที่บริเวณ (0, 2) สมการเส้นโค้งคือ 𝑦 = 2 + 𝑥(−(𝑥 − 1)) เมื่อ 𝐴 ≥ 0
= 2 − 𝑥2 + 𝑥 |𝐴| = { 𝐴
−𝐴 เมื่อ 𝐴 < 0
ดิฟ 𝑦 จะได้ความชัน บริเวณ (0, 2) คือ 𝑦 ′ = 0 − 2𝑥 + 1
ดังนัน้ ความชัน ณ จุด (0, 2) → แทน 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 ′ = 0 − 2(0) + 1 = 1 ดังนัน้ เส้นตรง 𝐿 มีความชัน = 1
เนื่องจาก เส้นตรง 𝑁 ตัง้ ฉากกับเส้นตรง 𝐿 → ความชัน 𝑁 กับ 𝐿 ต้องคูณกันได้ −1
→ จะได้ เส้นตรง 𝑁 มีความชัน = −1 (เพราะ −1 × 1 = −1)
เนื่องจากเส้นตรง 𝑁 ผ่านจุด (0, 2) ด้วย → ใช้สตู ร 𝑦−𝑦
𝑥−𝑥
1
= 𝑚 จะได้สมการเส้นตรง 𝑁 คือ
𝑦−2
𝑥−0
= −1
1
𝑦 − 2 = −𝑥
𝑥+𝑦 = 2
ดังนัน้ จุดทีจ่ ะอยูบ่ นเส้นตรง 𝑁 ได้ ต้องแทนในสมการ 𝑥 + 𝑦 = 2 แล้วเป็ นจริง
1. −1 + 3 = 2 จริง 2. 1 + 5 ≠ 2 3. −2 + 5 ≠ 2
4. 3 + (−2) ≠ 2 5. −3 + 4 ≠ 2
จะเห็นว่ามีขอ้ 1. ข้อเดียว ที่อยูบ่ นเส้นตรง 𝑁

15. 2
(ก) จะหา 𝑓(𝑥) และ 𝑓 ′ (𝑥) แล้ว แทน 𝑥 = 4
2𝑥 2𝑥
จาก 𝑓 −1(𝑥) = 𝑥+1 ย้ายข้าง 𝑓 −1 ไปเป็ น 𝑓 อีกข้าง จะได้ 𝑥 = 𝑓 (𝑥+1)
2𝑥
𝑘 ให้ 𝑘 =
𝑥+1
− = 𝑓( 𝑘 )
𝑘−2
𝑘𝑥 + 𝑘 = 2𝑥
𝑘𝑥 − 2𝑥 = −𝑘
𝑥(𝑘 − 2) = −𝑘
𝑘
𝑥 𝑥 =−
เปลีย่ นชื่อตัวแปร 𝑘 เป็ น 𝑥 จะได้ 𝑓(𝑥) = − 𝑥−2 …(∗) 𝑘−2

(𝑥−2)(1)−(𝑥)(1)
ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) = − (𝑥−2)2 𝑑 𝑑
𝑑 บน (ล่าง ∙ บน)−(บน ∙ 𝑑𝑥 ล่าง)
𝑑𝑥
=
𝑥−2 − 𝑥
− (𝑥−2)2 ( ) =
𝑑𝑥 ล่าง (ล่าง)2
2
= (𝑥−2)2
…(∗∗)
4
จาก (∗) จะได้ 𝑓(4) = − 4−2 = −2 1
2 1 ดังนัน้ 2𝑓 ′ (4) − 𝑓(4) = 2 (2) − (−2) = 3 → (ก) ถูก
จาก (∗∗) จะได้ 𝑓 ′(4) = (4−2)2 = 2

𝑑 𝑑
(ข) ดิฟ (∗∗) จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 𝑑𝑥
2(𝑥 − 2)−2 = −4(𝑥 − 2)−3 ∙ 𝑑𝑥 (𝑥 − 2)
= −4(𝑥 − 2)−3 ∙ 1
4
จากข้อ (ก) = − (𝑥−2)3 …(∗∗∗)
4 1
ดังนัน้ 𝑓 ′′ (𝑓(4)) = 𝑓 ′′ (−2) = − (−2−2)3 = 16
4 1 −
1

1
1 ไม่เท่ากัน → (ข) ผิด
และ 𝑓(𝑓 ′′ (4))
= 𝑓 (− (4−2)3 ) = 𝑓 (− 2) = − 1
2
= − 2
5 = −5
− −2 −
2 2

จาก (∗∗∗)
PAT 1 (ต.ค. 58) 27

(ค) ฟั งก์ชนั เพิ่ม จะต้องมี 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก


2
จาก (∗∗) จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = (𝑥−2) 2 → จะเห็นว่า ตัวส่วน (𝑥 − 2)2 เป็ นบวกเสมอ
2
ดังนัน้ (𝑥−2) 2 จะเป็ นบวกเสมอ (ยกเว้นที่ 𝑥 = 2 จะหาค่าไม่ได้) → ดังนัน ้ 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวกบนช่วง (0, 2) → (ค) ถูก

16. 4
จาก |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗| จะได้ |16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅| = |8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅|
√162 + 𝑎2 = √82 + 𝑏 2
256 + 𝑎2 = 64 + 𝑏 2 …(∗)

และจากสูตร 𝐴⃗ ∙ 𝐵 ⃗⃗ = |𝐴⃗||𝐵
⃗⃗| cos 𝜃 จาก |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗|
(16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅) ∙ (8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅) = |𝐴⃗||𝐴⃗| cos 60° และ 𝐵⃗⃗ ทามุม 60° กับ 𝐴⃗
2 1
(16)(8) + 𝑎𝑏 = |𝐴⃗| ∙ 2
2 1
128 + 𝑎𝑏 = √162 + 𝑎2 ∙ 2
256 + 2𝑎𝑏 = 256 + 𝑎2
0 = 𝑎2 − 2𝑎𝑏
0 = 𝑎(𝑎 − 2𝑏)
𝑎 = 0 หรือ 𝑎 = 2𝑏
แทนแต่ละแบบใน (∗) กรณี 𝑎 = 0 : กรณี 𝑎 = 2𝑏 :
256 + 02 = 64 + 𝑏 2 256 + (2𝑏)2 = 64 + 𝑏 2
192 = 𝑏2 256 + 4𝑏 2 = 64 + 𝑏 2
±√192 = 𝑏 3𝑏 2 = −192
ไม่มีคาตอบ (3𝑏2 เป็ นลบไม่ได้)
ดังนัน้ มีคาตอบเดียว คือ 𝑎=0 และ 𝑏 = ±√192
2 2
จะได้ (𝑎 + 𝑏)2 = (0 + (±√192)) = (±√192) = 192

17. 3
มีคนทัง้ หมด 8 คน ดังนัน้ จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 8!
“หรือ” คือ “ยูเนียน” ดังนัน้ จานวนแบบที่โจทย์ตอ้ งการ จะหาได้จากสูตร 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵) = 𝑛(𝐴) + 𝑛(𝐵) − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵)
นั่นคือ จานวนแบบที่ไม่มี ช ติดกัน หรือ ไม่มี ญ ติดกัน = จานวนแบบที่ไม่มี ช ติดกัน + จานวนแบบที่ไม่มี ญ ติดกัน
− จานวนแบบที่ไม่มี ช ไม่ติดกัน และไม่มี ญ ติดกัน
จานวนแบบที่ไม่มี ช ติดกัน → ขัน้ ที่ 1 : เอา ญ ทัง้ 4 คนมาเข้าแถวปั กเป็ นหลักไว้ก่อน ได้ 4! แบบ
→ ขัน
้ ที่ 2 : จะเหลือช่องให้ ช เข้าไปแทรกได้ 5 จุด ดังรูป
ดังนัน้ ช1 เลือกยืนได้ 5 แบบ __ ญ __ ญ __ ญ __ ญ __
ช2 จะยืนได้ 4 แบบ (เพราะ ช ห้ามยืนติดกัน)
ข3 ยืนได้ 3 แบบ และ ช4 ยืนได้ 2 แบบ
รวมจะได้จานวนแบบที่ ช ไม่ติดกัน = 4! × 5 × 4 × 3 × 2 = 4! 5! แบบ
จานวนแบบที่ไม่มี ญ ติดกัน → คิดแบบเดิม แต่เอา ช ทัง้ 4 ไปยืนเข้าแถวปักเป็ นหลักไว้ก่อน แล้วเอา ญ เข้าไปแทรก
จะได้จานวนแบบที่ ญ ไม่ติดกัน = 4! 5! แบบ เหมือนอันแรก
28 PAT 1 (ต.ค. 58)

จานวนแบบทีไ่ ม่มี ช ไม่ติดกัน และไม่มี ญ ติดกัน → ขัน้ ที่ 1 : เลือกใครก็ได้ มายืนตาแหน่งแรก ได้ 8 แบบ
→ ขัน
้ ที่ 2 : ตาแหน่งที่ 2 ต้องเป็ นคนละเพศกับตาแหน่งแรก
จะมีคนทีเ่ ป็ นเพศตรงข้ามให้เลือกได้ 4 คน
→ ขัน้ ที่ 3 : ตาแหน่งที่ 3 ต้องเป็ นคนละเพศกับตาแหน่งที่ 2 แต่ตอ้ งไม่
ซา้ กับคนตาแหน่งที่ 1 จะเหลือให้เลือกได้ 3 คน
ทาแบบนีไ้ ปเรือ่ ยๆ จะได้จานวนแบบของแต่ละตาแหน่งคือ 8 4 3 3 2 2 1 1
จะได้จานวนแบบ = 8 ∙ 4! 3!

