You are on page 1of 22

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค.

63) 1
19 Jul 2020

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)


วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม 2563 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบระบายตัวเลขที่เป็ นคาตอบ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน


1 1 2
1. 2 + √3
+ (2 + √3) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
17 21
1. 4
2. 3√3 3. 4
4. 6 5. 4√3

3
1 −5
2. ค่าของ (− 32) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1
1. −8 2. −4 3. −8 4. 8
5. 8

3. ผลบวกของคาตอบของสมการ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2
3𝑥 = 93𝑥−4
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10 5. 12
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

3
4. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 1 − 𝑥 < −7 < 7 −𝑥 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6 2. 7 3. 8 4. 9 5. 10

5. กาหนดให้ รูปสามเหลีย่ ม ABC มีมมุ C เป็ นมุมฉาก และ มุม A มีขนาด 30° ถ้าด้าน BC ยาว 6 หน่วย
แล้วพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม ABC มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6√3 ตารางหน่วย 2. 18√3 ตารางหน่วย 3. 32 ตารางหน่วย
4. 36 ตารางหน่วย 5. 42 ตารางหน่วย

6. ถ้า 2 + 22 + 23 + … + 2𝑛 = 510 แล้ว 𝑛 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 3

7. พิจารณาลาดับต่อไปนี ้
ก. 1 , 3 , 6 , 10 , 15 , 21 ข. 1 , −1 , 1 , −1 , 1 , −1
ค. 100 , 98 , 96 , 94 , 92 , 90 ง. −7 , −5 , −3 , −1 , 1, 3
จานวนลาดับที่เป็ นลาดับเลขคณิต มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4

8. ข้อมูลชุดใดต่อไปนีท้ ี่ มัธยฐาน ≠ ฐานนิยม


1. 1.2 , 1.3 , 1.4 , 1.7 , 1.7 , 1.8 , 1.9 2. 11 , 12 , 13 , 16 , 16 , 16 , 17
3. 15 , 16 , 17 , 17 , 17 , 17 , 18 4. 100 , 101 , 101 , 102 , 103 , 104 , 105
5. 100 , 101 , 102 , 102 , 103 , 104 , 105

9. ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างราคาซือ้ (𝐵) และราคาขาย (𝑆) ของไข่เป็ ดขนาดต่างๆ ต่อฟอง


เป็ น 𝑆 = 0.25 + 1.1𝐵 และพ่อค้าคนหนึง่ ซือ้ ไข่เป็ ดขนาดต่างๆ มาด้วยราคาเฉลีย่ เลขคณิตต่อฟอง
เท่ากับ 4.00 บาท แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของราคาขายไข่ตอ่ ฟอง เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4.50 บาท 2. 4.55 บาท 3. 4.60 บาท 4. 4.65 บาท 5. 4.70 บาท
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

10. อายุของพนักงานในบริษัทแห่งหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ดงั นี ้


อายุ (ปี ) จานวนพนักงาน (คน)
20 – 29 42
30 – 39 96
40 – 49 38
50 – 59 40
60 ปี ขน
ึ ้ ไป 4

ถ้าสุม่ พนักงานมา 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่พนักงานคนนี ้ จะมีอายุนอ้ ยกว่า 60 ปี เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 15 49
2. 55 3. 5155
4. 5255
5. 5455

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
11. ถ้า 1 < 𝑥 < 5 แล้วคาตอบของสมการ |𝑥 − 7| + |4𝑥 − 3| = 18 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 83 2. 114
3. 15 4
4. 29 5. 14
3

12. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 𝑥 2 (3 − 2𝑥)(𝑥 + 11) ≥ 0 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 12 2. 13 3. 14 4. 15 5. 16
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 5

99 100 101
13. กาหนดให้ 𝑎 = − 100 , 𝑏 = − 101 และ 𝑐 = − 102 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 2. 𝑎 < 𝑐 < 𝑏 3. 𝑏 < 𝑐 < 𝑎
4. 𝑐 < 𝑎 < 𝑏 5. 𝑐 < 𝑏 < 𝑎

14. กาหนดให้ 𝑎 = 250 , 𝑏 = 330 และ 𝑐 = 520 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง


1. 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 2. 𝑎 < 𝑐 < 𝑏 3. 𝑏 < 𝑐 < 𝑎
4. 𝑐 < 𝑎 < 𝑏 5. 𝑐 < 𝑏 < 𝑎

15. กาหนดให้ รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และมี 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴, 𝐵, 𝐶
ตามลาดับ ถ้า 𝑐 2 sin 𝐴 = 3 และ 𝑐 2 sin 𝐵 = 3√3 แล้วพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
3 3 3√3
1. 4
ตารางหน่วย 2. 2
ตารางหน่วย 3. 4
ตารางหน่วย
3√3
4. 2
ตารางหน่วย 5. 3√3 ตารางหน่วย
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

16. กาหนดให้ รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และมี 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴, 𝐵, 𝐶
ตามลาดับ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. sin 𝐴 = cos 𝐵 ข. ถ้า 𝐴̂ = 2𝐵̂ แล้ว cos 𝐴 = 12
ค. sin 𝐴 < tan 𝐴 ง. ถ้า 𝑎 < 𝑏 แล้ว sin 𝐴 < sin 𝐵
จานวนข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

17. กาหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก ซึง่ มี 40 จานวน


ถ้า มี 25 จานวนใน 𝑆 ที่เป็ นจานวนคู่ มี 9 จานวนใน 𝑆 ที่หารด้วย 5 ลงตัว
และ มี 12 จานวนใน 𝑆 ที่ไม่เป็ นจานวนคู่ และหารด้วย 5 ไม่ลงตัว
แล้วจานวนสมาชิกใน 𝑆 ที่หารด้วย 10 ลงตัว มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 5. 10

18. จากแบบรูปต่อไปนี ้
2 7 2
15 15 5
3 1
5
𝑎 15
4 1 8
15 5 15

𝑎 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 3 1 2 4
1. 6
2. 10
3. 3
4. 3
5. 5
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 7