ดังนัน้ จานวนแบบที่ไม่มี ช ติดกัน หรือ ไม่มี ญ ติดกัน = 2(4! 5!) − 8 ∙ 4! 3!


จะได้ ความน่าจะเป็ น = 2(4! 5!)8!− 8∙4!3! = 2(5!) − 8∙3!
8×7×6×5
5−1 4
= 7×5 = 35

18. 4
(ก) ถ้า 𝑥 ≤ 0 จะได้ 𝑓(𝑥) ต้องใช้สตู รบน จะได้ 𝑓(𝑥) = √9 − 𝑥
ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑔(√9 − 𝑥)
และเนื่องจาก 𝑥 ≤ 0 จะได้ −𝑥 ≥ 0
9−𝑥 ≥ 9
√9 − 𝑥 ≥ 3 → ดังนัน้ 𝑔(√9 − 𝑥) ต้องใช้สตู รล่าง 𝑔(𝑥) = 𝑥 − 4
จะได้ 𝑔(√9 − 𝑥) = √9 − 𝑥 − 4 → (ก) ถูก
(ข) ถ้า 4 < 𝑥 ≤ 6 จะได้ 𝑓(𝑥) ต้องใช้สตู รล่าง จะได้ 𝑓(𝑥) = 7 − 𝑥
ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑔(7 − 𝑥)
และเนื่องจาก 4 < 𝑥 ≤ 6 จะได้ −4 > −𝑥 ≥ −6
7−4 > 7−𝑥 ≥ 7−6
3 > 7−𝑥 ≥ 1
→ ดังนัน้ 𝑔(7 − 𝑥) ต้องใช้สตู รล่าง 𝑔(𝑥) = 𝑥 − 4
จะได้ 𝑔(7 − 𝑥) = 7 − 𝑥 − 4 = 3−𝑥 → (ข) ถูก

(ค) ถ้า 𝑥 > 6 จะได้ 𝑓(𝑥) ต้องใช้สตู รล่าง จะได้ 𝑓(𝑥) = 7 − 𝑥


ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑔(7 − 𝑥)
และเนื่องจาก 𝑥 > 6 จะได้ −𝑥 < −6
7−𝑥 < 7−6
7−𝑥 < 1 → ดังนัน้ 𝑔(7 − 𝑥) ต้องใช้สตู รบน 𝑔(𝑥) = 𝑥 + 2
จะได้ 𝑔(7 − 𝑥) = 7 − 𝑥 + 2 = 9 − 𝑥 → (ค) ถูก

19. 2
ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i จะได้ 𝑧̅ = 𝑥 − 𝑦i → จะได้ 𝑧̅ − 𝑧 = (𝑥 − 𝑦i) − (𝑥 + 𝑦i)
= 𝑥 − 𝑦i − 𝑥 − 𝑦i
= −2𝑦i
PAT 1 (ต.ค. 58) 29

(9−7i)(−2𝑦i)
แทนในสมการ จะได้ (1 + i)(𝑥 − 𝑦i) − = 6 − 2i
3+i คูณ 3 + i ตลอด
(3 + i)(1 + i)(𝑥 − 𝑦i) −(9 − 7i)(−2𝑦i) = (6 − 2i)(3 + i)
( 2 + 4i )( 𝑥 − 𝑦i) + 18𝑦i + 14𝑦 = 20 + 0i
2𝑥 − 2𝑦i + 4𝑥i + 4𝑦 + 18𝑦i + 14𝑦 = 20
2𝑥 + 18𝑦 + (4𝑥 + 16𝑦)i = 20 + 0i
หาร 2 ตลอด
𝑥 + 9𝑦 + (2𝑥 + 8𝑦)i = 10 + 0i

เทียบส่วนจริง กับส่วนจินตภาพของทัง้ สองฝั่ง จะได้ 𝑥 + 9𝑦 = 10 …(1) และ 2𝑥 + 8𝑦 = 0


𝑥 + 4𝑦 = 0 …(2)
(1) − (2) : 5𝑦 = 10
𝑦 = 2 → แทนใน (2) : 𝑥 + 4(2) = 0
𝑥 = −8
ดังนัน้ 𝑧 = −8 + 2i
(ก) |𝑧 + 8| = |−8 + 2i + 8| = |2i| = 2 → (ก) ถูก
(ข) |𝑧 + 3i| = |−8 + 2i + 3i| = |−8 + 5i| = √(−8)2 + 52 = √89 → (ข) ผิด
(ค) |i𝑧 + 2| = |i(−8 + 2i) + 2| = |−8i − 2 + 2| = |−8i| = 8 → (ค) ถูก

20. 3

1∙23 2∙26 3∙29 4∙212
แทนหาพจน์แรกๆดู จะได้  𝑎𝑛 = 33
+ 35
+ 37
+ 39
+⋯
n 1
3
เป็ นอนุกรมผสม เลขคณิต เรขาคณิต (𝑟 = 232) ต้องใช้เทคนิค คูณ 𝑟 เพื่อเลือ่ นพจน์ แล้วหักกับตัวมันเอง
1∙23 2∙26 3∙29 4∙212
ให้ 33
+ 35
+ 37
+ 39
+⋯ = 𝑥 …(1)
23
คูณ 32 ตลอด
1∙26 2∙29 3∙212 4∙215 23
และเลื่อนพจน์ 35
+ 37
+ 39
+ 311
+⋯ = 32
𝑥 …(2)

1∙23 1∙26 1∙29 1∙212 23


(1) – (2) : 33
+ 35
+ 37
+ 39
+⋯ = 𝑥 − 32 𝑥

1∙23 8 23 8
อนุกรมเรขาคณิตอนันต์ 𝑎1 = 33
= 27 และ 𝑟 = 32 = 9
𝑎1
เนื่องจาก |𝑟| < 1 ดังนัน้ อนุกรมลูเ่ ข้า และ 𝑆∞ = 1−𝑟
8
27 8
8 = 𝑥 − 9𝑥
1−
9
8 9 1

27 1
= 9
𝑥
24 = 𝑥

21. 1
ข้อมูลชุดที่ 2 จะได้จากการเอาข้อมูลชุดที่ 1 มา ลบ 4 → คูณ 2 → บวก 4 ตามลาดับ ดังรูป
𝑥1 + 4 , 𝑥2 + 4 , … , 𝑥20 + 4
ลบ 4
𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥20
คูณ 2
2𝑥1 , 2𝑥2 , … , 2𝑥20
บวก 4
2𝑥1 + 4 , 2𝑥2 + 4 , … , 2𝑥20 + 4
30 PAT 1 (ต.ค. 58)

ค่าเฉลีย่ เลขคณิต : จะสอดคล้องกันด้วยสูตรเดียวกัน (คือ ลบ 4 → คูณ 2 → บวก 4)


ลบ 4 คูณ 2 บวก 4
จาก 𝑥̅ชุด 1 = 50 : จะได้ 50 → 46 → 92 → 96 ดังนัน้ 𝑥̅ชุด 2 = 96

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน : การบวกหรือลบข้อมูลทุกตัวเท่าๆกัน จะไม่ทาให้ 𝑠 เปลีย่ น


(แต่การคูณ 2 จะยังคงทาให้ 𝑠 เพิ่ม 2 เท่า)
ลบ 4 คูณ 2 บวก 4
จาก 𝑠ชุด 2 = 10 : จะได้ 10 → 10 เท่าเดิม → 20 → 20 เท่าเดิม ดังนัน้ 𝑠ชุด 2 = 20
จากสูตร 𝑣 = 𝑠 จะได้ ความแปรปรวนของข้อมูลชุดที่ 2 =
2 2
20 = 400

22. 4
จากสูตร สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
𝑠
𝑥̅
จะได้ 𝑠
𝑥̅
= 25% =
25
100
=
1
4
→ คูณไขว้ จะได้ 4𝑠 = 𝑥̅ …(∗)

โจทย์ให้มีนกั เรียนร้อยละ 15.87 ที่สอบได้คะแนนมากกว่า 85 คะแนน


เนื่องจาก 15.87% ไม่ถึงครึง่ หนึง่ ของนักเรียนทัง้ หมด 0.1587

จะวาดได้ 85 คะแนนอยูฝ่ ่ ังขวาดังรูป 𝑥


85

พืน้ ที่ที่ใช้เปิ ดตาราง จะเป็ นพืน้ ทีท่ ี่วดั จากแกนกลาง = 0.5 − 0.1587
จะได้พนื ้ ที่ที่ใช้เปิ ดตารางคือ 0.5 – 0.1587 = 0.3413 ดังรูป = 0.3413

เปิ ดตารางจะได้ 𝑧 = 1.0


𝑥
จากสูตร 𝑧 = 𝑥 −𝑠 𝑥̅ จะได้ 1.0 = 85𝑠− 𝑥̅ 85

𝑠 = 85 − 𝑥̅
จาก (∗)
𝑠 = 85 − 4𝑠
5𝑠 = 85
𝑠 = 17 → แทนใน (∗) จะได้ 𝑥̅ = 4(17) = 68

หาเปอร์เซ็นไทล์ของ ก ต้องหาค่า 𝑧 ของ ก แล้วเอาไปเปิ ดตารางหาพืน้ ที่ทางซ้าย


จะได้ 𝑧ก = 47.6𝑠 − 𝑥̅ = 47.617− 68 = − 20.417
= −1.2
0.3849
𝑧 เป็ นลบ จะอยูท
่ างซ้ายของแกน
และเอา 1.2 ไปเปิ ดตาราง จะได้พนื ้ ที่ = 0.3849 ดังรูป 𝑧
−1.2

จะได้ พืน้ ที่ทางซ้าย = 0.5 – 0.3849 = 0.1151 = 0.5 − 0.3849


= 0.1151
ดังนัน้ มีขอ้ มูล 11.51% ที่นอ้ ยกว่า ก
นั่นคือ คะแนนของนาย ก คือ เปอร์เซ็นไทล์ที่ 11.51 𝑧
−1.2

23. 5
จะเห็นว่า 1 + 21 + 22 + 23 + … + 2𝑛 เป็ นอนุกรมเรขาคณิต ที่มี 𝑎1 = 1 และ 𝑟=2
1 พจน์ 𝑛 พจน์ แต่มีจานวนพจน์ = 𝑛 + 1 พจน์
𝑎1 (1−𝑟 𝑛 )
1(1−2𝑛+1 ) 𝑆𝑛 =
จากสูตรอนุกรมเรขาคณิต จะได้ 1
1+2 +2 +2 +…+2 2 3 𝑛
= 1−2
1−𝑟

= 2𝑛+1 − 1
2𝑛+1 − 1
แทนใน 𝑎𝑛 ที่โจทย์ให้ จะได้ 𝑎𝑛 = 32𝑛
PAT 1 (ต.ค. 58) 31

ดังนัน้ nlim (𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎𝑛 ) = 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … 𝑛+1 − 1



22 − 1 23 − 1 24 − 1 จาก 𝑎𝑛 = 2 32𝑛
= 3 2 + 3 4 + 36
+…
22 1 23 1 24 1
= 32
− 32 + 34 − 34 + 36 − 36 + …
22 23 24 1 1 1
= (32 + 34 + 36 + … ) − (32 + 34 + 36 + … )

22 4 1 1
อนุกรมเรขาคณิตอนันต์ 𝑎1 =
32
=
9
𝑎1 =
32
=
9
𝑎1 1 1
|𝑟| < 1 → 𝑆∞ = 𝑟 =
2
=
2
𝑟 = =
1−𝑟 32 9
32 9
4 1
9 9
= ( 2 )−( 1 )
1− 1−
9 9
4 9 1 9
= ( ∙
9 7
)−( ∙
9 8
)
4 1 25
= − =
7 8 56

24. 4
จาก 𝐴 = { 𝑥 2 | 𝑥 ∈ 𝕀 ∩ 𝐷𝑟 } → จะหา 𝐴 ได้ ต้องหา 𝐷𝑟 ก่อน
𝑥 2 +2
จาก 𝑦=
√4−𝑥 − √2𝑥+1
→ ในรูทห้ามติดลบ และ ส่วนห้ามเป็ น 0
4−𝑥 ≥ 0 2𝑥 + 1 ≥ 0 √4 − 𝑥 − √2𝑥 + 1 ≠ 0
4 ≥ 𝑥 1
𝑥 ≥ −2 √4 − 𝑥 ≠ √2𝑥 + 1
4−𝑥 ≠ 2𝑥 + 1
3 ≠ 3𝑥
1 ≠ 𝑥
1
จะได้ −2 ≤ 𝑥 ≤ 4 และ 𝑥 ≠ 1
𝕀 ∩ 𝐷𝑟 คือเอาเฉพาะจานวนเต็ม → เหลือ 0, 2, 3, 4
จะได้ 𝐴 = { 02 , 22 , 32 , 42 } ดังนัน้ ผลบวกสมาชิกของ 𝐴 = 02 + 22 + 32 + 42 = 29
32 PAT 1 (ต.ค. 58)

25. 5
หาจุดตัดแกนของเส้นตรง วาดกราฟ และแทนจุดที่ไม่ได้อยูบ่ นเส้นกราฟ (0, 0) เพื่อแรเงา จะได้ดงั รูป
L1 : 𝑥 + 2𝑦 ≤ 4 L2 : 𝑥 − 𝑦 ≤ 1 L3 : 𝑥 + 𝑦 ≥ 1
𝑥 ≥ 0 และ
จุดตัดแกน 𝑥 0 4 จุดตัดแกน 𝑥 0 1 จุดตัดแกน 𝑥 0 1
𝑦 1 0 𝑦 ≥ 0
𝑦 2 0 𝑦 −1 0
จุด (0, 0) → อสมการเป็ นจริง จุด (0, 0) → อสมการเป็ นจริง จุด (0, 0) → อสมการเป็ นเท็จ คือ บริเวณใน Q1
แรเงาส่วนซ้ายล่างที่มี (0, 0) แรเงาส่วนซ้ายบนที่มี (0, 0) แรเงาส่วนขวาบนที่ไม่มี (0, 0)

L2

L1
L3

นาทัง้ 4 รูป มาหาส่วนซ้อนทับกัน จะได้ดงั รูป


L2
จะได้พิกดั A(0, 1) , B(0, 2) , D(1, 0)
B
พิกดั C ต้องแก้ระบบสมการ L1 กับ L2
C
L1 : 𝑥 + 2𝑦 = 4 …(1) A
L2 : 𝑥−𝑦 = 1 …(2)
(1) − (2): 3𝑦 = 3
D
𝑦 = 1 L1
แทนใน (2): 𝑥 − 1 = 1
𝑥 = 2 L3
จะได้พิกดั C(2, 1)
เอา A(0, 1) , B(0, 2) , C(2, 1) , D(1, 0) ไปแทนในตัวเลือกทัง้ 5 แล้วดูวา่ ค่าที่สงู ที่สดุ ว่ามาจากตัวเลือกไหน
ไม่ตอ้ งคิด A(0, 1) ก็ได้
เพราะยังไงก็แพ้ B(0, 2)

A(0, 1) B(0, 2) C(2, 1) D(1, 0)


ไม่ตอ้ งคิด 2𝑥 + 2𝑦 ก็ได้ 2𝑥 + 2𝑦 - - - -
เพราะยังไงก็แพ้ 3𝑥 + 2𝑦 3𝑥 + 2𝑦 - 4 8 3
2𝑥 + 3𝑦 - 6 7 2
𝑥 + 4𝑦 - 8 6 1
4𝑥 + 𝑦 - 2 9 4
มากสุด
จะเห็นว่า ค่ามากสุด = 9 เกิดจาก 𝑧 = 4𝑥 + 𝑦 จากตัวเลือกในข้อ 5

26. 4
จาก 𝐴𝐵−1 = 𝐵−1 𝐴 คูณ 𝐵 ทางขวาทัง้ สองฝั่ง เพื่อตัดกับ 𝐵−1 ฝั่งซ้าย
𝐴𝐵−1 𝐵 = 𝐵−1 𝐴𝐵
𝐴 = 𝐵−1 𝐴𝐵 คูณ 𝐵 ทางซ้ายทัง้ สองฝั่ง เพื่อตัดกับ 𝐵−1 ฝั่งขวา
𝐵𝐴 = 𝐵𝐵−1 𝐴𝐵
𝐵𝐴 = 𝐴𝐵
PAT 1 (ต.ค. 58) 33

1 2 𝑎 𝑏 𝑎 𝑏 1 2 1 2 𝑎 𝑏
แทน 𝐴=[
2 1
] และ 𝐵=[ ] ใน 𝐵𝐴 = 𝐴𝐵 จะได้ [ ] [ ] = [ ] [ ]
𝑐 𝑑 𝑐 𝑑 2 1 2 1 𝑐 𝑑
𝑎 + 2𝑏 2𝑎 + 𝑏 𝑎 + 2𝑐 𝑏 + 2𝑑
[ ]= [ ]
𝑐 + 2𝑑 2𝑐 + 𝑑 2𝑎 + 𝑐 2𝑏 + 𝑑