2𝑛2 + 1 ; 𝑛 ≥ 0
19. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนของ 𝑓 เป็ นเซตของจานวนเต็ม และ 𝑓(𝑛) = {
𝑛(𝑛 + 1) ; 𝑛 < 0
ถ้า 𝑓(𝑓(𝑎)) = 73 แล้ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5 2. −4 3. −3 4. 3 5. 5

20. กาหนดให้ 𝑆 = { 1, 2, 3, 4 } และ 𝑀 = { (𝑏, 𝑐) | 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑆 } สมาชิก (𝑏, 𝑐) ∈ 𝑀 ที่ทาให้


สมการ 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 มีคาตอบเป็ นจานวนจริง มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. 5 3. 6 4. 7 5. 8

21. กาหนดให้ กราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นพาราโบลามีจดุ ยอดที่ (0, 0)


และ กราฟของ 𝑦 = 𝑔(𝑥) เป็ นพาราโบลามีจดุ ยอดที่ (1, 4)
ถ้าเซตคาตอบของอสมการ 𝑓(𝑥) ≤ 𝑔(𝑥) คือช่วงปิ ด [0, 1] แล้ว 𝑓(−1) + 𝑔(−1) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −8 2. −4 3. 0 4. 4 5. 8
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

9
22. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มี 𝑎1 =
8
และอัตราส่วนร่วมเท่ากับ √23
4
ถ้า 𝑎𝑛 = 27 แล้ว 𝑛มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 8 2. 9 3. 10 4. 11 5. 12

23. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต ถ้า 𝑎1 = 5 และผลต่างร่วมเท่ากับ 12


แล้ว 𝑎1 − 𝑎2 + 𝑎3 − 𝑎4 + … − 𝑎20 + 𝑎21 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5 2. 1 3. 5 4. 10 5. 15

24. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎100 เป็ นข้อมูลซึง่ เรียงกันเป็ นลาดับเลขคณิต โดยมี 𝑎1 = 3 และ 𝑎100 = 255
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของลาดับนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 121 2. 123 3. 125 4. 127 5. 129
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 9

25. จากการสอบถามเรือ่ งจานวนครัง้ ของคนทีม่ าศูนย์การค้าเปิ ดใหม่แห่งหนึง่ จานวน 100 คน


ในช่วง 3 เดือนที่ผา่ นมา มีการแจกแจงความถี่ดงั นี ้
จานวนครัง้ จานวนคน
1–5 30
6 – 10 25
11 – 15 20
16 – 20 20
21 – 25 5

ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจานวนครัง้ ของคนกลุม่ นีท้ มี่ าที่ศนู ย์การค้าแห่งนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 10.25 ครัง้ 2. 10.50 ครัง้ 3. 10.75 ครัง้ 4. 11.10 ครัง้ 5. 11.25 ครัง้

26. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ มีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ของนักเรียน 21 คน มีผไู้ ด้คะแนนสูงสุด 1 คน


และต่าสุด 1 คน ถ้าตัดคะแนนสูงสุดออก จะได้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 11 คะแนน
แต่ถา้ ตัดคะแนนต่าสุดออก จะได้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 11.8 คะแนน
พิสยั ของคะแนนสอบครัง้ นี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 13 คะแนน 2. 14 คะแนน 3. 15 คะแนน 4. 16 คะแนน 5. 17 คะแนน

27. จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนจานวน 45 คน ซึง่ นักเรียนทุกคนได้คะแนนเป็ นจานวนเต็ม


พบว่า มีนกั เรียน 20 คน สอบได้คะแนนน้อยกว่า 49 คะแนน
และ มีนกั เรียน 20 คน สอบได้คะแนนมากกว่า 50 คะแนน
ถ้าให้ 𝑆 = { 48.5 , 49 , 49.5 , 50 , 50.5 } แล้วสมาชิกใน 𝑆 ที่เป็ นไปได้ที่จะเป็ นค่ามัธยฐานของคะแนนสอบ
มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 จานวน 2. 2 จานวน 3. 3 จานวน 4. 4 จานวน 5. 5 จานวน
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

28. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3} 𝐵 = {4, 5, 6, 7}


𝑆 = { (𝑎, 𝑏) | 𝑎 ∈ 𝐴 และ 𝑏 ∈ 𝐵 }
ถ้า (𝑎, 𝑏) เป็ นสมาชิกหนึง่ ตัวของ 𝑆 ที่ได้จากการสุม่ แล้วความน่าจะเป็ นที่ 𝑏 = 2𝑎 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1
1. 10 2. 18 3. 17 4. 16 5. 15

29. กาหนดให้ 𝑆 คือเซตของจานวนนับที่มี 4 หลัก ซึง่ ประกอบขึน้ จากเลขโดด 1 , 2, 3, 4


และ 𝐴 = { 𝑛 ∈ 𝑆 | 𝑛 มีเลขโดด 3 ปรากฏอยูอ่ ย่างน้อยหนึง่ หลัก }
จานวนสมาชิกของ 𝐴 มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 61 2. 150 3. 175 4. 244 5. 247

30. กาหนดให้ 𝑆 = { 1 , 2 , 3 , … , 98 , 99 } ถ้าสุม่ หยิบจานวนจาก 𝑆 มาหนึง่ จานวน แล้วความน่าจะเป็ น


ที่จะได้จานวนคูท่ มี่ ีเลขโดด 6 อยู่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1299
2. 13
99
3. 1499
4. 15
99
5. 16
99
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 11

เฉลย
1. 3 7. 3 13. 5 19. 3 25. 1
2. 1 8. 4 14. 5 20. 4 26. 4
3. 2 9. 4 15. 3 21. 1 27. 2
4. 1 10. 5 16. 5 22. 4 28. 4
5. 2 11. 5 17. 2 23. 4 29. 3
6. 2 12. 2 18. 3 24. 5 30. 3

แนวคิด
1 1 2
1. 2 + √3
+ (2 + √3) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
17 21
1. 4
2. 3√3 3. 4
4. 6 5. 4√3
ตอบ 3
1 1 2 1 2 − √3 1 2 1 2
2 + √3
+ (2 + √3) = ∙
2 + √3 2 − √3
+ (2) + 2 (2) √3 + √3
2 − √3 1
= 2 + 4
+ √3 + 3
22 −√3
1
= 2 − √3 + 4
+ √3 + 3
1 21
= 5 + =
4 4

3
1 −5
2. ค่าของ (− )
32
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1
1. −8 2. −4 3. −8 4. 8
5. 8
ตอบ 1
3
1 −5 3
(− 32) = (−32)5
3
= (−25 )5
3 3
(5)( )
= (−1)5 2 5

= (−1) 23 = −8

3. ผลบวกของคาตอบของสมการ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2
3𝑥 = 93𝑥−4
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10 5. 12
ตอบ 2
2
3𝑥 = 93𝑥−4
2
3𝑥 = (32 )3𝑥−4
𝑥 2 − 6𝑥 + 8 = 0
2
ตัดฐาน 3 3𝑥 = 3(2)(3𝑥−4) (𝑥 − 2)(𝑥 − 4) = 0
2
ทัง้ สองฝั่ง 3𝑥 = 36𝑥−8 𝑥 = 2, 4
𝑥2 = 6𝑥 − 8 จะได้ผลบวกคาตอบ = 2 + 4 = 6
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

3
4. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 1 − 𝑥 < −7 < 7 −𝑥 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6 2. 7 3. 8 4. 9 5. 10
ตอบ 1
3
1−𝑥 < −7 < 7−𝑥
3 +𝑥 ตลอด
1 < 𝑥− 7
< 7 3
3 3 +
7
ตลอด
17 < 𝑥 < 77
3 3
จานวนเต็มที่อยูร่ ะหว่าง 1
7
และ 7
7
ได้แก่ 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึง่ จะมีทงั้ หมด 6 จานวน

5. กาหนดให้ รูปสามเหลีย่ ม ABC มีมมุ C เป็ นมุมฉาก และ มุม A มีขนาด 30° ถ้าด้าน BC ยาว 6 หน่วย
แล้วพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม ABC มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 6√3 ตารางหน่วย 2. 18√3 ตารางหน่วย 3. 32 ตารางหน่วย
4. 36 ตารางหน่วย 5. 42 ตารางหน่วย
ตอบ 2
B
จากโจทย์ จะวาดได้ดงั รูป
6
จะหาพืน้ ที่ ต้องใช้สตู ร 12 × ฐาน × สูง → ต้องหา AC
30°
A C
ข้าม 6
tan 30° = ฃิด = AC
1 6
=
√3 AC
1 1
AC = 6√3 จะได้ พืน้ ที่ =
2
× AC × BC =
2
× 6√3 × 6 = 18√3

6. ถ้า 2 + 22 + 23 + … + 2𝑛 = 510 แล้ว 𝑛 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11
ตอบ 2
จะเห็นว่า 2 + 22 + 23 + … + 2𝑛 เป็ นอนุกรมเรขาคณิต ที่มี 𝑎1 = 2 และ 𝑟 = 2
𝑎1 (𝑟 𝑛 −1) 2(2𝑛 − 1)
ใช้สตู ร 𝑆𝑛 = 𝑟−1
จะได้ 2 + 22 + 23 + … + 2 𝑛 = 2−1
𝑛
510 = 2(2 − 1)
255 = 2𝑛 − 1
256 = 2𝑛
8 = 𝑛
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 13

7. พิจารณาลาดับต่อไปนี ้
ก. 1 , 3 , 6 , 10 , 15 , 21 ข. 1 , −1 , 1 , −1 , 1 , −1
ค. 100 , 98 , 96 , 94 , 92 , 90 ง. −7 , −5 , −3 , −1 , 1, 3
จานวนลาดับที่เป็ นลาดับเลขคณิต มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4
ตอบ 3
ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่เพิม่ ขึน้ อย่างคงที่ หรือลดลงอย่างคงที่ โดยการบวกหรือลบ
+2 +3 → เพิ่มไม่คงที่ −2 +2 → เดี๋ยวเพิ่มเดี๋ยวลด
ก. 1 , 3 , 6 , 10 , 15 , 21  ข. 1 , −1 , 1 , −1 , 1 , −1 
−2 −2 −2 −2 −2 +2 +2 +2 +2 +2
ค. 100 , 98 , 96 , 94 , 92 , 90  ง. −7 , −5 , −3 , −1 , 1 , 3 
จะเห็นว่า มี ค. และ ง. เท่านัน้ ที่เป็ นลาดับเลขคณิต

8. ข้อมูลชุดใดต่อไปนีท้ ี่ มัธยฐาน ≠ ฐานนิยม


1. 1.2 , 1.3 , 1.4 , 1.7 , 1.7 , 1.8 , 1.9 2. 11 , 12 , 13 , 16 , 16 , 16 , 17
3. 15 , 16 , 17 , 17 , 17 , 17 , 18 4. 100 , 101 , 101 , 102 , 103 , 104 , 105
5. 100 , 101 , 102 , 102 , 103 , 104 , 105
ตอบ 4
ตัวเลือกทุกข้อ มีขอ้ มูล 7 ตัว → มัธยฐานจะอยูต่ วั ที่ 7+1 2
= 4
ฐานนิยม คือข้อมูลที่ซา้ มากที่สดุ ดังนัน้ จะหาว่าข้อไหนที่ตวั ที่ 4 ไม่ใช่ตวั ที่ซา้ มากที่สดุ
1. 1.2 , 1.3 , 1.4 , 1.7 , 1.7 , 1.8 , 1.9 2. 11 , 12 , 13 , 16 , 16 , 16 , 17
3. 15 , 16 , 17 , 17 , 17 , 17 , 18 4. 100 , 101 , 101 , 102 , 103 , 104 , 105
5. 100 , 101 , 102 , 102 , 103 , 104 , 105
จะเห็นว่ามีขอ้ 4. ข้อเดียว ที่ตวั ที่ 4 ไม่ใช่ตวั ที่ซา้ มากที่สดุ

9. ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างราคาซือ้ (𝐵) และราคาขาย (𝑆) ของไข่เป็ ดขนาดต่างๆ ต่อฟอง