𝑎 + 2𝑏 = 𝑎 + 2𝑐 2𝑎 + 𝑏 = 𝑏 + 2𝑑
𝑏 = 𝑐 𝑎 = 𝑑

𝑎 + 2𝑏 2𝑎 + 𝑏 𝑎 + 2𝑐 𝑏 + 2𝑑
เทียบสมาชิกแต่ละตัว จะได้ [ ] = [ ]
𝑐 + 2𝑑 2𝑐 + 𝑑 2𝑎 + 𝑐 2𝑏 + 𝑑

𝑐 + 2𝑑 = 2𝑎 + 𝑐 2𝑐 + 𝑑 = 2𝑏 + 𝑑
𝑑 = 𝑎 𝑐 = 𝑏
จะสรุปได้วา่ 𝑏 = 𝑐 และ 𝑎 = 𝑑 → แทนในข้อมูลที่โจทย์ให้
จาก det(𝐴𝑡 𝐵) = −24 กระจาย det ในการคูณ จาก 𝑎𝑏𝑐𝑑 = 9 𝑎=𝑑, 𝑏=𝑐
𝑡 2 2
(det 𝐴 )(det 𝐵) = −24 𝑡
det 𝐴 = det 𝐴
𝑐 𝑑 = 9
(det 𝐴 )(det 𝐵) = −24 𝑐 2 (𝑐 2 + 8) = 9
1 2 𝑎 𝑏 𝑐 4 + 8𝑐 2 − 9 = 0
| | | | = −24
2 1 𝑐 𝑑 (𝑐 2 + 9)(𝑐 2 − 1) = 0
(1 − 4)(𝑎𝑑 − 𝑏𝑐) = −24
𝑎𝑑 − 𝑏𝑐 = 8 𝑐 2 = −9 𝑐2 = 1
𝑎=𝑑, 𝑏=𝑐
𝑑2 − 𝑐 2 = 8 (ไม่มีคาตอบ) 𝑐 = 1 , −1
𝑑2 = 𝑐2 + 8 (𝑐 2 เป็ นลบไม่ได้)
โจทย์ให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑
เป็ นบวก
จะได้ 𝑐 = 1 → แทนใน 𝑑2 = 𝑐 2 + 8 = 12 + 8 = 9 → จะได้ 𝑑 = 3
ดังนัน้ 𝑎 = 𝑑 = 3 และ 𝑏 = 𝑐 = 1 → จะได้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 3 + 1 + 1 + 3 = 8

27. 3
(ก) สังเกตว่า |𝑎̅ − 𝑏̅| ทางซ้าย คือขนาดของเวกเตอร์ 𝑎̅ − 𝑏̅ จะเป็ นบวกเสมอ
แต่ |𝑎̅| − |𝑏̅| ทางขวา มีโอกาสเป็ นลบได้ ถ้า 𝑎̅ สัน้ กว่า 𝑏̅
ดังนัน้ ถึง 𝑎̅ จะขนานกับ 𝑏̅ แต่ถา้ 𝑎̅ สัน้ กว่า 𝑏̅ จะทาให้ |𝑎̅ − 𝑏̅| ≠ |𝑎̅| − |𝑏̅| → (ก) ผิด
(ข) จาก |𝑎̅ + 𝑏̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅|
2
2 2 2
2 2 |𝑢̅ + 𝑣| = |𝑢̅| + |𝑣̅ | + 2𝑢̅ ∙ 𝑣̅
|𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = |𝑎̅|2 + |𝑏̅|
2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 0
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 0
เนื่องจาก 𝑎̅ และ 𝑏̅ ไม่เป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ ถ้า 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 0 จะสรุปได้วา่ 𝑎̅ ⊥ 𝑏̅ → (ข) ถูก
(ค) จาก 𝑎̅ + 𝑏̅ ⊥ 𝑎̅ − 𝑏̅ จะสรุปได้วา่ (𝑎̅ + 𝑏̅) ∙ (𝑎̅ − 𝑏̅) = 0 เวกเตอร์ที่ตงั้ ฉากกัน
̅ ̅ ̅ ̅
𝑎̅ ∙ 𝑎̅ − 𝑎̅ ∙ 𝑏 + 𝑏 ∙ 𝑎̅ − 𝑏 ∙ 𝑏 = 0
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 2 จะดอทกันได้ 0
|𝑎̅|2 − |𝑏̅| = 0
2
|𝑎̅|2 = |𝑏̅|
|𝑎̅| = |𝑏̅| → (ค) ถูก
34 PAT 1 (ต.ค. 58)

28. 1
จะเห็นว่า สมการที่เกิดจากคูท่ ี่อยูต่ ิดกัน สามารถตัดตัวแปร และจัดรูปได้ดงั นี ้
𝑎+𝑏−4 = 𝑏+𝑐+5 = 𝑐+𝑑+1 = 𝑑+𝑒−2 = 𝑒+𝑎+3

ตัด 𝑏 ย้ายข้าง ตัด 𝑐 ย้ายข้าง ตัด 𝑑 ย้ายข้าง ตัด 𝑒 ย้ายข้าง


𝑎 = 𝑐+9 𝑏 = 𝑑−4 𝑐 = 𝑒−3 𝑑 = 𝑎+5
(1) (2) (3) (4)

จะเห็นว่า มี 5 ตัวแปร แต่มี 4 สมการ จะมีสมการไม่พอ


ทาได้อย่างมากคือจัดรูปทุกตัวแปรให้อยูใ่ นรูปของตัวแปรหนึง่ → จะจัด 𝑏, 𝑐, 𝑑, 𝑒 ให้อยูใ่ นรูปของ 𝑎
จาก (1) จะได้ 𝑐 = 𝑎 − 9 → แทนใน (3) จะได้ 𝑎 − 9 = 𝑒 − 3
𝑎−6 = 𝑒
จาก (4) จะได้ 𝑑 = 𝑎+5 → แทนใน (2) จะได้ 𝑏 = 𝑎+5−4
= 𝑎+1
จะได้ 𝑏=𝑎+1 , 𝑐=𝑎−9 , 𝑑=𝑎+5 , 𝑒=𝑎−6
(ก) 𝑐 + 𝑒 < 𝑏 + 𝑑
(𝑎 − 9) + (𝑎 − 6) < (𝑎 + 1) + (𝑎 + 5)
−15 < 6 → ถูก
(ข) จะเห็นว่า 𝑎−9 < 𝑎−6 < 𝑎 < 𝑎+1 < 𝑎+5
ดังนัน้ 𝑐 < 𝑒 < 𝑎 < 𝑏 < 𝑑 → ผิด
(ก) 𝑎 + 𝑑 < 𝑏 + 𝑐
𝑎 + (𝑎 + 5) < (𝑎 + 1) + (𝑎 − 9)
5 < −8 → ผิด

29. 2
หา 𝑥̅ → สมมติให้แต่ละชัน้ มีคะแนนเท่ากับจุดกึง่ กลางชัน้

คะแนน จานวน (𝑓𝑖 ) จุดกึง่ กลางชัน้ (𝑥𝑖 ) 𝑓𝑖 𝑥𝑖


0+2
0–2 3 = 2
= 1 = (3)(1) = 3
3+5 +3
3–5 5 = 2
= 4 = (5)(4) = 20
+3
6–8 𝑎 7 = (7)(𝑎) = 7𝑎
+3
9 – 11 3 10 = (3)(10) = 30

𝑎 + 11 7𝑎 + 53

7𝑎+53 7𝑎+53
จากตาราง จะได้ 𝑥̅ = 𝑎+11
แต่โจทย์ให้ 𝑥̅ = 5 ดังนัน้ 𝑎+11
= 5
7𝑎 + 53 = 5𝑎 + 55
2𝑎 = 2
𝑎 = 1
PAT 1 (ต.ค. 58) 35

แทน 𝑎 = 1 ในตาราง จะได้ดงั รูป


คะแนน จานวน ความถี่สะสม
หาความถี่สะสม เพื่อหามัธยฐาน
0–2 3 3
3–5 5 8
6–8 1 9
9 – 11 3 12
จะได้ตาแหน่งมัธยฐาน = 12 2
=6
จะเห็นว่า ความถี่สะสมเกิน 6 ครัง้ แรกในชัน้ ที่ 2 → มัธยฐานอยูช่ นั้ ที่ 2
𝑁
− 𝐹𝐿
จะได้ มัธยฐาน = 𝐿+( 2
𝑓𝑚
)𝐼
6−3
= 2.5 + ( ) (3) = 2.5 + 1.8 = 4.3
5