เป็ น 𝑆 = 0.25 + 1.1𝐵 และพ่อค้าคนหนึง่ ซือ้ ไข่เป็ ดขนาดต่างๆ มาด้วยราคาเฉลีย่ เลขคณิตต่อฟอง
เท่ากับ 4.00 บาท แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของราคาขายไข่ตอ่ ฟอง เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4.50 บาท 2. 4.55 บาท 3. 4.60 บาท 4. 4.65 บาท 5. 4.70 บาท
ตอบ 4
จากสมบัติของค่าเฉลีย่ เลขคณิต ถ้า 𝑆 และ 𝐵 สัมพันธ์กนั ด้วยสูตร 𝑆 = 0.25 + 1.1𝐵
แล้ว 𝑆̅ และ 𝐵̅ จะสัมพันธ์กนั ด้วยสูตรเดียวกันด้วย → จะได้ 𝑆̅ = 0.25 + 1.1𝐵̅ โจทย์ให้ ซือ้ เฉลี่ย 𝐵̅ = 4.00
𝑆̅ = 0.25 + 1.1(4.00)
= 0.25 + 4.4
= 4.65
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

10. อายุของพนักงานในบริษัทแห่งหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ดงั นี ้


อายุ (ปี ) จานวนพนักงาน (คน)
20 – 29 42
30 – 39 96
40 – 49 38
50 – 59 40
60 ปี ขน
ึ ้ ไป 4

ถ้าสุม่ พนักงานมา 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่พนักงานคนนี ้ จะมีอายุนอ้ ยกว่า 60 ปี เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 15 49
2. 55 3. 5155
4. 5255
5. 5455
ตอบ 5
จานวนพนักงานทัง้ หมด = 42 + 96 + 38 + 40 + 4 = 220 คน
พนักงานที่อายุนอ้ ยกว่า 60 ปี คือพนักงานทุกคนที่ไม่ใช่ 4 คนที่อยูใ่ นชัน้ ล่างสุด ซึง่ จะมี 220 − 4 = 216 คน
จะได้ความน่าจะเป็ น = 216220
54
= 55

11. ถ้า 1 < 𝑥 < 5 แล้วคาตอบของสมการ |𝑥 − 7| + |4𝑥 − 3| = 18 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 83 2. 11
4
3. 15
4
4. 29 5. 14
3
ตอบ 5
จะหาว่า ภายในช่วง 1 < 𝑥 < 5 ที่โจทย์กาหนด ค่า 𝑥 − 7 และ 4𝑥 − 3 เป็ นบวกหรือลบ
เพื่อจะได้ใช้สมบัติ |𝑎| = { 𝑎 เมื่อ 𝑎 ≥ 0 มาช่วยถอดเครือ่ งหมายค่าสัมบูรณ์
−𝑎 เมื่อ 𝑎 < 0
1 < 𝑥 < 5 1 < 𝑥 < 5
−6 < 𝑥 − 7 < −2 4 < 4𝑥 < 20
1 < 4𝑥 − 3 < 17
𝑥−7 เป็ นลบ ดังนัน้ |𝑥 − 7| = −(𝑥 − 7)
4𝑥 − 3 เป็ นบวก ดังนัน้ |4𝑥 − 3| = 4𝑥 − 3
แทนในสมการ |𝑥 − 7| + |4𝑥 − 3| = 18
−(𝑥 − 7) + 4𝑥 − 3 = 18
−𝑥 + 7 + 4𝑥 − 3 = 18
3𝑥 = 14
𝑥 =
14
3
→ อยูร่ ะหว่าง 1 และ 5 ตามที่โจทย์กาหนด
12. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 𝑥 2 (3 − 2𝑥)(𝑥 + 11) ≥ 0 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 12 2. 13 3. 14 4. 15 5. 16
ตอบ 2
ู กันอยู่ เป็ น 0 จะมี 0 , 32 , −11 → นาไปเขียนเส้นจานวน
ค่า 𝑥 ที่ทาให้แต่ละตัวที่คณ
มี 1 วงเล็บ คือ 3 − 2𝑥 ที่ สปส หน้า 𝑥 เป็ นลบ → เครือ่ งหมายฃ่องขวาสุด จะเริม่ ด้วย ลบ
𝑥 2 เป็ นการยกกาลังเลขคู่ → เครือ่ งหมายจะไม่สลับตรง 0
อสมการ เป็ นแบบ ≥ 0 → จะตอบช่วงที่เป็ นบวก รวมจุด 0 , 32 , −11 ด้วย
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 15

จากข้อมูลทัง้ หมด จะวาดเส้นจานวนได้ดงั รูป − + + −


3
−11 0
2

จานวนเต็มที่อยูใ่ นช่วงนี ้ ได้แก่ −11 , −10 , −9 , … , 1 ซึง่ จะมี 1 − (−11) + 1 = 13 จานวน

99 100 101
13. กาหนดให้ 𝑎 = − 100 , 𝑏 = − 101 และ 𝑐 = − 102 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 2. 𝑎 < 𝑐 < 𝑏 3. 𝑏 < 𝑐 < 𝑎
4. 𝑐 < 𝑎 < 𝑏 5. 𝑐 < 𝑏 < 𝑎
ตอบ 5
จะเห็นว่า 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 มีเศษน้อยกว่าส่วนอยู่ 1 เสมอ → จะจัดรูปให้สว่ นต่าง 1 นีโ้ ผล่ออกมาให้มี 1 ที่เศษ เหมือนๆ กัน
99 100 101
𝑎 = − 100 𝑏 = − 101 𝑐 = − 102
100−1 101−1 102−1
= − 100
= − 101
= − 102
1 1 1
= − (1 − 100) = − (1 − 101) = − (1 − 102)
1 1 1
= −1 + 100 = −1 + 101 = −1 + 102

1 1 1
จะเห็นว่า 𝑎, 𝑏, 𝑐 มี −1 เหมือนๆ กัน แต่เนื่องจาก 100
> 101
> 102
ดังนัน้ 𝑎>𝑏>𝑐

14. กาหนดให้ 𝑎 = 250 , 𝑏 = 330 และ 𝑐 = 520 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง


1. 𝑎 < 𝑏 < 𝑐 2. 𝑎 < 𝑐 < 𝑏 3. 𝑏 < 𝑐 < 𝑎
4. 𝑐 < 𝑎 < 𝑏 5. 𝑐 < 𝑏 < 𝑎
ตอบ 5
สังเกตว่าเลขชีก้ าลัง 50, 30, 20 หารด้วย 10 ลงตัวทัง้ หมด → จะจัดรูป 𝑎, 𝑏, 𝑐 ให้มี 10 เป็ นเลขชีก้ าลัง
𝑎 𝑏 𝑐
250 3 30
520
(25 )10 (33 )10 (52 )10
3210 27 10
2510
เนื่องจาก 32 > 27 > 25 ดังนัน้ 𝑎 > 𝑏 > 𝑐
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

15. กาหนดให้ รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และมี 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴, 𝐵, 𝐶
ตามลาดับ ถ้า 𝑐 2 sin 𝐴 = 3 และ 𝑐 2 sin 𝐵 = 3√3 แล้วพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
3 3 3√3
1. 4
ตารางหน่วย 2. 2
ตารางหน่วย 3. 4
ตารางหน่วย
3√3
4. 2
ตารางหน่วย 5. 3√3 ตารางหน่วย
ตอบ 3
𝐵 𝑐 2 sin 𝐴 = 3 𝑐 2 sin 𝐵 = 3√3
𝑐 𝑎 𝑎 𝑏
𝑐 2 (𝑐 ) = 3 𝑐 2 ( 𝑐 ) = 3√3
𝐴 𝐶 𝑎𝑐 = 3 …(1)
𝑏 𝑏𝑐 = 3√3 …(2)
เนื่องจาก 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นด้านของสามเหลีย่ มมุมฉาก ดังนัน้ 𝑎2 + 𝑏2 = 𝑐 2
2
เราสามารถจัดรูปให้มี 𝑎2 + 𝑏2 ได้โดย (1)2 + (2)2 : 𝑎2 𝑐 2 + 𝑏2 𝑐 2 = 32 + (3√3)
(𝑎2 + 𝑏 2 )𝑐 2 = 9 + 27
𝑐2 𝑐2 = 36
𝑐2 = 6 …(3)
1 1
พืน้ ที่ ∆ = 2
× ฐาน × สูง = 2
𝑎𝑏 → หา 𝑎𝑏 ได้จาก (1) × (2) : 𝑎𝑐 × 𝑏𝑐 = 3 × 3√3
𝑎𝑏𝑐 2 = 9√3
จาก (3) 𝑎𝑏(6) = 9√3
3√3
𝑎𝑏 = 2
1 1 3√3 3√3
จะได้พนื ้ ที่ = 2
𝑎𝑏 = 2
( 2 ) = 4

16. กาหนดให้ รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และมี 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴, 𝐵, 𝐶
ตามลาดับ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. sin 𝐴 = cos 𝐵 ข. ถ้า 𝐴̂ = 2𝐵̂ แล้ว cos 𝐴 = 12
ค. sin 𝐴 < tan 𝐴 ง. ถ้า 𝑎 < 𝑏 แล้ว sin 𝐴 < sin 𝐵
จานวนข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 5 𝐵
𝑐
ก. 𝐶 เป็ นมุมฉาก ดังนัน้ 𝐴̂ + 𝐵̂ = 90° 𝑎

จากสมบัติของโคฟังก์ชนั จะได้ sin 𝐴 = cos 𝐵  𝐴 𝑏


𝐶

ข. แทน 𝐴̂ = 2𝐵̂ ใน 𝐴̂ + 𝐵̂ = 90°


2𝐵̂ + 𝐵̂ = 90°
3𝐵̂ = 90°
𝐵̂ = 30°
1
ดังนัน้ 𝐴̂ = 90° − 30° = 60° → จะได้ cos 𝐴 = cos 60° =
2

ข้าม 𝑎 ข้าม 𝑎
ค. sin 𝐴 = ฉาก = 𝑐 และ จะเห็นว่าสองค่านีม้ เี ศษ = 𝑎 เท่ากัน
tan 𝐴 = ชิด = 𝑏
แต่ 𝑐 เป็ นด้านตรงข้ามมุมฉาก จะยาวกว่า 𝑏 เสมอ ทาให้ 𝑎𝑐 < 𝑎𝑏 (ตัวหารมาก จะได้ผลลัพธ์นอ้ ย)
sin 𝐴 < tan 𝐴 
𝑎 𝑏 𝑎 𝑏
ง. sin 𝐴 = 𝑐
และ sin 𝐵 = 𝑐
จะเห็นว่าถ้า 𝑎<𝑏 จะได้ 𝑐
< 𝑐
จึงสรุปได้วา่ sin 𝐴 < sin 𝐵 
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 17

17. กาหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก ซึง่ มี 40 จานวน


ถ้า มี 25 จานวนใน 𝑆 ที่เป็ นจานวนคู่ มี 9 จานวนใน 𝑆 ที่หารด้วย 5 ลงตัว
และ มี 12 จานวนใน 𝑆 ที่ไม่เป็ นจานวนคู่ และหารด้วย 5 ไม่ลงตัว
แล้วจานวนสมาชิกใน 𝑆 ที่หารด้วย 10 ลงตัว มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 5. 10
ตอบ 2
𝑆
ให้เอกภพสัมพัทธ์คอื 𝑆 คู่ ÷5 ลงตัว
12 จานวน ไม่เป็ นคู่ และ ÷ 5 ไม่ลงตัว → จะได้บริเวณนอกวงกลม = 12 ดังรู ป 𝑎 𝑏 𝑐
12
โจทย์ถามจานวนที่ ÷ 10 ลงตัว → ต้องเป็ นคู่ และ ÷ 5 ลงตัว → ต้องหา 𝑏 มาตอบ
25 จานวนเป็ นคู่ → 𝑎 + 𝑏 = 25 …(1)
9 จานวน ÷ 5 ไม่ลงตัว → 𝑏 + 𝑐 = 9 …(2)
𝑆 มีทงั้ หมด 40 จานวน → 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 12 = 40
จาก (1)
25 + 𝑐 + 12 = 40
𝑐 = 3 → แทนใน (2) จะได้ 𝑏+3 = 9
𝑏 = 6