30. 1
มีผหู้ ญิง 60% → แสดงว่ามีผชู้ าย 40%
ในผูห้ ญิง 60% ถ้าสมมติให้มีผหู้ ญิงสายตาปกติ 𝑥 %
จะมีผหู้ ญิงสายตาผิดปกติ 60 − 𝑥 %
ในผูช้ าย 40% ถ้าสมมติให้มีผชู้ ายสายตาปกติ 𝑦 %
จะมีผชู้ ายสายตาผิดปกติ 40 − 𝑦 %
จะวาดได้ดงั รูป
หญิง ผิดปกติ ผิดปกติ ทัง้ หมด
ปกติ ผิดปกติ โจทย์กาหนดให้ หญิง ปกติ
=
ปกติ ทัง้ หมด
60−𝑥 60−𝑥 + 40−𝑦
หญิง 𝑥 60 − 𝑥 =
𝑥 𝑥+𝑦
ชาย 𝑦 40 − 𝑦 (60 − 𝑥)(𝑥 + 𝑦) = (100 − 𝑥 − 𝑦)(𝑥)
60𝑥 + 60𝑦 − 𝑥 2 − 𝑥𝑦 = 100𝑥 − 𝑥 2 − 𝑥𝑦
60𝑥 + 60𝑦 = 100𝑥
60𝑦 = 40𝑥
2𝑥
𝑦 = 3
…(∗)
(ก) หญิง ผิดปกติ = 1.5 (ชาย ผิดปกติ)
60 − 𝑥 = 1.5 (40 − 𝑦)
2𝑥
จาก (∗)
60 − 𝑥 = 1.5 (40 − 3 )
คูณกระจาย 1.5
60 − 𝑥 = 60 − 𝑥
(ก) ถูก
หญิง ผิดปกติ ชาย ผิดปกติ
(ข) ชาย ปกติ > หญิง ปกติ (ค) >
หญิง ทัง้ หมด ชาย ทัง้ หมด
𝑦 > 𝑥 60 − 𝑥 40 − 𝑦
จาก (∗) >
2
𝑥 > 𝑥 60 40 จาก (∗)
3 2𝑥
60 − 𝑥 40 −
(ข) ผิด 3
> 2
3
คูณไขว้
120 − 2𝑥 > 120 − 2𝑥
(ค) ผิด
36 PAT 1 (ต.ค. 58)

31. 230
มีนกั เรียน 30 คน ชอบทัง้ สามวิชา → วาดได้ดงั รูป 𝑀 𝑇
ข้อนีต้ อ้ งสมมติให้นกั เรียนกลุม่ นี ้ ชอบอย่างน้อย 1 วิชา 30
จะได้จานวนนักเรียนทัง้ หมด = 𝑛(𝑀 ∪ 𝑇 ∪ 𝐸)
จากสูตร Inclusive – Exclusive จะได้ 𝐸

𝑛(𝑀 ∪ 𝑇 ∪ 𝐸) = 𝑛(𝑀) + 𝑛(𝑇) + 𝑛(𝐸) − 𝑛(𝑀 ∩ 𝑇) − 𝑛(𝑇 ∩ 𝐸) − 𝑛(𝑀 ∩ 𝐸) + 𝑛(𝑀 ∩ 𝑇 ∩ 𝐸)


= 150 + 80 + 60 − 𝑛(𝑀 ∩ 𝑇) − 𝑛(𝑇 ∩ 𝐸) − 𝑛(𝑀 ∩ 𝐸) + 30
𝑀 𝑇
𝑥
30 สมมติ 𝑥, 𝑦, 𝑧 สาหรับ 𝑛(𝑀 ∩ 𝑇), 𝑛(𝑇 ∩ 𝐸), 𝑛(𝑀 ∩ 𝐸)
𝑦 𝑧

= 150 + 80 + 60 − (𝑥 + 30) − (𝑧 + 30) − (𝑦 + 30) + 30


= 150 + 80 + 60 − 𝑥 − 30 −𝑧 − 30 −𝑦 − 30 + 30
= 230 − 𝑥 − 𝑦 − 𝑧
𝑥, 𝑦, 𝑧 แทนจานวนคน → 𝑥, 𝑦, 𝑧 ≥ 0
≤ 230
𝑀 𝑇
120 0 50
จะได้จานวนคนมากสุด = 230 เมื่อ 𝑥, 𝑦, 𝑧 = 0 ดังรูป 0 30 0
30
𝐸

32. 126
สังเกตว่า เราสามารถจัดรูปสมการให้มี 3|𝑥+4| และ 3|𝑥| เป็ นตัวแปรได้ ดังนี ้
3(9 + 3|𝑥|+|𝑥+4| ) = 3|𝑥+4| + 3|𝑥|+4
3(9 + 3|𝑥| ∙ 3|𝑥+4| ) = 3|𝑥+4| + 3|𝑥| ∙ 34 ให้ 3|𝑥+4| = 𝑎
3(9 + 𝑏 ∙ 𝑎 ) = 𝑎 + 𝑏 ∙ 34 3|𝑥| = 𝑏
27 + 3𝑎𝑏 = 𝑎 + 81𝑏
3𝑎𝑏 − 𝑎 − 81𝑏 + 27 = 0
𝑎(3𝑏 − 1) − 27(3𝑏 − 1) = 0
(𝑎 − 27)(3𝑏 − 1) = 0
1
𝑎 = 27 หรือ 𝑏 = 3
|𝑥+4| 3
3 = 3 3|𝑥| = 3 −1
|𝑥 + 4| = 3 |𝑥| = −1
𝑥+4 = 3 , −3 ไม่มีคาตอบ
𝑥 = −1 , −7
(ค่าสัมบูรณ์เป็ นลบไม่ได้)

ดังนัน้ ผลบวกของสมาชิกใน 𝐵 = (59 − (−1)) + (59 − (−7))


= 60 + 66 = 126

33. 5
โจทย์ให้ เส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 = 4 ตัดกับกราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2
แทน 𝑥 = 2 ในสมการเส้นตรง จะได้ 6(2) − 𝑦 = 4
8 = 𝑦 → จะได้จด ุ ตัดคือ (2, 8)
ดังนัน้ (2, 8) อยูบ่ นกราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ด้วย จะได้ 𝑓(2) = 8 …(∗)
PAT 1 (ต.ค. 58) 37

𝑥 +𝑥−6 2 22 +2−6 0 0
พิจารณา lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
จะเห็นว่า ถ้าแทน 𝑥=2 จะได้ √1+𝑓(2) − 3
=
√1+8 − 3
= 0

ลิมิตอยูใ่ นรูป 00 → จะใช้กฎของโลปิ ตาลได้ จาก (∗)


𝑑 2
𝑥 2 +𝑥−6 𝑥 +𝑥−6
𝑑𝑥
lim = lim 𝑑
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3 x2 √1+𝑓(𝑥)−3
𝑑𝑥

= lim
2𝑥+1 ดิฟลูกโซ่
1
x2 1 − 𝑑
2
(1+𝑓(𝑥)) 2 ∙
𝑑𝑥
(1+𝑓(𝑥))
2𝑥+1
= lim 1
x2 1 −
(1+𝑓(𝑥)) 2 ∙ 𝑓′ (𝑥)
2 แทน 𝑥 = 2
2(2)+1
= 1
1 −
(1+𝑓(2)) 2 ∙ 𝑓′ (2)
2
5 จาก (∗)
= 1
1
(1+ 8 )−2 ∙ 𝑓′ (2)
2
5 30
= 1 = 𝑓′ (2)
∙ 𝑓′ (2)
6

𝑥 +𝑥−6 2 30 30
แต่โจทย์ให้ lim
x2 √1+𝑓(𝑥)−3
= 6 ดังนัน้ 𝑓′ (2)
= 6 จะได้ 𝑓 ′ (2) =
6
= 5

34. 9.25

3
ตรงรอยต่อ 𝑥 = −1 จะได้ (−1)3 = 𝑎(−1) + 𝑏
𝑥 , 𝑥 < −1 −1 = −𝑎 + 𝑏
𝑓(𝑥) = { 𝑎𝑥 + 𝑏 , −1 ≤ 𝑥 < 1 𝑎−𝑏 = 1 …(1)
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
ตรงรอยต่อ 𝑥 = 1 จะได้ 𝑎(1) + 𝑏 = 3(12 ) + 2
𝑎 +𝑏 = 5 …(2)
(1) + (2) : 2𝑎 = 6
𝑎 = 3
แทนใน (2) : 3 + 𝑏 = 5
𝑏 = 2
𝑥3 , 𝑥 < −1
แทนค่า 𝑎, 𝑏 จะได้ 𝑓(𝑥) = { 3𝑥 + 2 , −1 ≤ 𝑥 < 1
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
จะหา  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 ต้องแบ่งเป็ น 3 ช่วงตามเงื่อนไขของ 𝑓(𝑥)
2
1 1 2
=  𝑥 3 𝑑𝑥 +  3𝑥 + 2 𝑑𝑥 +  3𝑥 2 + 2 𝑑𝑥
2 1 1
𝑥 4 −1 3𝑥 2 1 2
= 4
| + 2
+ 2𝑥 | + 𝑥 3 + 2𝑥 |
−2 −1 1
(−1)4 (−2)4 3(1)2 3(−1)2
= ( 4
− 4
) + (( 2
+ 2(1)) − ( 2
+ 2(−1))) + ((23 + 2(2)) − (13 + 2(1)))
1 3 3
= 4
− 4 + 2
+ 2 −2 +2 + 12 − 3 = 9.25
38 PAT 1 (ต.ค. 58)