18. จากแบบรูปต่อไปนี ้
2 7 2
15 15 5
3 1
5
𝑎 15
4 1 8
15 5 15

𝑎 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 3 1 2 4
1. 6
2. 10
3. 3
4. 3
5. 5
ตอบ 3
เปลีย่ นทุกตัวให้มีสว่ นเป็ น 15 เหมือนๆ กัน เพื่อให้ง่ายต่อการคานวณ ได้ดงั รูป
2 7 6
สังเกตว่าทุกแถว และทุกหลัก มีผลบวกเท่ากับ 1 เสมอ 15 15 15
2 7 6 2 9 4 6 1 8 4 3 8
นั่นคือ 15 + 15 + 15 = 15 + 15 + 15 = 15 + 15 + 15 = 15 + 15 + 15 = 1 9
𝑎
1
15 15
9 1 5 1
ดังนัน้ 𝑎 = 1 − 15 − 15 = 15
= 3
4 3 8
15 15 15
ซึง่ ถ้าตรวจสอบในแถวหรือหลักอืน่ ๆ ที่ผา่ นช่อง 𝑎 ก็จะได้ผลบวกเป็ น 1 ด้วย

2𝑛2 + 1 ; 𝑛 ≥ 0
19. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนของ 𝑓 เป็ นเซตของจานวนเต็ม และ 𝑓(𝑛) = {
𝑛(𝑛 + 1) ; 𝑛 < 0
ถ้า 𝑓(𝑓(𝑎)) = 73 แล้ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5 2. −4 3. −3 4. 3 5. 5
ตอบ 3
เนื่องจาก 𝑓(𝑓(𝑎)) = 73 → ต้องเอา 73 มาย้อนสูตรของ 𝑓 กลับไปสองรอบ จึงจะได้คา่ 𝑎
แต่ 𝑓 มีสองสูตร คือ 2𝑛2 + 1 กับ 𝑛(𝑛 + 1) ทาให้ไม่รูว้ า่ จะย้อน 73 กลับไปด้วยสูตรไหน
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

จะลองย้อนทัง้ สองสูตร แล้วดูวา่ สูตรไหนย้อนได้คา่ 𝑛 ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขของสูตรที่ใช้ยอ้ นบ้าง


2𝑛2 + 1 = 73 𝑛(𝑛 + 1) = 73
2𝑛2 = 72
𝑛2 = 36 ไปต่อไม่ได้ เพราะ 𝑛 กับ 𝑛 + 1 เป็ นจานวนเต็มสองตัวที่
𝑛 = ±6 เรียงติดกัน จะมีตวั หนึง่ เป็ นคู่ ตัวหนึง่ เป็ นคี่ ทาให้ผลคูณ
เงื่อนไขของสูตร 2𝑛2 + 1 คือ 𝑛 ≥ 0 𝑛(𝑛 + 1) เป็ นคูเ่ สมอ จึงไม่มีทางได้ผลคูณเป็ น 73 ได้
ทาให้ −6 ใช้ไม่ได้ → ได้ 𝑛 = 6
ดังนัน้ 73 ย้อนสูตร 𝑓 กลับไปครัง้ แรก ได้เป็ น 6 → ต้องย้อน 6 กลับไปอีกรอบด้วยทัง้ สองสูตร
2𝑛2 + 1 = 6 𝑛(𝑛 + 1) = 6
2
2𝑛2 = 5 𝑛 +𝑛−6 = 0
𝑛2 =
5 (𝑛 − 2)(𝑛 + 3) = 0
2 𝑛 = 2 , −3
ไปต่อไม่ได้ เพราะ 𝑛 ต้องเป็ นจานวนเต็ม เงื่อนไขของสูตร 𝑛(𝑛 + 1) คือ 𝑛 < 0
ทาให้ 2 ใช้ไม่ได้ → ได้ 𝑛 = −3
ดังนัน้ 6 ย้อนสูตร 𝑓 กลับไปครัง้ ที่สอง ได้เป็ น −3 → จะได้ 𝑎 = −3

20. กาหนดให้ 𝑆 = { 1, 2, 3, 4 } และ 𝑀 = { (𝑏, 𝑐) | 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑆 } สมาชิก (𝑏, 𝑐) ∈ 𝑀 ที่ทาให้


สมการ 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 มีคาตอบเป็ นจานวนจริง มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. 5 3. 6 4. 7 5. 8
ตอบ 4
จากสมบัติของสมการกาลังสอง สมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะมีคาตอบเป็ นจานวนจริงเมื่อ 𝑏2 − 4𝑎𝑐 ≥ 0
ดังนัน้ สมการ 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะมีคาตอบเป็ นจานวนจริงเมื่อ 𝑏2 − 4(1)𝑐 ≥ 0
𝑏2 ≥ 4𝑐 …(∗)
ลองแทน 𝑐 เป็ นค่าต่างๆ แล้วดูวา่ แต่ละกรณี มี 𝑏 กี่จานวน ที่ทาให้ (∗) เป็ นจริง
กรณี 𝑐 = 1 : จะได้ 𝑏2 ≥ 4(1) = 4 → 𝑏 = 2, 3, 4 รวม 3 แบบ
กรณี 𝑐 = 2 : จะได้ 𝑏2 ≥ 4(2) = 8 → 𝑏 = 3, 4 รวม 2 แบบ
กรณี 𝑐 = 3 : จะได้ 𝑏2 ≥ 4(3) = 12 → 𝑏 = 4 รวม 1 แบบ
กรณี 𝑐 = 4 : จะได้ 𝑏2 ≥ 4(4) = 16 → 𝑏 = 4 รวม 1 แบบ
รวมทุกกรณี จะได้จานวนแบบ = 3 + 2 + 1 + 1 = 7 แบบ → 𝑀 มีสมาชิก 7 ตัว

21. กาหนดให้ กราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นพาราโบลามีจดุ ยอดที่ (0, 0)


และ กราฟของ 𝑦 = 𝑔(𝑥) เป็ นพาราโบลามีจดุ ยอดที่ (1, 4)
ถ้าเซตคาตอบของอสมการ 𝑓(𝑥) ≤ 𝑔(𝑥) คือช่วงปิ ด [0, 1] แล้ว 𝑓(−1) + 𝑔(−1) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −8 2. −4 3. 0 4. 4 5. 8
ตอบ 1
𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจด
ุ ยอดที่ (0, 0) จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎1 (𝑥 − 0)2 + 0 = 𝑎1 𝑥 2 พาราโบลา 𝑦 = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘
𝑦 = 𝑔(𝑥) มีจดุ ยอดที่ (1, 4) จะได้ 𝑔(𝑥) = 𝑎2 (𝑥 − 1)2 + 4 จะมีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (ℎ, 𝑘)
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 19