35. 32
จะได้ 𝐿(𝑛) 𝑛
= log 2𝑛 ( √𝑎)
= log 2𝑛 (𝑎1/𝑛 )
1/𝑛
= 𝑛
log 2 𝑎
log2 𝑎
= 𝑛2
1 𝑛2 1 1 1 12 22 32 102
ดังนัน้ 𝐿(𝑛)
= log2 𝑎
แทนในโจทย์ จะได้ 𝐿(1)
+ 𝐿(2) + ⋯ + 𝐿(10) = log2 𝑎
+ log + log + … log
2𝑎 2𝑎 2𝑎
12 + 22 + 32 + … + 102
= log2 𝑎
𝑛(𝑛+1)(2𝑛+1)
12 + 22 + 32 + … + 𝑛 2 = 10(10+1)(2(10)+1)
6
6
= log2 𝑎
5(11)(7)
= log2 𝑎
1 1 1
แต่โจทย์ให้ 𝐿(1)
+ 𝐿(2) + ⋯ + 𝐿(10) = 77 ดังนัน้ 5(11)(7)
log2 𝑎
= 77
5 = log 2 𝑎
25 = 𝑎
32 = 𝑎

36. 68
พยายามจัดรูปสิง่ ที่โจทย์กาหนดให้ ไปสูส่ งิ่ ที่โจทย์ถาม ดังนี ้
1 𝑏 0
|𝑎 4 1 | = −17
ทรานสโพส จะทาให้หลัก 3
5 𝑎 −𝑎 ทรานสโพส → det ไม่เปลี่ยน
ตรงกับเมทริกซ์ที่โจทย์ถาม 1 𝑎 5
|𝑏 4 𝑎 | = −17
เอาหลัก 1 มาคูณ 2 แล้ว 0 1 −𝑎 คูณ 2 ที่แถวหรือหลักหนึ่งๆ → det เป็ น 2 เท่า
สลับไปหลัก 2 จะทาให้ 2 𝑎 5
|2𝑏 4 𝑎 | = −34
หลัก 2 ตรงกับเมทริกซ์ที่ 0 1 −𝑎 สลับหลัก → det เป็ นลบของของเดิม
โจทย์ถาม 𝑎 2 5
|4 2𝑏 𝑎 | = 34
เอาหลัก 1 มาคูณ 2 ให้คล้าย 1 0 −𝑎 คูณ 2 ที่แถวหรือหลักหนึ่งๆ → det เป็ น 2 เท่า
กับเมทริกซ์ที่โจทย์ถาม 2𝑎 2 5
| 8 2𝑏 𝑎 | = 68
เอาหลัก 3 มาบวกให้หลัก 1 2 0 −𝑎
ทาแบบนี ้ det ไม่เปลี่ยน
2𝑎 + 5 2 5
จะได้เมทริกซ์ที่โจทย์ถาม
| 8 + 𝑎 2𝑏 𝑎 | = 68
2−𝑎 0 −𝑎
PAT 1 (ต.ค. 58) 39

37. -
ในลาดับเลขคณิต พจน์ที่อยูต่ ิดกัน จะเพิ่มขึน้ 𝑑 เสมอ → นั่นคือ 𝑎2 = 𝑎1 + 𝑑 …(1)
𝑎4 = 𝑎3 + 𝑑 …(2) บวกทัง้ 25 สมการ
𝑎6 = 𝑎5 + 𝑑 …(3)

𝑎50 = 𝑎49 + 𝑑 …(25)
𝑎2 + 𝑎4 + 𝑎6 + … + 𝑎50 = 𝑎1 + 𝑎3 + 𝑎5 + … + 𝑎49 + 25𝑑

โจทย์ให้สองค่านีเ้ ท่ากัน → ตัดกันได้


เหลือ 0 = 25𝑑 → จะได้ 𝑑 = 0
𝑑=0 แสดงว่าแต่ละพจน์ ไม่เพิ่มขึน้ เลย → ทุกพจน์เท่ากันหมด
โจทย์ให้ 𝑎100 = 200 แสดงว่าพจน์อื่นๆ ก็ตอ้ งเท่ากับ 200 ด้วย → จะได้ 𝑎1 = 𝑎2 = 𝑎3 = … = 200
แต่ถา้ ทุกพจน์เท่ากันหมด = 200 จะไม่มีทางที่ 𝑎1 + 𝑎3 + 𝑎5 + … + 𝑎49 = 1275 ได้
ดังนัน้ ข้อนีโ้ จทย์ขดั แย้งกันเอง จึงไม่มีคาตอบ

38. 160
เลข 3 จะใช้วิธีแบ่งกรณีนบั ส่วนเลข 1 กับเลข 2 จะใช้วิธีนบั แบบตรงข้าม
ต้องมีเลข 3 อย่างมาก 2 หลัก → จะมีสามกรณีคือ “ไม่มเี ลข 3 เลย” “มีเลข 3 หนึง่ หลัก” หรือ “มีเลข 3 สองหลัก”
กรณี ไม่มีเลข 3 เลย
มี 5 หลัก แต่ละหลักอาจเป็ นเลข 1 หรือ 2 ได้หลักละ 2 แบบ → จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 25 = 32 แบบ
แต่โจทย์ตอ้ งการให้มเี ลข 1 อย่างน้อย 1 หลัก และเลข 2 อย่างน้อย 1 หลัก (คือต้องมีทงั้ เลข 1 และ เลข 2)
จะเห็นว่าใน 32 แบบนี ้ จะมีแบบที่ใช้ไม่ได้อยู่ 2 แบบ คือ 1 ทัง้ หมด กับ 2 ทัง้ หมด (11111 กับ 22222)
ดังนัน้ จะเหลือจานวนแบบที่ “มีทงั้ เลข 1 และ เลข 2” อยู่ = 32 − 2 = 30 แบบ
กรณี มีเลข 3 หนึง่ หลัก
ขัน้ ที่ 1: เลือกตาแหน่งให้เลข 3 → มี 5 หลัก จะเลือกได้ 5 แบบ
ขัน้ ที่ 2: ที่เหลือ 4 หลัก แต่ละหลักอาจเป็ นเลข 1 หรือ 2 ได้หลักละ 2 แบบ
จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 24 = 16 แบบ
หักแบบที่ใช้ไม่ได้ 2 แบบ (คือ 1 ทัง้ หมด กับ 2 ทัง้ หมด) เหลือ = 16 − 2 = 14 แบบ
รวมจานวนแบบ = 5 × 14 = 70 แบบ
กรณี มีเลข 3 สองหลัก
ขัน้ ที่ 1: เลือกตาแหน่งให้เลข 3 ทัง้ สองตัว → มี 5 หลัก จะเลือกได้ = (52) = 52 ∙∙ 41 = 10 แบบ
ขัน้ ที่ 2: ที่เหลือ 3 หลัก แต่ละหลักอาจเป็ นเลข 1 หรือ 2 ได้หลักละ 2 แบบ
จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 23 = 8 แบบ
หักแบบที่ใช้ไม่ได้ 2 แบบ (คือ 1 ทัง้ หมด กับ 2 ทัง้ หมด) เหลือ = 8 − 2 = 6 แบบ
รวมจานวนแบบ = 10 × 6 = 60 แบบ
รวมทุกกรณี จะได้จานวนแบบ = 30 + 70 + 60 = 160 แบบ
40 PAT 1 (ต.ค. 58)

39. 3
รูปแบบเส้นตรง คือ 𝑌̂ = 𝑎 + 𝑏𝑋 ซึง่ จะหาค่า 𝑎 และ 𝑏 ได้จาก n n
 𝑦𝑖 = 𝑎𝑛 + 𝑏  𝑥𝑖 …(1)
i 1 i 1
n n 2 n
 𝑥𝑖 𝑦𝑖 = 𝑎  𝑥𝑖 + 𝑏  𝑥𝑖 …(2)
i 1 i 1 i 1

จากข้อมูลที่โจทย์ให้ จะได้ระบบสมการคือ 48 = 𝑎(8) + 𝑏(40) …(1)


270 = 𝑎(40) + 𝑏(210) …(2)
(1) × 5 : 240 = 𝑎(40) + 𝑏(200) …(3)
(2) – (3): 30 = 𝑏(10)
3 = 𝑏
→ (1) : 48 = 𝑎(8) + 3(40)
6 = 𝑎 + 3( 5 )
−9 = 𝑎
จะได้สมการทานายคือ 𝑌̂ = −9 + 3𝑋
ดังนัน้ ถ้าอายุ 4 จะต้องใช้อาหาร = −9 + 3(4) = 3 กก.

40. 117
จาก แกนตามขวางขนานแกน 𝑥 จะได้เป็ นไฮเพอร์โบลาแนวนอน

→ ดังนัน ้ จุดโฟกัส และจุดศูนย์กลาง จะอยูใ่ นแนวนอนแนวเดียวกัน
→ ดังนัน ้ จุดโฟกัส และจุดศูนย์กลาง จะมีพิกดั 𝑦 เท่ากัน
โจทย์ให้ F1(1 + 2√5 , 3) ดังนัน้ พิกดั จุดศูนย์กลาง ต้องอยูใ่ นรูป (ℎ, 3)
และเนื่องจากเส้นกากับไฮเพอร์โบลา จะผ่านจุดศูนย์กลางไฮเพอร์โบลาเสมอ
ดังนัน้ (ℎ, 3) ต้องสอดคล้องกับสมการเส้นกากับ 2𝑥 − 𝑦 + 1 = 0
2ℎ − 3 + 1 = 0
2ℎ = 2
ℎ = 1
จะได้จดุ ศูนย์กลาง (1, 3)
และจากพิกดั F1(1 + 2√5, 3) จะเห็นว่า F1 อยูถ่ ด
ั ไปทางขวาของจุดศูนย์กลาง = 2√5
จะได้ระยะโฟกัส 𝑐 = 2√5
2
จากสูตร 𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑏 2 จะได้ 𝑎2 + 𝑏 2 = (2√5)
𝑎2 + 𝑏 2 = 20 …(∗)

อีกสมการของ 𝑎 กับ 𝑏 จะใช้ “ความชัน” ของเส้นกากับมาช่วย 𝑏


ความชัน =
จากรูปจะเห็นว่า เส้นกากับจะมีความชัน 𝑏𝑎 กับ − 𝑏𝑎 𝑏 𝑏
𝑎

ซึง่ โจทย์กาหนดให้เส้นกากับเส้นหนึง่ คือ 2𝑥 − 𝑦 + 1 = 0 𝑎


𝑏
2𝑥 +1 = 𝑦 ความชัน = − 𝑎𝑏
เทียบกับรูป 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 จะได้ความชัน = 2
เนื่องจาก 2 เป็ นบวก จึงสรุปได้วา่ 𝑏𝑎 = 2 → ย้ายข้างได้ 𝑏 = 2𝑎 → แทนใน (∗) จะได้ 𝑎2 + (2𝑎)2 = 20
𝑎2 + 4𝑎2 = 20
5𝑎2 = 20
แทน 𝑎 = 2 กลับไป จะได้ 𝑏 = 2(2) 𝑎 2
= 4
= 4 𝑎 = 2
PAT 1 (ต.ค. 58) 41

(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2
แทนค่า ℎ, 𝑘, 𝑎, 𝑏 ในรู ปสมการของไฮเพอร์โบลาแนวนอน
𝑎2
− 𝑏2
= 1
(𝑥−1)2 (𝑦−3)2
22
− 42
= 1
𝑥 2 −2𝑥+1 𝑦 2 −6𝑦+9
4
− 16
= 1
4(𝑥 2 −2𝑥+1) − (𝑦 2 −6𝑦+9)
16
= 1
4𝑥 2 − 8𝑥 + 4 − 𝑦 2 + 6𝑦 − 9 = 16
4𝑥 2 − 𝑦 2 − 8𝑥 + 6𝑦 = 21

เทียบกับ 𝐴𝑥 2 + 𝐵𝑦 2 + 𝐷𝑥 + 𝐸𝑦 = 21 จะได้ 𝐴 = 4 , 𝐵 = −1 , 𝐷 = −8 , 𝐸 = 6
ดังนัน้ 𝐴2 + 𝐵2 + 𝐷2 + 𝐸2 = 42 + (−1)2 + (−8)2 + 62
= 16 + 1 + 64 + 36 = 117

41. 4
สมการจานวนเต็ม → ต้องจัดรูปให้อยูใ่ นรูป พหุนาม = จานวนเต็ม
แยกตัวประกอบพหุนามฝั่งซ้าย แล้วอ้างว่าจานวนเต็มทางขวาแยกตัวประกอบได้ไม่กี่แบบ
1 1 1
−𝑏 =
𝑎 10 คูณ 10𝑎𝑏 ตลอด
10𝑏 − 10𝑎 = 𝑎𝑏
10𝑏 − 𝑎𝑏 − 10𝑎 = 0
𝑏(10 − 𝑎) − 10𝑎 = 0 เติม 100 ทัง้ สองฝั่ง
𝑏(10 − 𝑎) + 100 − 10𝑎 = 100 ให้จบั กลุม่ ดึงตัวร่วมได้
𝑏(10 − 𝑎) + 10(10 − 𝑎) = 100
(𝑏 + 10)(10 − 𝑎) = 100

เนื่องจาก 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก ดังนัน้ 𝑏 + 10 เป็ นจานวนเต็มบวกด้วย


และจะทาให้ 10 − 𝑎 ต้องเป็ นบวกด้วย เพราะ มันต้องคูณกับจานวนบวก แล้วได้ จานวนบวก
และเนื่องจาก 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก ดังนัน้ 10 − 𝑎 จะเป็ นได้แค่ 1, 2, 3, … , 9 เท่านัน้
จะเห็นว่า 100 ทางขวา สามารถเขียนเป็ นผลคูณของสองจานวน ที่ตวั หลังเป็ น 1, 2, 3, … , 9 ได้แค่ไม่กี่แบบ ดังนี ้

𝑏 + 10 10 − 𝑎
100 1 → 𝑏 = 90 , 𝑎=9
50 2 → 𝑏 = 40 , 𝑎=8
25 4 → 𝑏 = 15 , 𝑎=6
20 5 → 𝑏 = 10 , 𝑎=5

มี 4 คาตอบ → ดังนัน้ 𝑆 จะมีสมาชิก 4 ตัว


42 PAT 1 (ต.ค. 58)

42. 1.5
√2𝑥
< √1 − 𝑥
√1+𝑥 + √1−𝑥 เปลี่ยนตัวแปร ให้ √1 + 𝑥 = 𝑚
√2𝑥
< 𝑛 และ √1 − 𝑥 = 𝑛
𝑚 + 𝑛

เหลือ 𝑥 ที่เป็ นเศษทางฝั่งซ้ายอีกหนึ่งตัว ที่ยงั เปลี่ยนตัวแปรไม่ได้


ต้องพยายามจัดรูป 𝑥 ทางซ้าย ให้อยูใ่ นรูปของ 𝑚 และ 𝑛
จาก √1 + 𝑥 = 𝑚 จะได้ 1 + 𝑥 = 𝑚2 …(1)
จาก √1 − 𝑥 = 𝑛 จะได้ 1 − 𝑥 = 𝑛2 …(2)
(1) − (2) : 2𝑥 = 𝑚2 − 𝑛2
𝑚 2 − 𝑛2
𝑥 =
2

แทน 𝑚, 𝑛 กลับไปเป็ น 𝑥
𝑚2 − 𝑛2
√2 ( 2
)
< 𝑛 √1 + 𝑥 < (√2 + 1)(√1 − 𝑥)
𝑚 + 𝑛 2 ยกกาลัง 2 ตลอด
𝑚2 −𝑛2 1 1+𝑥 < (√2 + 1) (1 − 𝑥)
√2 ∙ ∙ 𝑚+𝑛 < 𝑛
2 1+𝑥 < (2 + 2√2 + 1)(1 − 𝑥)
(𝑚−𝑛)(𝑚+𝑛) 1 1+𝑥 < (3 + 2√2 )(1 − 𝑥)
√2 ∙ ∙ < 𝑛
√2 ∙ √2 𝑚+𝑛
1+𝑥 < 3 − 3𝑥 + 2√2 − 2√2𝑥
𝑚−𝑛
< 𝑛 4𝑥 + 2√2𝑥 < 2 + 2√2
√2 หาร 2 ตลอด
𝑚−𝑛 < √2𝑛 2𝑥 + √2𝑥 < 1 + √2
𝑚 < √2𝑛 + 𝑛 (2 + √2)𝑥 < 1 + √2
𝑚 < (√2 + 1)𝑛 1+√2
𝑥 < 2+√2
…(∗)

เนื่องจากในรูท ต้อง ≥ 0 ดังนัน้ 1+𝑥 ≥ 0 และ 1−𝑥 ≥ 0


𝑥 ≥ −1 1 ≥ 𝑥
จะได้ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1

1+√2 1+√2
พิจารณาร่วมกับ (∗) สุดท้ายจะได้ −1 ≤ 𝑥 < 2+√2
( 2+√2
< 1 )

ดังนัน้ ขอบเขตบนน้อยสุด 𝑎 = 1+ √2
1+√2
2
2+√2
จะได้ 𝑎2 + 𝑏 2 = (2+ 2) + (−1)2
ขอบเขตล่างมากสุด 𝑏 = −1 √
1+2√2+2
= 4+4√2+2
+ 1
3+2√2
= 6+4√2
+ 1
3+2√2
= + 1
2(3+2√2)
1
= 2
+ 1 = 1.5
PAT 1 (ต.ค. 58) 43