อสมการ 𝑓(𝑥) ≤ 𝑔(𝑥) เป็ นอสมการกาลังสองที่มีคาตอบคือ [0, 1]


ดังนัน้ ที่ 𝑥 = 0 กับ 1 เป็ นจุดที่ทาให้สมการ 𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥) เป็ นจริง 0 1
นั่นคือ 𝑓(0) = 𝑔(0) และ 𝑓(1) = 𝑔(1)
𝑎1 (02 ) = 𝑎2 (0 − 1)2 + 4 𝑎1 (12 ) = 𝑎2 (1 − 1)2 + 4
0 = 𝑎2 + 4 𝑎1 = 4
−4 = 𝑎2
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 2 และ 𝑔(𝑥) = −4(𝑥 − 1)2 + 4
จะได้ 𝑓(−1) + 𝑔(−1) = 4(−1)2 + −4(−1 − 1)2 + 4
= 4 + −16 + 4 = −8

9
22. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 8 และอัตราส่วนร่วมเท่ากับ √23
4
ถ้า 𝑎𝑛 = 27 แล้ว 𝑛มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 8 2. 9 3. 10 4. 11 5. 12
ตอบ 4
จากสูตรลาดับเรขาคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1
𝑛−1
4 9 2
27
= 8
(√3)
1 𝑛−1
22 32 2 2
33
= 23
((3) )
𝑛−1
25 2 2
35
= (3)
𝑛−1
5 =
2
11 = 𝑛

23. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต ถ้า 𝑎1 = 5 และผลต่างร่วมเท่ากับ 12


แล้ว 𝑎1 − 𝑎2 + 𝑎3 − 𝑎4 + … − 𝑎20 + 𝑎21 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5 2. 1 3. 5 4. 10 5. 15
ตอบ 4
จากสมบัติของลาดับเลขคณิต พจน์คทู่ ี่อยูต่ ดิ กัน จะมีผลลบเท่ากับผลต่างร่วมเสมอ → จะจับคูใ่ ห้เป็ นผลลบดังกล่าว
𝑎1 − 𝑎2 + 𝑎3 − 𝑎4 + 𝑎5 − … − 𝑎20 + 𝑎21
= 𝑎1 + (𝑎3 − 𝑎2 ) + (𝑎5 − 𝑎4 ) + … + (𝑎21 − 𝑎20 )
1 1 1
= 5 + 2
+ 2
+…+ 2 มี 21 ตัว หัก 𝑎1 ตัวแรกออกเหลือ 20 ตัว
1 20
= 5 + 10(2) → จะจับคูไ่ ด้ = 10 คู่
2
= 10
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

24. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎100 เป็ นข้อมูลซึง่ เรียงกันเป็ นลาดับเลขคณิต โดยมี 𝑎1 = 3 และ 𝑎100 = 255
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของลาดับนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 121 2. 123 3. 125 4. 127 5. 129
ตอบ 5
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = ผลบวกของทุ
กตัว
จานวนตัว
𝑛
ผลบวกของทุกตัว หาได้จากสูตรอนุกรมเลขคณิต 𝑆𝑛 =
2
(𝑎1 + 𝑎𝑛 )
100
= 2
(3 + 255) = 12900
12900
ดังนัน้ จะได้คา่ เฉลีย่ เลขคณิต = 100
= 129

25. จากการสอบถามเรือ่ งจานวนครัง้ ของคนทีม่ าศูนย์การค้าเปิ ดใหม่แห่งหนึง่ จานวน 100 คน


ในช่วง 3 เดือนที่ผา่ นมา มีการแจกแจงความถี่ดงั นี ้
จานวนครัง้ จานวนคน
1–5 30
6 – 10 25
11 – 15 20
16 – 20 20
21 – 25 5

ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจานวนครัง้ ของคนกลุม่ นีท้ มี่ าที่ศนู ย์การค้าแห่งนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 10.25 ครัง้ 2. 10.50 ครัง้ 3. 10.75 ครัง้ 4. 11.10 ครัง้ 5. 11.25 ครัง้
ตอบ 1
ใช้จดุ กึง่ กลางชัน้ ในการคานวณผลบวกดังตาราง
จานวนครัง้ จานวนคน (𝑓) จุดกึ่งกลางชัน้ (𝑥) ผลรวมของชัน้ (𝑓𝑥)
5+1
1–5 30 =3 30 × 3 = 90
2
6 – 10 25 8 25 × 8 = 200
11 – 15 20 13 20 × 13 = 260
16 – 20 20 18 20 × 18 = 360
21 – 25 5 23 5 × 23 = 115
1025
100 1025 จะได้ 𝑥̅ =
100
= 10.25

26. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ มีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ของนักเรียน 21 คน มีผไู้ ด้คะแนนสูงสุด 1 คน


และต่าสุด 1 คน ถ้าตัดคะแนนสูงสุดออก จะได้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 11 คะแนน
แต่ถา้ ตัดคะแนนต่าสุดออก จะได้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 11.8 คะแนน
พิสยั ของคะแนนสอบครัง้ นี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 13 คะแนน 2. 14 คะแนน 3. 15 คะแนน 4. 16 คะแนน 5. 17 คะแนน
ตอบ 4
ให้คะแนนของนักเรียน 21 คน เรียงจากน้อยไปมาก คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20 , 𝑥21
ถ้าตัดคะแนนสูงสุด คือ 𝑥21 ออก จะเหลือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20 รวม 20 จานาน → โจทย์ให่คา่ เฉลีย่ = 11
𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20
จะได้ 20
= 11
𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20 = 220 …(1)
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63) 21

ถ้าตัดคะแนนต่าสุด คือ 𝑥1 ออก จะเหลือ 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20 , 𝑥21 รวม 20 จานาน → โจทย์ให่คา่ เฉลีย่ = 11.8
𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20 +𝑥21
จะได้ 20
= 11.8
𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20 + 𝑥21 = 236 …(2)

สังเกตว่า (1) และ (2) มี 𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20 เหมือนๆ กัน → ถ้าลบกัน ก้อนนีจ้ ะตัดกันได้
(2) − (1) : (𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20 + 𝑥21 ) − (𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥20 ) = 236 − 220
𝑥21 − 𝑥1 = 16
จะเห็นว่า 𝑥21 − 𝑥1 ก็คือ ข้อมูลมากสุด ลบ ข้อมูลน้อยสุด ซึง่ ก็คือพิสยั นั่นเอง → พิสยั = 16

27. จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนจานวน 45 คน ซึง่ นักเรียนทุกคนได้คะแนนเป็ นจานวนเต็ม


พบว่า มีนกั เรียน 20 คน สอบได้คะแนนน้อยกว่า 49 คะแนน
และ มีนกั เรียน 20 คน สอบได้คะแนนมากกว่า 50 คะแนน
ถ้าให้ 𝑆 = { 48.5 , 49 , 49.5 , 50 , 50.5 } แล้วสมาชิกใน 𝑆 ที่เป็ นไปได้ที่จะเป็ นค่ามัธยฐานของคะแนนสอบ
มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 จานวน 2. 2 จานวน 3. 3 จานวน 4. 4 จานวน 5. 5 จานวน
ตอบ 2
มัธยฐาน คือข้อมูลที่มตี าแหน่งอยูต่ รงกลาง เมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ทัง้ หมด 45 คน
ซึง่ จากข้อมูลที่โจทย์กาหนด จะวาดได้ดงั รูป
………
และจะสรุปได้วา่ 5 คนตรงกลาง มีคะแนน เป็ น 49 หรือ 50 ได้แค่สองแบบ
จากสูตร จะได้มธั ยฐานอยูต่ าแหน่งที่ 𝑁+1 45+1
= 2 = 23 20 คนได้ < 49 20 คนได้ > 50
2
เนื่องจากคนที่ 23 จะเป็ นคนหนึง่ ใน 5 คนที่อยูต่ รงกลาง 5 คนตรงกลาง

ดังนัน้ มัธยฐาน จะเป็ นได้แค่ 49 หรือ 50 ได้แค่ 2 แบบ เป็ น 49 หรือ 50 ได้ 2 แบบ

28. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3} 𝐵 = {4, 5, 6, 7}


𝑆 = { (𝑎, 𝑏) | 𝑎 ∈ 𝐴 และ 𝑏 ∈ 𝐵 }
ถ้า (𝑎, 𝑏) เป็ นสมาชิกหนึง่ ตัวของ 𝑆 ที่ได้จากการสุม่ แล้วความน่าจะเป็ นที่ 𝑏 = 2𝑎 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1
1. 10 2. 18 3. 17 4. 16 5. 15
ตอบ 4
จานวนแบบทัง้ หมด: 𝐴 มีสมาชิก 3 ตัว → เลือก 𝑎 ได้ 3 แบบ
𝐵 มีสมาชิก 4 ตัว → เลือก 𝑏 ได้ 4 แบบ → จะได้จานวนแบบ = 3 × 4 แบบ
จานวนแบบที่ตอ้ งการ: 𝑎 เป็ นได้แค่ 1, 2, 3 ดังนัน้ 2𝑎 คือ 2, 4, 6 แต่ 2 ใช้ไม่ได้ เพราะไม่อยูใ่ น 𝐵
จะเหลือ 𝑎 = 2 , 𝑏 = 4 กับ 𝑎 = 3 , 𝑏 = 6 แค่ 2 แบบ
2 1
จะได้ความน่าจะเป็ น = 3×4 =
6
22 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 63)

29. กาหนดให้ 𝑆 คือเซตของจานวนนับที่มี 4 หลัก ซึง่ ประกอบขึน้ จากเลขโดด 1 , 2 , 3 , 4


และ 𝐴 = { 𝑛 ∈ 𝑆 | 𝑛 มีเลขโดด 3 ปรากฏอยูอ่ ย่างน้อยหนึง่ หลัก }
จานวนสมาชิกของ 𝐴 มีทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 61 2. 150 3. 175 4. 244 5. 247
ตอบ 3
นับแบบตรงข้าม (คือแบบที่ไม่มี 3 เลย) จะง่ายกว่า แล้วค่อยเอามาหักออกจากจานวนแบบทัง้ หมด
แบบที่ไม่มี 3 คือมีแต่ 1, 2, 4 → เลือกได้หลักละ 3 แบบ และมี 4 หลัก → จะได้จานวนแบบ = 34 แบบ
จานวนแบบทัง้ หมด คือมี 1, 2, 3, 4 → จะเลือกได้หลักละ 4 แบบ และมี 4 หลัก → จะได้จานวนแบบ = 44 แบบ
จะได้จานวนแบบที่มี 3 อย่างน้อยหนึง่ หลัก = 44 − 34 = 256 − 81 = 175 แบบ

30. กาหนดให้ 𝑆 = { 1 , 2 , 3 , … , 98 , 99 } ถ้าสุม่ หยิบจานวนจาก 𝑆 มาหนึง่ จานวน แล้วความน่าจะเป็ น


ที่จะได้จานวนคูท่ มี่ ีเลขโดด 6 อยู่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1299
2. 13
99
3. 1499
4. 15
99
5. 16 99
ตอบ 3
𝑆 มีสมาชิก 99 จานวน → จานวนแบบทัง้ หมด = 99 แบบ
จานวนเลขคูท่ ี่มี 6 อยู่ จะมี 6 เป็ นหลักหน่วย : 6 , 16 , 26 , 36 , 46 , 56 , 66 , 76 , 86 , 96 → 10 แบบ
6 เป็ นหลักสิบ : 60 , 62 , 64 , 68 (ไม่นบ
ั 66 ทีเ่ คยนับไปแล้ว) → 4 แบบ
รวมทัง้ สองกรณี จะได้จานวนแบบ = 10 + 4 = 14 แบบ → จะได้ความน่าจะเป็ น = 14 99

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ เฉลยละเอียด จาก คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
ขอบคุณ คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
และ คุณ วิโรจน์ เลขานุภานนท์
และ คุณ Chonlakorn Chiewpanich ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like