43. 2
โจทย์ให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงบวก → ไม่ตอ้ งระวังเวลา 𝑥, 𝑦 อยูห่ ลัง log
3 log 4 16𝑥 2 = 6 + 6 log 2 √𝑦
2 ÷ 3 ตลอด ถ้าโจทย์ไม่ได้กาหนดให้ 𝑥 และ 𝑦
log 4 16𝑥 = 2 + 2 log 2 √𝑦
2 log 𝑎 𝑥𝑦 = log 𝑎 𝑥 + log 𝑎 𝑦 เป็ นบวก จะต้องระวังเรือ่ งค่าหลัง
log 4 16 + log 4 𝑥 = 2 + 2 log 2 √𝑦
1
log ต้องเป็ นบวก นั่นคือ log 4 𝑥 2
2 + log 22 𝑥 2 = 2 + 2 log 2 𝑦 2 𝑦
2
log 2 𝑥 =
2
log 2 𝑦
log 𝑎𝑥 𝑚𝑦 =
𝑥
log 𝑎 𝑚 ต้องกลายเป็ น 2 log 4 |𝑥|
2 2
log 2 𝑥 = log 2 𝑦 (𝑦 อยูใ่ นรูท ต้องเป็ นบวกอยูแ่ ล้ว)
𝑥 = 𝑦
แทน 𝑥=𝑦 ใน √2 − 𝑥 + √𝑦 = 2
√2 − 𝑦 = 2 − √𝑦 ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง
2−𝑦 = 4 − 4√𝑦 + 𝑦 ฝั่งขวา เข้าสูตร (น − ล)2 = น2 − 2นล + ล2
4√𝑦 = 2 + 2𝑦
2√𝑦 = 1 + 𝑦
0 = 𝑦 − 2√𝑦 + 1
2
0 = √𝑦 − 2√𝑦 + 1
2 น2 − 2นล + ล2 = (น − ล)2
0 = (√𝑦 − 1)
√𝑦 = 1
𝑦 =1

ดังนัน้ 𝑥=𝑦=1 → ตรวจคาตอบ จะเห็นว่า √2 − 1 + √1 = 2 จริง


1 + 1
จะได้ 𝑥 2 + 𝑦 2 = 12 + 12 = 2
หมายเหตุ : ถ้าข้อนี ้ โจทย์ไม่ได้กาหนดให้ 𝑥 เป็ นบวก จะได้ 𝑦 = |𝑥| → 𝑦 = ±𝑥
และจะได้เพิ่มอีกคาตอบ คือ 𝑥 = − 14 , 𝑦 = 14

44. 78.7
∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2 ∑ 𝑥𝑖2 − 𝑁𝑥̅ 2 ∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2 ∑ 𝑥𝑖2 − 𝑁𝑥̅ 2
𝑠 2 ของ “กลุม
่ ตัวอย่าง” หาได้จาก 2 สูตร คือ 𝑁−1
และ 𝑁−1
ดังนัน้ 𝑁−1
= 𝑁−1
34 214 − 5𝑥̅ 2
5−1
= 5−1
2
5𝑥̅ = 180
𝑥̅ 2 = 36
𝑥̅ = 6
(𝑥1 +2𝑥2 )+(𝑥2 + 2𝑥3 )+(𝑥3 +2𝑥4 )+(𝑥4 +2𝑥5 )+(𝑥5 +2𝑥1 ) 3𝑥1 +3𝑥2 +3𝑥3 +3𝑥4 +3𝑥5
จะได้ ค่าเฉลีย่ ชุดใหม่ = 5
= 5
𝑥1 +𝑥2 +𝑥3 +𝑥4 +𝑥5
= 3( 5
) = 3𝑥̅
= 3(6)
= 18
∑ 𝑥𝑖2 − 𝑁𝑥̅ 2
และจะหา 𝑠 2 ชุดใหม่ โดยใช้สตู ร 𝑁−1
ได้
(𝑥1 +2𝑥2 )2 +(𝑥2 + 2𝑥3 )2 +(𝑥3 +2𝑥4 )2 +(𝑥4 +2𝑥5 )2 +(𝑥5 +2𝑥1 )2 − 5(182 )
=
5−1
(𝑥12 +4𝑥1 𝑥2 +4𝑥22 )+(𝑥22 +4𝑥2 𝑥3 +4𝑥32 )+(𝑥32 +4𝑥3 𝑥4 +4𝑥42 )+(𝑥42 +4𝑥4 𝑥5 +4𝑥52 )+(𝑥52 +4𝑥5 𝑥1 +4𝑥12 ) − 1620
= 4
44 PAT 1 (ต.ค. 58)

5𝑥12 +5𝑥22 +5𝑥32 +5𝑥42 +5𝑥52 + 4𝑥1 𝑥2 +4𝑥2 𝑥3 +4𝑥3𝑥4 +4𝑥4 𝑥5 +4𝑥5 𝑥1 − 1620
=
4
5(𝑥12 +𝑥22 +𝑥32 +𝑥42 +𝑥52 ) + 4(𝑥1 𝑥2+𝑥2 𝑥3 +𝑥3 𝑥4 +𝑥4 𝑥5 +𝑥5 𝑥1 ) − 1620
=
4 โจทย์ให้ ∑ 𝑥𝑖2 = 214
5( 214 ) + 4(𝑥1 𝑥2 +𝑥2 𝑥3 +𝑥3 𝑥4 +𝑥4𝑥5 +𝑥5 𝑥1 ) − 1620
= 4
1070 + 4(𝑥1 𝑥2 +𝑥2 𝑥3 +𝑥3 𝑥4 +𝑥4 𝑥5 +𝑥5 𝑥1 ) − 1620
= 4
4(𝑥1 𝑥2 +𝑥2 𝑥3+𝑥3 𝑥4 +𝑥4 𝑥5 +𝑥5 𝑥1 ) − 550
=
4
= 𝑥1 𝑥2 + 𝑥2 𝑥3 + 𝑥3 𝑥4 + 𝑥4 𝑥5 + 𝑥5 𝑥1 − 137.5

แต่โจทย์ให้ 𝑠 ของชุดใหม่ = 16 ดังนัน้ 𝑥1 𝑥2 + 𝑥2 𝑥3 + 𝑥3 𝑥4 + 𝑥4 𝑥5 + 𝑥5 𝑥1 − 137.5 = 162


𝑥1 𝑥2 + 𝑥2 𝑥3 + 𝑥3 𝑥4 + 𝑥4 𝑥5 + 𝑥5 𝑥1 − 137.5 = 256
𝑥1 𝑥2 + 𝑥2 𝑥3 + 𝑥3 𝑥4 + 𝑥4 𝑥5 + 𝑥5 𝑥1 = 393.5
𝑥1 𝑥2 +𝑥2 𝑥3 +𝑥3 𝑥4 +𝑥4 𝑥5 +𝑥5 𝑥1 393.5
ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ ของ 𝑥1 𝑥2 , 𝑥2 𝑥3 , 𝑥3 𝑥4 , 𝑥4 𝑥5 , 𝑥5 𝑥1 =
5
=
5
= 78.7

45. 429
จานวนสองหลัก 𝑎𝑏 จะมีคา่ = 10𝑎 + 𝑏
จานวนสองหลัก 𝑏𝑎 จะมีคา่ = 10𝑏 + 𝑎
ดังนัน้ 𝑎𝑏 + 𝑏𝑎 = 143 จะเขียนใหม่ให้ถกู ต้องได้ (10𝑎 + 𝑏) + (10𝑏 + 𝑎) = 143
11𝑎 + 11𝑏 = 143
÷ 11 ตลอด
𝑎 + 𝑏 = 13
โดยที่ 𝑎, 𝑏 ∈ {1, 2, 3 , … , 9} และ 𝑎≠𝑏 → จะมี 𝑎, 𝑏 ทัง้ หมดที่ 𝑎 + 𝑏 = 13 คือ 4 + 9 , 5+8, 6+7,
9 + 4, 8 + 5 , 7 + 6
ดังนัน้ 𝑆 = { 49 , 94 , 58 , 85 , 67 , 76 }
จะได้ผลบวก = 49 + 94 + 58 + 85 + 67 + 76
= 143 + 143 + 143 = 429

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Gtr Ping จาก GTRmath สาหรับข้อสอบ และเฉลยละเอียด
ขอบคุณ คุณ บุญช่วย ฤทธิเทพ และ คุณ Athassawat Kammanee สาหรับเฉลยวิธีทาของบางข้อ
ขอบคุณ คุณ Totsaporn Suwannaruang
คุณครูเบิรด์
คุณ พูก่ นั ณัฐดนัย พูไ่ พบูลย์
คุณ สารศิลป์ ทับทิมทอง
คุณ Wichakpol Krasapkan
ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารครับ

You might also like